SlideShare a Scribd company logo
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพอื่กกาารเเรรียียนรรูู้้ 
บทที่ 1 เทคโนโลยี 
นวตักรรม 
และสื่อการศึกษา
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
สถานการณ์ปัญหา 
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จะ 
ทำาการจัดอบรมสัมมนาครูที่สอนในระดับการ 
ศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
ในหัวเรื่องเกี่ยวกับการนำาเทคโนโลยีมาใช้ใน 
การจัดการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์พิจารณา 
แล้วเห็นว่าท่านมีความเหมาะสมที่จะทำาหน้าที่ 
เป็นผู้ช่วยวิทยากรให้ความรู้ในงานสัมมนาดัง 
กล่าว ในหัวข้อความหมาย พัฒนาการและ 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษาตั้งแต่ 
อดีตจนถึงปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต ซึ่ง 
ท่านจะต้องคอยให้คำาแนะนำาตลอดจนช่วย 
เหลือครูอาจารย์ที่เข้าร่วมอบรมภารกิจของผู้ 
ช่วยวิทยากรต้องเตรียมความพร้อมให้กับตัว
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
ภารกิจที่ 1 
สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของ 
เทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้ง 
เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยี 
ทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
เทคโนโลยี (Technology) 
หมายถึง การนำาแนวคดิ หลักการ เทคนิค วิธีการ 
กระบวนการ ตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มา 
ประยุกต์ใชใ้นระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงาน 
นั้นๆ ให้ดีขนึ้ และมีประสิทธภิาพยงิ่ขึ้น ตลอดจนเพื่อแก้ 
ปัญหาในการปฏิบัติงาน 
ดังนั้น ทางด้านการศึกษาจึงได้นำาเทคโนโลยีมาใช้ 
ในการพัฒนาระบบการศึกษาให้มีประสทิธิภาพเพิ่มขนึ้ 
เรียกว่า เทคโนโลยีการศึกษา (Educational 
Technology) ทั้งนี้เพื่อมุ่งเน้นให้การดำาเนินการ 
จัดการศึกษา ซึ่งเป็นหลักที่สำาคัญในการพฒันาประเทศ
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
สื่อการศึกษา 
หมายถึง ระบบการนำาวัสดุ และวธิีการมาเปน็ 
ตัวกลางในการให้การศึกษาความรู้แก่ผู้เรียนโดย 
ทวั่ไป โสตทัศนูปกรณ์ หมายถึง วัสดุทงั้หลายทนี่ำา 
มาใชใ้นห้องเรียน หรือนำามาประกอบการสอนใด 
ๆ ก็ตาม เพอื่ชว่ยให้การเขียน การพดู การ 
อภิปรายนั้นเข้าใจแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทสสาคารสโนนนเเททศโเเพพลื่อื่อกยกาาีรเเรรียียนรรูู้้ 
ทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ 
ในการพัฒนาเทคโนโลยีการศึกษาในยุค 
ต่างๆนั้นได้มีการขยายแนวคิดของทฤษฎีการ 
ศึกษา โดยพื้นฐานทางทฤษฎีการเรียนรู้ 
พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาสู่พุทธิ 
ปัญญานิยม (Cognitivism) และคอนสตรัคติ 
วิสต์ (Constructivism) ประกอบกับการของ 
เทคโนโลยีใหม่ๆมาอย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการปรับ 
เปลี่ยนความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาให้ 
เหมาะสมกับสภาพความเปลี่ยนแปลงในเข้ากับยุค 
สมัยนนั้ๆ
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
เปรียบเทียบพัฒนาการทางสสาาเรรทสนคเเททโศศเเนพพื่อื่อโกกาาลรเเรยรียีนรรูู้้ 
ทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ 
ซึ่งในยุคแรกๆกลุ่มโซฟิสต์ (Sophist) ที่ได้รับการ 
ขนานนามว่า เปน็นักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรกนั้น 
ได้ออกทำาการสอนความรู้ต่างๆให้กับชนรุ่นเยาว์ โดย 
ต่อมาในยุคของโจฮัน อะมอส คอมินิอุส ได้ใช้วัสดุ 
สงิ่ของที่เปน็ของจริงและรูปภาพ เขา้มาชว่ยในการสอน 
อย่างจริงจัง 
โดยต่อมาได้มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการ 
ศึกษามาอย่างต่อเนื่องซึ่งสามารถจำาแนกออกเป็นด้าน 
ต่างๆ คอื ด้านการออกแบบการสอน ด้านสอื่การสอน 
และด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
ภารกิจที่ 2 
จำาแนกองค์ประกอบ 
ขอบข่ายของเทคโนโลยี 
ทางการศึกษาว่ามีความ 
สำาคัญต่อการจัดการศึกษา 
ในยุคปัจจุบันอย่างไร 
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
องค์ประกอบของขอบข่ายของ 
เทคโนโลยีทางการศึกษา 
ประกอบด้วย 5 ขอบข่ายดังนี้ 
1. การออกแบบ (Design) 
2. การพัฒนา (Development) 
3. การใช้ (Utilization) 
4. การจัดการ (Management) 
5. การประเมนิ (Evaluation)
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
1. การออกแบบ (Design) 
เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึงโครงร่างที่ 
แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักการและ 
ทฤษฎีต่างๆ ที่จะนำาไปสร้างและพัฒนางาน 
ทางด้านเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่าง 
เป็นรูปธรรม โดยจะมีความสำาคัญต่อการ 
จัดการศึกษาในยุคปัจจุบัน คือ การออกแบบ 
จะเป็นการวางแผนในการกำาหนดระบบการ 
สอนโดยดูจากพื้นฐานและประสบการณ์ของผู้ 
เรียนเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
2. การพัฒนา (Development) 
เป็นขอบข่ายของการสร้างผลิตภัณฑ์ใน 
รูปแบบของสื่อต่างๆโดยนำาพื้นฐานที่ได้ออก 
มาพัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อ 
ต่างๆ โดยจะมคีวามสำาคัญต่อการจัดการ 
ศึกษาในยุคปัจจุบัน คือ จะช่วยให้การจดัการ 
ศึกษามีความก้าวหน้าและทันสมัยอยู่เสมอ
224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
3. การใช้ (Utilization) 
เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนำา 
สื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมปีระสิทธิภาพ ซึ่ง 
จะต้องคำานึงถึงความง่ายในการใช้งาน 
ระหว่างผู้เรียนและสื่อการเรียนการสอน เช่น 
การใช้สื่อทางคณิตศาสตร์มาช่วยใน 
ห้องเรียน โดยอาศัยเทคโนโลยีคือ 
คอมพิวเตอร์หรือแทบเล็ตมาเป็นสื่อการเรียน 
การสอน เป็นต้น
22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
4. การจัดการ (Management) 
เป็นขอบข่ายหลักสำาคัญซึ่งจะต้องมีการจัด 
ระเบียบและแนะนำา หรือการจัดการทรัพยากร 
ทางการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยการจัดการในด้าน 
ต่างๆ โดยจะมีความสำาคัญต่อการจัดการศึกษาใน 
ยุคปัจจุบนั คอื จะชว่ยให้เกดิการแก้ปญัหาได้ 
อย่างมีระบบ เปน็ขั้นตอน จัดการกับปัญหาตา่งๆ 
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
5. การประเมิน (Evaluation) 
เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน 
เพื่อปรับปรุง ซึ่งในการประเมนินั้นจะมุ่งเน้น 
การประเมินทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ์ 
โดยจะมีความสำาคัญต่อการจัดการศึกษาใน 
ยุคปัจจุบัน คือ เพื่อแสดงให้เห็นถงึ 
ประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพของสื่อที่ 
ออกแบบขึ้นมา
22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
ภารกิจที่ 3 
Educational Technology และ 
Instructional Technology มีความ 
เหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธก์ัน 
อย่างไร
22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
Educational Technology 
Educational Technology ในภาษาไทย 
คอื เทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งเปน็คำาที่มาจากคำา 
สองคำา คือ เทคโนโลยี ทมีี่ความหมายว่า เปน็ 
ศาสตร์แห่งวธิีการ ซึ่งมิได้มีความหมายวา่เป็น 
ศาสตร์แห่งเครื่องมือเพยีงอย่างเดียว แตร่วมถึง 
วสัดุและวิธีการด้วย เมื่อมาเชื่อมกบัคำาว่า 
การศึกษา เกิดเป็นคำาใหม่ทมีี่ความหมายว่า การ 
ประยุกต์เครื่องมือ วัสดุ และวิธีการ ไปส่ง 
เสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ตลอดจนการ 
จัดสภาพแวดล้อมใหม่เพื่อการเรียนรู้
22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
Instructional Technology 
Instructional Technology ใน 
ภาษาไทยคือ เทคโนโลยีการสอน หมายถงึ 
การนำาเอาสื่อประเภทต่างๆ เทคนิค วิธีการ วิธี 
ระบบ เพื่อการออกแบบการสอนและหลักการ 
ด้านจิตวิทยา สังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 
สุขภาพ รวมถึงการสื่อสารของมนุษย์มาใช้ 
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
ดังนั้น ทั้ง Educational Technology และ 
Instructional Technology จึงมีความสมัพันธก์ัน 
ซึ่งหมายถึง ทฤษฎี และการปฏิบตัิเกี่ยวกับการออกแบบ 
การพฒันา การใช้ การจัดการ และการประเมินของ 
กระบวนการและแหล่งเรียนรู้ สำาหรับการเรียนรู้
224411 22088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
ภารกิจที่ 4 
การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับ 
เทคโนโลยีทางการศึกษามา 
ใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ 
เรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ 
อย่างเป็นรูปธรรมได้อย่างไร
224411 22088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
เทคโนโลยีทางการศึกษา คือ การนำาความรู้ 
แนวคิด กระบวนการและผลผลิตทางวิทยาศาสตร์มาใช้ 
ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาการ 
ศึกษาให้ก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ 
ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ คือ ยุคที่เปลี่ยนบทบาทจาก 
นักเรียนเปน็ผู้เรียน เปลี่ยนจากโรงเรียนเป็นศูนย์การ 
เรียนรู้ และเปลี่ยนบทบาทจากผสู้อนเป็นครูในฐานะ 
แหล่งความรู้และผู้อำานวยความสะดวก
224411 22088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี 
สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 
ดังนั้นหากต้องการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุค 
ปฏิรูปทางการเรียนรู้ เราจำาเป็นต้องนำาเทคโนโลยีมาใช้ในการ 
ออกแบบ สร้าง เลือก พัฒนา จัดการรวมถึง ประเมินผลของ 
กระบวนการและแหล่งการเรียนรู้ เพื่อนำาผเู้รียนมงุ่สจูุ่ดมุ่ง 
หมายที่สำาคัญ นั่นคือ การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพให้ได้ 
ยกตัวอย่าง เช่น การใช้โปรแกรมต่างๆ มาช่วยให้เด็ก 
เกิดการเรียนรู้ เห็นภาพและเห็นเรื่องราวที่ชัดเจนยิ่งขึ้น การ 
สร้างเกมทางคณิตศาสตร์โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางให้ 
นักเรียนมีส่วนร่วมเพื่อที่จะให้นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ทาง 
คณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น เป็นต้น
กลลุ่มุ่ม หนนูนูน้อ้อยหมวกแแดดง 
นนาายธนววัฒัฒนน์์นนาานอก รหัสนักศึกษา 556633055007799--33 
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง รหัสนักศึกษา 563050356-3 
นนาายสรุววุฒุฒิิสขุบตัตัิิรหัสนักศึกษา 556633055011550--33 
นายสมบัติตัน จินดารัตน์ รหัสนักศึกษา 563050304-2
ขอบคุณ 
ครับ

More Related Content

What's hot

นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1
Pattarapong Worasakmahasan
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Nichaya100376
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational mediaAnna Wongpattanakit
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาChapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาWuth Chokcharoen
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
lalidawan
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
btusek53
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
Thamonwan Kottapan
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Natcha Wannakot
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rathapon Silachan
 
ICT for Education Program
ICT for Education Program ICT for Education Program
ICT for Education Program
Namon Jeerungsuwan
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
khomAtom
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
issaraka
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
Thamonwan Kottapan
 

What's hot (19)

นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
Utq 001
Utq 001Utq 001
Utq 001
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and educational mediaIntroduction to technologies  and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาChapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ICT for Education Program
ICT for Education Program ICT for Education Program
ICT for Education Program
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 

Similar to งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2Dee Arna'
 
นวัตกรรม4
นวัตกรรม4นวัตกรรม4
นวัตกรรม4
Annz Manang
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Rathapon Silachan
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
Tar Bt
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Tar Bt
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3
Bell Bella
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะOopip' Orranicha
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieAnn Pawinee
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
Khorkhuad Jakkritch
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2
goojaewwaow
 
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learningIntroduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
Suthakorn Chatsena
 
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
Sathapron Wongchiranuwat
 

Similar to งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
นวัตกรรม4
นวัตกรรม4นวัตกรรม4
นวัตกรรม4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
 
241203 ed-math
241203 ed-math241203 ed-math
241203 ed-math
 
Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4Introduction technologies sec 4
Introduction technologies sec 4
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Chapter15630505256
Chapter15630505256Chapter15630505256
Chapter15630505256
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2201700 slide chapter_2
201700 slide chapter_2
 
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learningIntroduction to Technologies in Education - problem-based learning
Introduction to Technologies in Education - problem-based learning
 
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
Week2 introduction_to_technologies_in_education_problem_based_learning
 

More from micnattawat

นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
micnattawat
 
งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9
micnattawat
 
งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5
micnattawat
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3
micnattawat
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
micnattawat
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
micnattawat
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
micnattawat
 

More from micnattawat (7)

นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
 
งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9งานนวัตกรรม Chapter 9
งานนวัตกรรม Chapter 9
 
งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5
 
งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3งานนวัตกรรม Chapter 3
งานนวัตกรรม Chapter 3
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
 
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
แนวคิดเพื่อนในชั้นเรียน กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง Ppt3
 

งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง

  • 1. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพอื่กกาารเเรรียียนรรูู้้ บทที่ 1 เทคโนโลยี นวตักรรม และสื่อการศึกษา
  • 2. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ สถานการณ์ปัญหา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จะ ทำาการจัดอบรมสัมมนาครูที่สอนในระดับการ ศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในหัวเรื่องเกี่ยวกับการนำาเทคโนโลยีมาใช้ใน การจัดการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์พิจารณา แล้วเห็นว่าท่านมีความเหมาะสมที่จะทำาหน้าที่ เป็นผู้ช่วยวิทยากรให้ความรู้ในงานสัมมนาดัง กล่าว ในหัวข้อความหมาย พัฒนาการและ ขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษาตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต ซึ่ง ท่านจะต้องคอยให้คำาแนะนำาตลอดจนช่วย เหลือครูอาจารย์ที่เข้าร่วมอบรมภารกิจของผู้ ช่วยวิทยากรต้องเตรียมความพร้อมให้กับตัว
  • 3. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ ภารกิจที่ 1 สรุปสาระสำาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของ เทคโนโลยี และสื่อการศึกษา พร้อมทั้ง เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทคโนโลยี ทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ
  • 4. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนำาแนวคดิ หลักการ เทคนิค วิธีการ กระบวนการ ตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มา ประยุกต์ใชใ้นระบบงานต่างๆ เพื่อปรับปรุงระบบงาน นั้นๆ ให้ดีขนึ้ และมีประสิทธภิาพยงิ่ขึ้น ตลอดจนเพื่อแก้ ปัญหาในการปฏิบัติงาน ดังนั้น ทางด้านการศึกษาจึงได้นำาเทคโนโลยีมาใช้ ในการพัฒนาระบบการศึกษาให้มีประสทิธิภาพเพิ่มขนึ้ เรียกว่า เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) ทั้งนี้เพื่อมุ่งเน้นให้การดำาเนินการ จัดการศึกษา ซึ่งเป็นหลักที่สำาคัญในการพฒันาประเทศ
  • 5. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ สื่อการศึกษา หมายถึง ระบบการนำาวัสดุ และวธิีการมาเปน็ ตัวกลางในการให้การศึกษาความรู้แก่ผู้เรียนโดย ทวั่ไป โสตทัศนูปกรณ์ หมายถึง วัสดุทงั้หลายทนี่ำา มาใชใ้นห้องเรียน หรือนำามาประกอบการสอนใด ๆ ก็ตาม เพอื่ชว่ยให้การเขียน การพดู การ อภิปรายนั้นเข้าใจแจ่มแจ้งยิ่งขึ้น
  • 6. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี เปรียบเทียบพัฒนาการทางเทสสาคารสโนนนเเททศโเเพพลื่อื่อกยกาาีรเเรรียียนรรูู้้ ทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ ในการพัฒนาเทคโนโลยีการศึกษาในยุค ต่างๆนั้นได้มีการขยายแนวคิดของทฤษฎีการ ศึกษา โดยพื้นฐานทางทฤษฎีการเรียนรู้ พฤติกรรมนิยม (Behaviorism) มาสู่พุทธิ ปัญญานิยม (Cognitivism) และคอนสตรัคติ วิสต์ (Constructivism) ประกอบกับการของ เทคโนโลยีใหม่ๆมาอย่างต่อเนื่อง จึงได้มีการปรับ เปลี่ยนความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาให้ เหมาะสมกับสภาพความเปลี่ยนแปลงในเข้ากับยุค สมัยนนั้ๆ
  • 7. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี เปรียบเทียบพัฒนาการทางสสาาเรรทสนคเเททโศศเเนพพื่อื่อโกกาาลรเเรยรียีนรรูู้้ ทางการศึกษาในช่วงยุคต่างๆ ซึ่งในยุคแรกๆกลุ่มโซฟิสต์ (Sophist) ที่ได้รับการ ขนานนามว่า เปน็นักเทคโนโลยีการศึกษากลุ่มแรกนั้น ได้ออกทำาการสอนความรู้ต่างๆให้กับชนรุ่นเยาว์ โดย ต่อมาในยุคของโจฮัน อะมอส คอมินิอุส ได้ใช้วัสดุ สงิ่ของที่เปน็ของจริงและรูปภาพ เขา้มาชว่ยในการสอน อย่างจริงจัง โดยต่อมาได้มีการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการ ศึกษามาอย่างต่อเนื่องซึ่งสามารถจำาแนกออกเป็นด้าน ต่างๆ คอื ด้านการออกแบบการสอน ด้านสอื่การสอน และด้านคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา
  • 8. ภารกิจที่ 2 จำาแนกองค์ประกอบ ขอบข่ายของเทคโนโลยี ทางการศึกษาว่ามีความ สำาคัญต่อการจัดการศึกษา ในยุคปัจจุบันอย่างไร 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้
  • 9. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ องค์ประกอบของขอบข่ายของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ประกอบด้วย 5 ขอบข่ายดังนี้ 1. การออกแบบ (Design) 2. การพัฒนา (Development) 3. การใช้ (Utilization) 4. การจัดการ (Management) 5. การประเมนิ (Evaluation)
  • 10. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 1. การออกแบบ (Design) เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นถึงโครงร่างที่ แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักการและ ทฤษฎีต่างๆ ที่จะนำาไปสร้างและพัฒนางาน ทางด้านเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาอย่าง เป็นรูปธรรม โดยจะมีความสำาคัญต่อการ จัดการศึกษาในยุคปัจจุบัน คือ การออกแบบ จะเป็นการวางแผนในการกำาหนดระบบการ สอนโดยดูจากพื้นฐานและประสบการณ์ของผู้ เรียนเพื่อให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
  • 11. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 2. การพัฒนา (Development) เป็นขอบข่ายของการสร้างผลิตภัณฑ์ใน รูปแบบของสื่อต่างๆโดยนำาพื้นฐานที่ได้ออก มาพัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อ ต่างๆ โดยจะมคีวามสำาคัญต่อการจัดการ ศึกษาในยุคปัจจุบัน คือ จะช่วยให้การจดัการ ศึกษามีความก้าวหน้าและทันสมัยอยู่เสมอ
  • 12. 224411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 3. การใช้ (Utilization) เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนำา สื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมปีระสิทธิภาพ ซึ่ง จะต้องคำานึงถึงความง่ายในการใช้งาน ระหว่างผู้เรียนและสื่อการเรียนการสอน เช่น การใช้สื่อทางคณิตศาสตร์มาช่วยใน ห้องเรียน โดยอาศัยเทคโนโลยีคือ คอมพิวเตอร์หรือแทบเล็ตมาเป็นสื่อการเรียน การสอน เป็นต้น
  • 13. 22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 4. การจัดการ (Management) เป็นขอบข่ายหลักสำาคัญซึ่งจะต้องมีการจัด ระเบียบและแนะนำา หรือการจัดการทรัพยากร ทางการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยการจัดการในด้าน ต่างๆ โดยจะมีความสำาคัญต่อการจัดการศึกษาใน ยุคปัจจุบนั คอื จะชว่ยให้เกดิการแก้ปญัหาได้ อย่างมีระบบ เปน็ขั้นตอน จัดการกับปัญหาตา่งๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 14. 22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ 5. การประเมิน (Evaluation) เป็นขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน เพื่อปรับปรุง ซึ่งในการประเมนินั้นจะมุ่งเน้น การประเมินทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ์ โดยจะมีความสำาคัญต่อการจัดการศึกษาใน ยุคปัจจุบัน คือ เพื่อแสดงให้เห็นถงึ ประสิทธิภาพ ตลอดทั้งคุณภาพของสื่อที่ ออกแบบขึ้นมา
  • 15. 22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ ภารกิจที่ 3 Educational Technology และ Instructional Technology มีความ เหมือน ความแตกต่างหรือสัมพันธก์ัน อย่างไร
  • 16. 22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ Educational Technology Educational Technology ในภาษาไทย คอื เทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งเปน็คำาที่มาจากคำา สองคำา คือ เทคโนโลยี ทมีี่ความหมายว่า เปน็ ศาสตร์แห่งวธิีการ ซึ่งมิได้มีความหมายวา่เป็น ศาสตร์แห่งเครื่องมือเพยีงอย่างเดียว แตร่วมถึง วสัดุและวิธีการด้วย เมื่อมาเชื่อมกบัคำาว่า การศึกษา เกิดเป็นคำาใหม่ทมีี่ความหมายว่า การ ประยุกต์เครื่องมือ วัสดุ และวิธีการ ไปส่ง เสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้ ตลอดจนการ จัดสภาพแวดล้อมใหม่เพื่อการเรียนรู้
  • 17. 22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ Instructional Technology Instructional Technology ใน ภาษาไทยคือ เทคโนโลยีการสอน หมายถงึ การนำาเอาสื่อประเภทต่างๆ เทคนิค วิธีการ วิธี ระบบ เพื่อการออกแบบการสอนและหลักการ ด้านจิตวิทยา สังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สุขภาพ รวมถึงการสื่อสารของมนุษย์มาใช้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน
  • 18. 22411 220088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ ดังนั้น ทั้ง Educational Technology และ Instructional Technology จึงมีความสมัพันธก์ัน ซึ่งหมายถึง ทฤษฎี และการปฏิบตัิเกี่ยวกับการออกแบบ การพฒันา การใช้ การจัดการ และการประเมินของ กระบวนการและแหล่งเรียนรู้ สำาหรับการเรียนรู้
  • 19. 224411 22088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ ภารกิจที่ 4 การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับ เทคโนโลยีทางการศึกษามา ใช้แก้ปัญหาเกี่ยวกับการ เรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ อย่างเป็นรูปธรรมได้อย่างไร
  • 20. 224411 22088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ เทคโนโลยีทางการศึกษา คือ การนำาความรู้ แนวคิด กระบวนการและผลผลิตทางวิทยาศาสตร์มาใช้ ร่วมกันอย่างเป็นระบบ เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาการ ศึกษาให้ก้าวหน้าไปอย่างมีประสิทธิภาพ ยุคปฏิรูปการเรียนรู้ คือ ยุคที่เปลี่ยนบทบาทจาก นักเรียนเปน็ผู้เรียน เปลี่ยนจากโรงเรียนเป็นศูนย์การ เรียนรู้ และเปลี่ยนบทบาทจากผสู้อนเป็นครูในฐานะ แหล่งความรู้และผู้อำานวยความสะดวก
  • 21. 224411 22088 นววัตัตกรรมแแลละะเเททคโโนนโโลลยยีี สสาารสนเเททศเเพพื่อื่อกกาารเเรรียียนรรูู้้ ดังนั้นหากต้องการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุค ปฏิรูปทางการเรียนรู้ เราจำาเป็นต้องนำาเทคโนโลยีมาใช้ในการ ออกแบบ สร้าง เลือก พัฒนา จัดการรวมถึง ประเมินผลของ กระบวนการและแหล่งการเรียนรู้ เพื่อนำาผเู้รียนมงุ่สจูุ่ดมุ่ง หมายที่สำาคัญ นั่นคือ การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพให้ได้ ยกตัวอย่าง เช่น การใช้โปรแกรมต่างๆ มาช่วยให้เด็ก เกิดการเรียนรู้ เห็นภาพและเห็นเรื่องราวที่ชัดเจนยิ่งขึ้น การ สร้างเกมทางคณิตศาสตร์โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางให้ นักเรียนมีส่วนร่วมเพื่อที่จะให้นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ทาง คณิตศาสตร์เพิ่มขึ้น เป็นต้น
  • 22. กลลุ่มุ่ม หนนูนูน้อ้อยหมวกแแดดง นนาายธนววัฒัฒนน์์นนาานอก รหัสนักศึกษา 556633055007799--33 นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง รหัสนักศึกษา 563050356-3 นนาายสรุววุฒุฒิิสขุบตัตัิิรหัสนักศึกษา 556633055011550--33 นายสมบัติตัน จินดารัตน์ รหัสนักศึกษา 563050304-2