SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง22102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์)
คาชี้แจง1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยจานวน 10 ข้อ คะแนน 10
คะแนน
2. นักเรียนทาเครื่องหมาย ลงใน
กระดาษคาตอบ
3. นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายอินเทอร์เน็ตได้
2. บอกพัฒนาการอินเทอร์เน็ตได้
3. เขียนผังสรุปเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตได้
1. อินเทอร์เน็ต หมายถึงข้อใด
ก. เว็บไซต์
ข. การสืบค้นข้อมูล
ค. การติดต่อสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์
ง. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด

2. ข้อใดคือหมายเลขประจาเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
ก. หมายเลขทีซี
ข. หมายเลขพีซี
ค. หมายเลขไอพี
ง. หมายเลขไอซีพี

3. ข้อใดคือโพรโทคอลที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต
ก. ข้อจากัดในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง
ข. ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง
ค. อุปกรณ์ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง
ง. ข้อตกลงที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับ
และผู้ส่ง

4. เว็บไซต์ หมายถึงข้อใด
ก. หน้าแรกที่เข้าสู่เว็บไซต์
ข. มัลติมิเดียที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน
ค. หน้าแต่ละหน้าที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน
ง. ชื่อเรียกหรือที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ

5. ข้อใดคือเว็บไซต์
ก. 192.168.0.60
ข. LMFT001-050
ค. www.seekan.ac.th
ง. Toy_123@hotmail.com

6. อินเทอร์เน็ตเริ่มต้นจากหน่วยงานใด
ก. สถานทูต ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ข. กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐอเมริกา
ค. กระทรวงกลาโหม ของประเทศโซเวียต
ง. หน่วยสืบราชการลับ ของประเทศรัสเซีย

7. ข้อใดคือโครงการแรกในพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
ก. โครงการไอดีพี
ข. โครงการอาร์พาเน็ต
ค. โครงการเอ็นเอสเอฟเน็ต
ง. โครงการมาตรฐานในการรับส่งข้อมูล

8. โดเมนเนมที่เป็นคาย่อสาหรับการศึกษาคือข้อใด
ก. .com
ข. .edu
ค. .int
ง. .org

9. ไอเอสพี หมายถึงข้อใด
ก. เครือข่ายไทยสาร
ข. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต
ค. ศูนย์เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ง. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์

10. ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ตเหมือนกับข้อใด
ก. ทะเล
ข. พื้นดิน
ค. ท้องฟ้า
ง. ใยแมงมุม

ใบความรู้
เรื่อง ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง22102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายอินเทอร์เน็ตได้
2. บอกพัฒนาการอินเทอร์เน็ตได้
3. เขียนผังสรุปเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตได้
1. ความหมายอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง กลุ่มของเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก เป็นการเชื่อมต่อ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ที่ใหญ่
ที่สุดในโลก โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคม สาหรับ
การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง จะต้องมี
การกาหนดหรือข้อตกลง หรือวิธีการสื่อสารจึงจะต้อง
กาหนดโพรโทคอลของคอมพิวเตอร์จะใช้มาตรฐานการ
สื่อสารที่เรียกว่า โพรโทคอลทีซีพี/ไอพี
ใบความรู้ (ต่อ)
คอมพิวเตอร์จะมีหมายเลขไอพี (IP Address) ซึ่ง
ประกอบด้วยชุดของตัวเลข 4 ชุด โดยมีจุดคั่นตัวเลขแต่
ละชุด เช่น 123.456.20.3 การกาหนดใช้เลขฐานสิบใน
การอ้างถึงเครื่องยากในการจดจา จึงมีการกาหนดเป็น
ลักษณะคาภาษาอังกฤษสั้น ๆ โดยแต่ละส่วนจะมี
ความหมายเฉพาะและคั่นด้วยเครื่องหมายจุด ซึ่งเรียกว่า
ชื่อโดเมน (domain name) เช่น
www.seekan.ac.th
โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์)
หน่วยงานสถาบันการศึกษา
ประเทศไทย
ใบความรู้ (ต่อ)
ตัวอย่างโดเมนเนม
หมายเหตุ สาหรับ gov และ mil ใช้สาหรับประเทศ
สหรัฐอเมริกาเท่านั้น
ชื่อโดเมนระดับบนสุด ความหมาย
edu (education) สถาบันการศึกษา
com (company) บริษัท ห้างร้าน หรือ
หน่วยงานเอกชน
gov (government) หน่วยงานของรัฐบาล
mil (military) หน่วยงานทางทหาร
net (network) ผู้ให้บริการเครือข่าย
org (organization) องค์กรที่ไม่แสวงหากาไร
th (Thailand) ประเทศไทย
ใบความรู้ (ต่อ)
2. พัฒนาการ
อินเทอร์เน็ต
พ.ศ.2500พ.ศ.2512
พ.ศ.2525 พ.ศ.2528
พ.ศ.2529 พ.ศ.2530
พ.ศ.2533
พ.ศ.2535
พ.ศ.2537
พ.ศ.2538
ใบความรู้ (ต่อ)
2. พัฒนาการอินเทอร์เน็ต
พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียตปล่อยดาวเทียม
Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึงปัญหาที่อาจจะ
เกิดขึ้น
พ.ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้า
กับความเสี่ยงทางการทหาร และความเป็นไปได้ในการถูก
โจมตี ด้วยอาวุธปรมาณู หรือนิวเคลียร์ การถูกทาลายล้าง
ศูนย์คอมพิวเตอร์ และระบบการสื่อสารข้อมูล อาจทาให้เกิด
ปัญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่มี
หลากหลายมากมายหลายแบบ ทาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยน
ข้อมูล ข่าวสาร และโปรแกรมกันได้ จึงมีแนวความคิด ใน
การวิจัยระบบที่สามารถเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ และ
แลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้ ตลอดจน
สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกัน ได้อย่างไม่ผิดพลาด โดย
ช่วงแรกเป็นการพัฒนาเพื่อการสื่อสารทางการทหาร และ
ต่อมาได้พัฒนาเป็น INTERNET ในที่สุด
ใบความรู้ (ต่อ)
แม้ว่าคอมพิวเตอร์บางเครื่อง หรือสายรับส่งสัญญาณ
เสียหายหรือถูกทาลาย กระทรวงกลาโหมอเมริกัน (DoD =
Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA
(Defense Advanced Research Project Agency)
ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Licklider ได้ทา
การทดลอง ระบบเครือข่ายที่มีชื่อว่า DARPA Network
และต่อมาได้กลายสภาพเป็น ARPANet (Advanced
Research Projects Agency Network) เป็นโครงการวิจัย
ทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของประเทศ
สหรัฐอเมริกา จากนั้นมีการนามาใช้เพื่อการศึกษาโดย
เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระหว่างสถาบัน 4 แห่ง คือ
มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตา บาร์บารา มหาวิทยาลัย
แคลิฟอร์เนีย ที่ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยยูทาห์ และ
สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด ซึ่งคอมพิวเตอร์จากสถาบันทั้ง 4
แห่ง เป็นคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันและใช้ระบบปฏิบัติการที่
แตกต่างกัน
ใบความรู้ (ต่อ)
พ.ศ. 2525 มีการพัฒนามาตรฐานในการรับและ
ส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพิ่มยิ่งขึ้น โดยใช้
โพรโทคอลทีซีพี/ไอพี ในการรับและส่งข้อมูล ซึ่งเป็น
มาตรฐานในการรับและส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตที่
นามาใช้จนถึงปัจจุบัน
พ.ศ. 2528 มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
สหรัฐอเมริกา ได้ให้เงินทุนสร้างศูนย์ซูเปอร์คอมพิวเตอร์
6 แห่ง และใช้ชื่อว่า เอ็นเอสเอฟเน็ต
พ.ศ. 2529 มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ
สหรัฐอเมริกาพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่องานด้าน
การศึกษาและการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
ใบความรู้ (ต่อ)
พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา
เขตหาดใหญ่ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียได้ติดต่อขอ
ใช้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ไปยังมหาวิทยาลัย
เมลเบิร์น โดยอาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและ
ประเทศออสเตรเลียตามโครงการไอดีพี ซึ่งการเชื่อมโยง
ขณะนั้นใช้สายโทรศัพท์ ทาให้ส่งข้อมูลได้ช้าและไม่ถาวร
จากนั้นมีการรวมตัวกันของอาร์พาเน็ตและเอ็นเอสเอฟเน็ต
ทาให้มีการใช้เอ็นเอสเอฟเน็ตแทนอาร์พาเน็ต ส่งผลให้มี
การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์จากเครือข่ายอื่น ๆ เข้าไว้
ด้วยกันจนเกิดเป็นอินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ (ต่อ)
พ.ศ. 2533 อาร์พาเน็ตไม่สามารถที่จะรองรับ
ภาระที่เป็นโครงข่ายหลักของระบบได้ อาร์พาเน็ตจึงได้ยุติ
ลง และเปลี่ยนไปใช้เอ็นเอสเอฟเน็ต และเครือข่ายอื่น ๆ
แทน ส่วนประเทศไทยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ
คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้จัดทาเครือข่าย
ไทยสาร ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อของสถาบันการศึกษา เพื่อ
จุดประสงค์หลักในการวิจัยและส่งเสริมการศึกษา โดย
สถาบันการศึกษาที่เข้าร่วมในเครือข่ายไทยสาร ได้แก่
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ใบความรู้ (ต่อ)
พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้ง
เครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายยูยูเน็ตของบริษัทยู
ยูเน็ตเทคโนโลยี จากัด รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศ
สหรัฐอเมริกา โดยสถาบันการศึกษาหลายแห่งในประเทศ
ไทยได้ขอเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายของจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย เรียกเครือข่ายนี้ว่า เครือข่ายไทยเน็ต
ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 4 สถาบัน คือ สานักวิทย
บริการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่ง
เ อ เ ชี ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ แ ล ะ
มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในปีเดียวกับที่ศูนย์เทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติได้จัดตั้งเครือข่าย
ไทยสาร ซึ่งต่อมาเชื่อมต่อกับเครือข่ายของยูยูเน็ต และได้
เชื่อมโยงกับสถาบันต่าง ๆ ในปัจจุบัน
ใบความรู้ (ต่อ)
พ.ศ. 2537 ความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตจาก
ภาคเอกชนมีมากขึ้น การสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.)
จึงร่วมมือกับบริษัทเอกชนเปิดบริการอินเทอร์เน็ตให้แก่
บุคคลและผู้สนใจสมัครเป็นสมาชิก ตั้งขึ้นในรูปบริษัทผู้
ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ เรียกทั่วไปว่า
ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือไอเอสพี
พ.ศ. 2538 บริษัทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์ เปิด
ให้บริการอินเทอร์เน็ตแก่ประชาชนทั่วไปในเชิงพาณิชย์
และเมื่ออินเทอร์เน็ตมีผู้ใช้บริการมากขึ้นจึงเกิดบริษัทอื่น
ๆ เปิดให้บริการเพิ่มขึ้น
ใบความรู้ (ต่อ)
อินเทอร์เน็ตพัฒนาจากเครือข่ายที่ใช้ในงานวิจัย
การขยายตัวของผู้ใช้เครือข่ายระยะแรกจึงจากัด ต่อมามี
การใช้งานแพร่หลายมากขึ้น เช่น
พ.ศ. 2513 เริ่มมีการอีเมลเป็นครั้งแรก
พ.ศ. 2516 เริ่มมีการสนทนาผ่านบีบีเอส ซึ่งเป็น
การสนทนาผ่านโปรแกรมเทอร์มินอล โดยผู้ใช้ต่อเข้ามาที่
เครื่องบริการ เพื่อสนทนา ฝากข้อความ หรือส่งอีเมลถึง
กัน
พ.ศ. 2531 เริ่มมีการใช้รูปแบบการสนทนาผ่าน
เครือข่ายในลักษณะที่ผู้ใช้ต่อเข้ามาที่เครื่องบริการ เพื่อ
สนทนาในห้องคุยที่มีอยู่ในระบบตามความสนใจ เรียกว่า
ไออาร์ซี
ใบความรู้ (ต่อ)
พ.ศ. 2534 มีกาคิดค้นการให้บริการข้อมูลผ่าน
เวิลด์ไวด์เว็บ หรือเรียกว่าเว็บ โดยใช้เว็บเบราว์เซอร์ใน
การใช้และเข้าถึงข้อมูล หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
เริ่มเห็นความสาคัญ และเข้าร่วมใช้บริการบนอินเทอร์เน็ต
พ.ศ. 2539 เริ่มมีการสนทนาผ่านเครือข่ายแบบ
ระบุผู้สนทนาได้โดยตรง เรียกว่า การส่งข้อความทันที
หรือ แชท

หนังสืออ้างอิง
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
(2553). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเทคโนโลยี-
สารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2.
กรุงเทพฯ: องค์การค้าของ สกสค.
อานวย เดชชัยศรีและณัฐกานต์ ภาคพรต. (ม.ป.ป.).
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2.
กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด.
เว็บไซต์
ความหมายและประวัติของอินเทอร์เน็ต. (2554). เข้าถึง
ได้จาก: http://kwammai.blogspot.com/
(วันที่ค้นข้อมูล: 11 สิงหาคม 2557)
รติ พิพัฒน์ศรี. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก:
https://sites.google.com/site/
kruratipipatsri/4-1-khwam-hmay-
laea-phathnakar-khxng-xinthexrnet
(วันที่ค้นข้อมูล: 11 สิงหาคม 2557)
คาชี้แจง
ให้นักเรียนเขียนอธิบายโดยสรุปในหัวข้อที่
กาหนด
ใบงาน
เรื่อง ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง22102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์)
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายอินเทอร์เน็ตได้
2. บอกพัฒนาการอินเทอร์เน็ตได้
3. เขียนผังสรุปเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตได้
1. อินเทอร์เน็ต หมายถึง (3 คะแนน)
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
2. โพรโทคอล หมายถึง (4 คะแนน)
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
3. ยกตัวอย่างไอพี และโดเมนเนมที่เป็นผู้ให้บริการ
เครือข่าย (3 คะแนน)
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
ใบงาน
เรื่อง ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง22102
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์)
4. นักเรียนเขียนผังสรุปพัฒนาการอินเทอร์เน็ต
(10 คะแนน)
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
ใบงาน
เรื่อง ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2ยิ้ม' เเฉ่ง
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Mind's Am'i
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตครู อินดี้
 
วิชา เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ปวส.
วิชา เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ปวส.วิชา เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ปวส.
วิชา เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ปวส.peter dontoom
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตpeter dontoom
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตBhisut Boonyen
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copyครู อินดี้
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตปิยะดนัย วิเคียน
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6ครู อินดี้
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตdlled
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer   2/2
โครงงานคอมพิวเตอร์โปรแกรมinSSIDer 2/2
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 เรื่องอินเทอร์เน็ต
 
วิชา เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ปวส.
วิชา เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ปวส.วิชา เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ปวส.
วิชา เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ปวส.
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนตข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
ข้อสอบปลายภาค50ข้อวิชาการใช้อินเทอร์เนต
 
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 เทคโน ม.6 อินเทอร์เน็ต
 
บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
I smyresearch
I smyresearchI smyresearch
I smyresearch
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
ShreetUnit4.1
ShreetUnit4.1ShreetUnit4.1
ShreetUnit4.1
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
job1-1
job1-1job1-1
job1-1
 

Similar to ความหมายอินเทอร์เน็ต

สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559kkrunuch
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นxsitezaa
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsawalee kongyuen
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internetSamorn Tara
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4Nuttapoom Tossanut
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มSutin Yotyavilai
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสpeter dontoom
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตburin rujjanapan
 

Similar to ความหมายอินเทอร์เน็ต (20)

Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
สื่อการสอน Internet 2559
สื่อการสอน Internet  2559สื่อการสอน Internet  2559
สื่อการสอน Internet 2559
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้นบทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตและการสืบค้น
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 4
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวสวิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
วิชาเทคโนโลยีอินเทอร์เนต ปวส
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
ศุภชัย
ศุภชัยศุภชัย
ศุภชัย
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 
Ch02
Ch02Ch02
Ch02
 
ชิ afraid
ชิ afraidชิ afraid
ชิ afraid
 

More from patchu0625

แบบฝึกหัด459
แบบฝึกหัด459แบบฝึกหัด459
แบบฝึกหัด459patchu0625
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1patchu0625
 
ผังงาน1
ผังงาน1ผังงาน1
ผังงาน1patchu0625
 
กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1patchu0625
 
ใบงานหลักการแก้ปัญหา
ใบงานหลักการแก้ปัญหาใบงานหลักการแก้ปัญหา
ใบงานหลักการแก้ปัญหาpatchu0625
 
การใช้งานBlog
การใช้งานBlogการใช้งานBlog
การใช้งานBlogpatchu0625
 
การใช้งานอีเมล
การใช้งานอีเมลการใช้งานอีเมล
การใช้งานอีเมลpatchu0625
 
สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155patchu0625
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑patchu0625
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxpatchu0625
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51patchu0625
 

More from patchu0625 (13)

Computa
ComputaComputa
Computa
 
แบบฝึกหัด459
แบบฝึกหัด459แบบฝึกหัด459
แบบฝึกหัด459
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล1
 
ผังงาน1
ผังงาน1ผังงาน1
ผังงาน1
 
กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1
 
ใบงานหลักการแก้ปัญหา
ใบงานหลักการแก้ปัญหาใบงานหลักการแก้ปัญหา
ใบงานหลักการแก้ปัญหา
 
การใช้งานBlog
การใช้งานBlogการใช้งานBlog
การใช้งานBlog
 
การใช้งานอีเมล
การใช้งานอีเมลการใช้งานอีเมล
การใช้งานอีเมล
 
สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155สอบกลางภาค155
สอบกลางภาค155
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑
 
หลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptxหลักสูตร51.pptx
หลักสูตร51.pptx
 
หลักสูตร51
หลักสูตร51หลักสูตร51
หลักสูตร51
 
Mid4156
Mid4156Mid4156
Mid4156
 

ความหมายอินเทอร์เน็ต

  • 1.
  • 2. แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง22102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์) คาชี้แจง1. ข้อสอบเป็นแบบปรนัยจานวน 10 ข้อ คะแนน 10 คะแนน 2. นักเรียนทาเครื่องหมาย ลงใน กระดาษคาตอบ 3. นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายอินเทอร์เน็ตได้ 2. บอกพัฒนาการอินเทอร์เน็ตได้ 3. เขียนผังสรุปเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตได้
  • 3. 1. อินเทอร์เน็ต หมายถึงข้อใด ก. เว็บไซต์ ข. การสืบค้นข้อมูล ค. การติดต่อสื่อสารผ่านคอมพิวเตอร์ ง. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่สุด  2. ข้อใดคือหมายเลขประจาเครื่องคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ก. หมายเลขทีซี ข. หมายเลขพีซี ค. หมายเลขไอพี ง. หมายเลขไอซีพี  3. ข้อใดคือโพรโทคอลที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต ก. ข้อจากัดในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ข. ตัวกลางในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ค. อุปกรณ์ในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่ง ง. ข้อตกลงที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับ และผู้ส่ง 
  • 4. 4. เว็บไซต์ หมายถึงข้อใด ก. หน้าแรกที่เข้าสู่เว็บไซต์ ข. มัลติมิเดียที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน ค. หน้าแต่ละหน้าที่มีการเชื่อมโยงถึงกัน ง. ชื่อเรียกหรือที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการ  5. ข้อใดคือเว็บไซต์ ก. 192.168.0.60 ข. LMFT001-050 ค. www.seekan.ac.th ง. Toy_123@hotmail.com  6. อินเทอร์เน็ตเริ่มต้นจากหน่วยงานใด ก. สถานทูต ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ข. กระทรวงกลาโหม ของสหรัฐอเมริกา ค. กระทรวงกลาโหม ของประเทศโซเวียต ง. หน่วยสืบราชการลับ ของประเทศรัสเซีย  7. ข้อใดคือโครงการแรกในพัฒนาการของอินเทอร์เน็ต ก. โครงการไอดีพี ข. โครงการอาร์พาเน็ต ค. โครงการเอ็นเอสเอฟเน็ต ง. โครงการมาตรฐานในการรับส่งข้อมูล 
  • 5. 8. โดเมนเนมที่เป็นคาย่อสาหรับการศึกษาคือข้อใด ก. .com ข. .edu ค. .int ง. .org  9. ไอเอสพี หมายถึงข้อใด ก. เครือข่ายไทยสาร ข. ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ค. ศูนย์เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ง. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์  10. ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ตเหมือนกับข้อใด ก. ทะเล ข. พื้นดิน ค. ท้องฟ้า ง. ใยแมงมุม 
  • 6. ใบความรู้ เรื่อง ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง22102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายอินเทอร์เน็ตได้ 2. บอกพัฒนาการอินเทอร์เน็ตได้ 3. เขียนผังสรุปเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตได้ 1. ความหมายอินเทอร์เน็ต อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง กลุ่มของเครือข่าย คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันทั่วโลก เป็นการเชื่อมต่อ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) ที่ใหญ่ ที่สุดในโลก โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคม สาหรับ การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์หลาย ๆ เครื่อง จะต้องมี การกาหนดหรือข้อตกลง หรือวิธีการสื่อสารจึงจะต้อง กาหนดโพรโทคอลของคอมพิวเตอร์จะใช้มาตรฐานการ สื่อสารที่เรียกว่า โพรโทคอลทีซีพี/ไอพี
  • 7. ใบความรู้ (ต่อ) คอมพิวเตอร์จะมีหมายเลขไอพี (IP Address) ซึ่ง ประกอบด้วยชุดของตัวเลข 4 ชุด โดยมีจุดคั่นตัวเลขแต่ ละชุด เช่น 123.456.20.3 การกาหนดใช้เลขฐานสิบใน การอ้างถึงเครื่องยากในการจดจา จึงมีการกาหนดเป็น ลักษณะคาภาษาอังกฤษสั้น ๆ โดยแต่ละส่วนจะมี ความหมายเฉพาะและคั่นด้วยเครื่องหมายจุด ซึ่งเรียกว่า ชื่อโดเมน (domain name) เช่น www.seekan.ac.th โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์) หน่วยงานสถาบันการศึกษา ประเทศไทย
  • 8. ใบความรู้ (ต่อ) ตัวอย่างโดเมนเนม หมายเหตุ สาหรับ gov และ mil ใช้สาหรับประเทศ สหรัฐอเมริกาเท่านั้น ชื่อโดเมนระดับบนสุด ความหมาย edu (education) สถาบันการศึกษา com (company) บริษัท ห้างร้าน หรือ หน่วยงานเอกชน gov (government) หน่วยงานของรัฐบาล mil (military) หน่วยงานทางทหาร net (network) ผู้ให้บริการเครือข่าย org (organization) องค์กรที่ไม่แสวงหากาไร th (Thailand) ประเทศไทย
  • 10. ใบความรู้ (ต่อ) 2. พัฒนาการอินเทอร์เน็ต พ.ศ. 2500 (1957) โซเวียตปล่อยดาวเทียม Sputnik ทาให้สหรัฐอเมริกาได้ตระหนักถึงปัญหาที่อาจจะ เกิดขึ้น พ.ศ. 2512 (1969) กองทัพสหรัฐต้องเผชิญหน้า กับความเสี่ยงทางการทหาร และความเป็นไปได้ในการถูก โจมตี ด้วยอาวุธปรมาณู หรือนิวเคลียร์ การถูกทาลายล้าง ศูนย์คอมพิวเตอร์ และระบบการสื่อสารข้อมูล อาจทาให้เกิด ปัญหาทางการรบ และในยุคนี้ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่มี หลากหลายมากมายหลายแบบ ทาให้ไม่สามารถแลกเปลี่ยน ข้อมูล ข่าวสาร และโปรแกรมกันได้ จึงมีแนวความคิด ใน การวิจัยระบบที่สามารถเชื่อมโยงเครื่องคอมพิวเตอร์ และ แลกเปลี่ยนข้อมูล ระหว่างระบบที่แตกต่างกันได้ ตลอดจน สามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกัน ได้อย่างไม่ผิดพลาด โดย ช่วงแรกเป็นการพัฒนาเพื่อการสื่อสารทางการทหาร และ ต่อมาได้พัฒนาเป็น INTERNET ในที่สุด
  • 11. ใบความรู้ (ต่อ) แม้ว่าคอมพิวเตอร์บางเครื่อง หรือสายรับส่งสัญญาณ เสียหายหรือถูกทาลาย กระทรวงกลาโหมอเมริกัน (DoD = Department of Defense) ได้ให้ทุนที่มีชื่อว่า DARPA (Defense Advanced Research Project Agency) ภายใต้การควบคุมของ Dr. J.C.R. Licklider ได้ทา การทดลอง ระบบเครือข่ายที่มีชื่อว่า DARPA Network และต่อมาได้กลายสภาพเป็น ARPANet (Advanced Research Projects Agency Network) เป็นโครงการวิจัย ทางการทหารของกระทรวงกลาโหมของประเทศ สหรัฐอเมริกา จากนั้นมีการนามาใช้เพื่อการศึกษาโดย เชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระหว่างสถาบัน 4 แห่ง คือ มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียที่ซานตา บาร์บารา มหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนีย ที่ลอสแอนเจลิส มหาวิทยาลัยยูทาห์ และ สถาบันวิจัยสแตนฟอร์ด ซึ่งคอมพิวเตอร์จากสถาบันทั้ง 4 แห่ง เป็นคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกันและใช้ระบบปฏิบัติการที่ แตกต่างกัน
  • 12. ใบความรู้ (ต่อ) พ.ศ. 2525 มีการพัฒนามาตรฐานในการรับและ ส่งข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพิ่มยิ่งขึ้น โดยใช้ โพรโทคอลทีซีพี/ไอพี ในการรับและส่งข้อมูล ซึ่งเป็น มาตรฐานในการรับและส่งข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตที่ นามาใช้จนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2528 มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ สหรัฐอเมริกา ได้ให้เงินทุนสร้างศูนย์ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ 6 แห่ง และใช้ชื่อว่า เอ็นเอสเอฟเน็ต พ.ศ. 2529 มูลนิธิวิทยาศาสตร์แห่งชาติ สหรัฐอเมริกาพัฒนาเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่องานด้าน การศึกษาและการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
  • 13. ใบความรู้ (ต่อ) พ.ศ. 2530 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยา เขตหาดใหญ่ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชียได้ติดต่อขอ ใช้บริการไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ไปยังมหาวิทยาลัย เมลเบิร์น โดยอาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและ ประเทศออสเตรเลียตามโครงการไอดีพี ซึ่งการเชื่อมโยง ขณะนั้นใช้สายโทรศัพท์ ทาให้ส่งข้อมูลได้ช้าและไม่ถาวร จากนั้นมีการรวมตัวกันของอาร์พาเน็ตและเอ็นเอสเอฟเน็ต ทาให้มีการใช้เอ็นเอสเอฟเน็ตแทนอาร์พาเน็ต ส่งผลให้มี การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์จากเครือข่ายอื่น ๆ เข้าไว้ ด้วยกันจนเกิดเป็นอินเทอร์เน็ต
  • 14. ใบความรู้ (ต่อ) พ.ศ. 2533 อาร์พาเน็ตไม่สามารถที่จะรองรับ ภาระที่เป็นโครงข่ายหลักของระบบได้ อาร์พาเน็ตจึงได้ยุติ ลง และเปลี่ยนไปใช้เอ็นเอสเอฟเน็ต และเครือข่ายอื่น ๆ แทน ส่วนประเทศไทยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้จัดทาเครือข่าย ไทยสาร ซึ่งเป็นการเชื่อมต่อของสถาบันการศึกษา เพื่อ จุดประสงค์หลักในการวิจัยและส่งเสริมการศึกษา โดย สถาบันการศึกษาที่เข้าร่วมในเครือข่ายไทยสาร ได้แก่ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • 15. ใบความรู้ (ต่อ) พ.ศ. 2535 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้จัดตั้ง เครือข่ายเพื่อเชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายยูยูเน็ตของบริษัทยู ยูเน็ตเทคโนโลยี จากัด รัฐเวอร์จิเนีย ประเทศ สหรัฐอเมริกา โดยสถาบันการศึกษาหลายแห่งในประเทศ ไทยได้ขอเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายของจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย เรียกเครือข่ายนี้ว่า เครือข่ายไทยเน็ต ประกอบด้วยสถาบันการศึกษา 4 สถาบัน คือ สานักวิทย บริการจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีแห่ง เ อ เ ชี ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ชี ย ง ใ ห ม่ แ ล ะ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ ในปีเดียวกับที่ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติได้จัดตั้งเครือข่าย ไทยสาร ซึ่งต่อมาเชื่อมต่อกับเครือข่ายของยูยูเน็ต และได้ เชื่อมโยงกับสถาบันต่าง ๆ ในปัจจุบัน
  • 16. ใบความรู้ (ต่อ) พ.ศ. 2537 ความต้องการใช้อินเทอร์เน็ตจาก ภาคเอกชนมีมากขึ้น การสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.) จึงร่วมมือกับบริษัทเอกชนเปิดบริการอินเทอร์เน็ตให้แก่ บุคคลและผู้สนใจสมัครเป็นสมาชิก ตั้งขึ้นในรูปบริษัทผู้ ให้บริการเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิชย์ เรียกทั่วไปว่า ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต หรือไอเอสพี พ.ศ. 2538 บริษัทอินเทอร์เน็ตไทยแลนด์ เปิด ให้บริการอินเทอร์เน็ตแก่ประชาชนทั่วไปในเชิงพาณิชย์ และเมื่ออินเทอร์เน็ตมีผู้ใช้บริการมากขึ้นจึงเกิดบริษัทอื่น ๆ เปิดให้บริการเพิ่มขึ้น
  • 17. ใบความรู้ (ต่อ) อินเทอร์เน็ตพัฒนาจากเครือข่ายที่ใช้ในงานวิจัย การขยายตัวของผู้ใช้เครือข่ายระยะแรกจึงจากัด ต่อมามี การใช้งานแพร่หลายมากขึ้น เช่น พ.ศ. 2513 เริ่มมีการอีเมลเป็นครั้งแรก พ.ศ. 2516 เริ่มมีการสนทนาผ่านบีบีเอส ซึ่งเป็น การสนทนาผ่านโปรแกรมเทอร์มินอล โดยผู้ใช้ต่อเข้ามาที่ เครื่องบริการ เพื่อสนทนา ฝากข้อความ หรือส่งอีเมลถึง กัน พ.ศ. 2531 เริ่มมีการใช้รูปแบบการสนทนาผ่าน เครือข่ายในลักษณะที่ผู้ใช้ต่อเข้ามาที่เครื่องบริการ เพื่อ สนทนาในห้องคุยที่มีอยู่ในระบบตามความสนใจ เรียกว่า ไออาร์ซี
  • 18. ใบความรู้ (ต่อ) พ.ศ. 2534 มีกาคิดค้นการให้บริการข้อมูลผ่าน เวิลด์ไวด์เว็บ หรือเรียกว่าเว็บ โดยใช้เว็บเบราว์เซอร์ใน การใช้และเข้าถึงข้อมูล หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน เริ่มเห็นความสาคัญ และเข้าร่วมใช้บริการบนอินเทอร์เน็ต พ.ศ. 2539 เริ่มมีการสนทนาผ่านเครือข่ายแบบ ระบุผู้สนทนาได้โดยตรง เรียกว่า การส่งข้อความทันที หรือ แชท 
  • 19. หนังสืออ้างอิง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2553). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานเทคโนโลยี- สารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของ สกสค. อานวย เดชชัยศรีและณัฐกานต์ ภาคพรต. (ม.ป.ป.). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2. กรุงเทพฯ: บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด. เว็บไซต์ ความหมายและประวัติของอินเทอร์เน็ต. (2554). เข้าถึง ได้จาก: http://kwammai.blogspot.com/ (วันที่ค้นข้อมูล: 11 สิงหาคม 2557) รติ พิพัฒน์ศรี. (ม.ป.ป.). เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/ kruratipipatsri/4-1-khwam-hmay- laea-phathnakar-khxng-xinthexrnet (วันที่ค้นข้อมูล: 11 สิงหาคม 2557)
  • 20. คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนอธิบายโดยสรุปในหัวข้อที่ กาหนด ใบงาน เรื่อง ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง22102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์) จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายอินเทอร์เน็ตได้ 2. บอกพัฒนาการอินเทอร์เน็ตได้ 3. เขียนผังสรุปเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตได้
  • 21. 1. อินเทอร์เน็ต หมายถึง (3 คะแนน) ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... 2. โพรโทคอล หมายถึง (4 คะแนน) ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... 3. ยกตัวอย่างไอพี และโดเมนเนมที่เป็นผู้ให้บริการ เครือข่าย (3 คะแนน) ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ใบงาน เรื่อง ความหมายและพัฒนาการอินเทอร์เน็ต รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง22102 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนสีกัน(วัฒนานันท์อุปถัมภ์)