SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
ใบความรู้ ที 9

                                เรือง อินเตอร์ เน็ตคืออะไร

            อินเตอร์ เนต : คือ ระบบเน็ตเวิร์กขนาดใหญ่ ทีต่อเชื อมระบบต่างๆ ทัวโลก เข้าด้วยกัน
                                                                            ่
เปรี ยบเสมือนห้องสมุด สาธารณะชน ขนาดมหึ มา ทีใหญ่ทีสุ ด ในโลก ก็วาได้ ทีมีขอมูลต่างๆ     ้
มากมาย และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้ไม่วาจะเป็ นการ ค้ นคว้ าวิจัย หรื อ เพือความ
                                                            ่
บันเทิง เป็ นต้น
            อินเตอร์ เนต เป็ นคํา ทีหลายคนคุนหูและเป็ นทีรู ้จกกันดีในขณะนี1 นอกจากนั1นมัน ไม่ใช่
                                                  ้             ั
เป็ นแค่ระบบ เน็ตเวิร์กขนาดใหญ่ธรรมดา เท่านั1น แต่มนเป็ น อภิมหาเน็ตเวิร์กโลก ( เน็ตเวิร์ก ทีเชือ
                                                              ั
ต่อกันหลายๆ เน็ตเวิร์ก จาก ทัวทุกมุมโลกเข้าไว้ดวยกัน ) ทีๆ เสมือนถนนทีจะพาผูทีเป็ นสมาชิก
                                                        ้                              ้
บน เน็ตเวิร์ก ไปได้ ทุกแห่งทุกหนบนโลก อินเตอร์ เนต
            กว่ าจะมาเป็ น อินเตอร์ เนต
            อินเตอร์ เนต มีการพัฒนาการมาจาก อาร์ พาเน็ต ( ARPAnet หรื อทีเรี ยกกัน สั1นๆว่า อาร์ พา
                                                                                     ั
ทีตั1งขึ1นในปี พ.ศ. 2512 เป็ นเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ของกระทรวงกลาโหม ทีใช้กนในงานวิจย         ั
ทางด้าน การทหาร ( ARPA : Advanced Research Project Agency ) จนกระทัง มาถึงในปี พ.ศ.
2515 หลังจากทีเครื อข่าย ทดลอง ของ อาร์ พา ประสบกับความสําเร็ จเป็ นอย่างมาก ก็ได้มีการ
ปรับปรุ ง หน่วยงาน จาก อาร์ พา มาเป็ น ดาร์ พา ( Defence Comunication Agency ) และ ในปี พ.ศ.
2526 อาร์ พาเน็ต ก็ได้แบ่งออกเป็ น 2 เครื อข่ายด้วยกัน คือ เครื อข่ายด้านงานวิจย ใช้ชือ อาร์ พาเน็ต
                                                                                 ั
เหมือนเดิม ส่ วนเครื อข่ายของกองทัพใช้ มิลเน็ต ( MILNET : Military Network ) ซึ งมีการ
เชือมต่อ โดยใช้ โพรโตคอล TCP / IP ( Transmission Control Protocol / Internet Protocol )
เป็ น ครัPงแรก ในปี พ.ศ. 2528 โดย มูลนิธิวทยาศาสตร์ แห่ งชาติ ของ อเมริ กา NSF ได้ให้เงิน ทุนใน
                                                    ิ
การสร้าง ศูนย์ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ จํานวน 6 แห่ง และให้ใช้ชือว่า NSFNET แลพจนกระทังพอ
มาถึงปี พ.ศ. 2533 อาร์ พาเน็ต รองรับ ภาระทีเป็ น กระดูกสันหลัง ( BackBone ) ของระบบ ไม่ ได้
จึงได้ยติ อาร์ พาเน็ต และเปลียนไปใช้ NSFNET และ เครื อข่ายอืนๆ แทน จนมาเป็ นเครื อข่ายขนาด
         ุ
                                                          ่
มหึ มา จนกระทังถึงทุกวันนี1 และเรี ยก เครื อข่ายนี1วา อินเตอร์ เนต ( Internet ) โดย เครื อข่ายส่ วน
               ่
ใหญ่จะอยูในประเทศ สหรัฐอเมริกา และ ปั จจุบนนี1ได้มี เครื อข่ายย่อย มากถึง 25,000 เครื อข่ายเลย
                                                      ั
ทีเดียว
            สิ งทีจําเป็ นต้ องรู้ บนอินเตอร์ เนต
                  ่
            ทีอยูบนอินเตอร์ เนต หรื อ Internet Address จะประกอบด้วยชือของผูใช้ คอมพิวเตอร์ (
                                                                                   ้
User ) และ ชือของ อินเตอร์ เนต ( Internet Name ) โดยจะมีรูปแบบคือ ....
ชื อผู้ใช้ @ชื อของอินเตอร์ เนต , yourname@domain.xxx
ตัวอย่างเช่น tick@mail.ksc.net จะหมายถึงว่า ผูใช้ ใช้ชือ tick เป็ นสมาชิก ของศูนย์บริ การ หรื อ
                                                ้
ศูนย์คอมพิวเตอร์ ชือ mail ทีมีชืออินเตอร์ เนตเป็ น ksc.net.th หรื อ thanop@thaiware.com หมายถึง
ว่าผูใช้ ใช้ชือ thanop เป็ นสมาชิกของศูนย์คอมพิวเตอร์ ทีมีชือเป็ น thaiware.com หมายเลข
     ้
อินเตอร์ เนต หรื อ IP Address จะเป็ นรหัสประจําตัวของคอมพิวเตอร์ ทีต่อเข้ากับอินเตอร์ เนต โดย
หมายเลขนี1จะมีรหัสไม่ซ1 ากัน ประกอบไปด้วยตัวเลขจํานวน 4 ชุ ด ด้วยกัน ทีคันด้วย เครื องหมายจุด
                           ํ
(.) ยกตัวอย่างเช่น 203.151.217.158 ครับ จะเป็ นหมายเลข IP Address ของเครื อง thaiware.com
ชืออินเตอร์ เนต ( DNS : Domain Name Server ) จะเป็ นชือทีอ้างถึง คอมพิวเตอร์ ทีต่อเข้ากับ
อินเตอร์ เนต เนืองจาก IP Address เป็ น ตัวเลข 4 ชุด ซึ งเป็ นทียากในการจําเป็ นอย่างมาก และ ไม่ได้
สะดวกต่อผูใช้ ซึ ง DNS นี1จะทําให้จดจําได้ง่ายยิงขึ1น เป็ น mail.ksc.net.th , comnet3@ksc.net.th (
              ้
mail คือ ชือ คอมพิวเตอร์ , ksc คือชือ เครือข่ ายท้ องถิน , net คือ ซับโดเมน , th คือ ชื อโดเมน )
           ความหมายของโดเมน
       สําหรับ ความหมายของโดเมน ในเครื อข่าย อินเตอร์ เนต ก็ได้จาแนกออกมาทั1งหมด 6 ประเภท
                                                                     ํ
ด้วยกัน คือ :

    •   .com - กลุ่มองค์การค้า ( Commercial )
    •   .edu - กลุ่มการการศึกษา ( Education )
    •   .mit - กลุ่มองค์การทหาร ( Military )
    •   .net - กลุ่มองค์การ บริ การเครื อข่าย ( Network Services )
    •   .org - กลุ่มองค์กรอืนๆ ( Organizations )
    •   .int - หน่วยงานทีตั1งขึ1นโดยสัญญาหรื อข้อตกลงระหว่างประเทศ ( International )

    ถ้า สังเกตุดีๆ จะเห็นว่า ในประเทศ สหรัฐอเมริกา เท่านั1น ทีจะมี โดเมน เป็ นตัวอักษร 3 ตัว ใน
กรณี ที ประเทศอืนๆ เช่น ประเทศไทย ของเรา จะเป็ นเพียงแค่ 2 ตัว เท่ านัPน !!! เช่น microsoft.com
ของประเทศ สหัรฐอเมริ กา กับ ksc.net.th ของไทย นันเอง นอกจากนี1 ในบ้านเรามีการกําหนดชือ
                                                                                   ่             ่
โดเมน ขึ1นมา ใหม่ !!! อีก ด้วย อย่างเช่น internet.th.com จะหมายถึงว่า เครื องทีชี1วา internet อยูใน
ประเทศไทย ( th ) และ เป็ นบริ ษททางการค้า ( com )
                                 ั
โดเมน ทีเป็ นชื อย่ อของประเทศทีน่ าสนใจ
     CodeC                           Name ( Thai )                 Name ( English )
     .au                             ออสเตรเลีย                    Australia
     .fr                             ฝรังเศส                       France
     .hk                             ฮ่องกง                        Hong Kong
     .jp                             ญีปุ่ น                       Japan
     .th                             ไทย                           Thailand
     .sg                             สิ งค์โปร์                    Singapore
     .uk                             สหราชอาณาจักร                 United Kingdom
     .no                             นอร์ เวย์                     Norway

         ความหมายของ ซับโดเมน ในไทย
     Code                      Type ( Thai )                       Type ( English )
     .ac                       สถาบันการศึกษา                      Academic
     .co                       องค์กรธุ รกิจ                       Commercial
     .or                       องค์กรอืนๆ                          Organizations
     .net                      ผูวางระบบเน็ตเวิร์ก
                                 ้                                 Networking
     .go                       หน่อยงานของรัฐบาล                   Goverment
     .in                       หน่อยงานอิสระ                       Individual / Incorporation




การประยุกต์ ใช้ งานอินเทอร์ เน็ต

                 เมือ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเชื อมโยงเครื อข่ายทัวโลกให้สามารถติดต่อถึงกันได้ หมดจน
        กลายเป็ นเครื อข่ายของโลก ดังนั1นจึงมีผใช้งานบนเครื อข่ายนี1จานวนมาก การใช้งานเหล่านี1เป็ นสิ งที
                                                   ู้                   ํ
        กําลังได้รับการกล่าวถึงกันทัวไป เพราะการเชื อมโยงเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตทําให้โลกไร้พรมแดน
        ข้อมูลข่าวสารต่างๆ สามารถสื อสารถึงกันได้อย่างรวดเร็ ว ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์ เน็ตทีจะ
                                                                ั
        กล่าวต่อไปนี1เป็ นเพียงตัวอย่างที แพร่ หลายและให้กนมากเท่านั1น ยังมีการประยุกต์งานอืนทีได้รับ
        การพัฒนาขึ1นมาใหม่ตลอดเวลา
1) ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (electronoc mail หรือ e-mail ) เป็ นการส่ งข้อความติดต่อกัน
                                                        ์               ั
ระหว่างบุคคลกับบุคคลก็ได้ หากเปรี ยบเทียบ ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์กบไปรษณี ยธรรมดาจะ ์
พบว่าโดยหลักการนั1นไม่แตกต่าง กันมากนัก ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์เปลียนบุรุษไปรษณี ยให้เป็ น
                                                      ์                                  ์
โปรแกรม เปลียนรู ปแบบการจ่าหน้าซองจดหมายให้เป็ นการจ่าหน้าแบบอ้างอิงระบบ
                             ่
อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ทีอยูของไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (email address) การส่ ง
                                        ์
ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์น1 นมีรูปแบบทีง่าย สะดวกและรวดเร็ วหากต้องการส่ ง
          ์                ั
                                                          ่ ้
ข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเอกสาร แล้วจ่าหน้าซองทีอยูขอผูรับ ระบบจะจําส่ ง
                                  ่
ทันทีอย่างรวดเร็ ว ลักษณะของอยูทีจะเป็ นขือรหัสให้และขือเครื องประกอบกัน
เช่น sombat@ipst.ac.th การติดต่อบนอินเทอร์ เน็ตนี1 ระบบจะหาตําแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และ
                                                                      ํ
นําส่ งไปยังปลายางได้อย่างถูกต้อง การับส่ งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์กาลังเป็ นทีนิยมกันอย่าง
                                                    ์
                   ั                        ์              ั                                ่
แพร่ หลาย ปั จจุบนข้อมูลทีส่ งผ่านไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์น1 นเป็ นเป็ นข้อมูลแบบใดก็ ได้ทีอยูใน
รู ปแบบของดิจิทล (digital) และสามารถใช้ภาษาอะไรก็ได้
                 ั




                รู ปที 7.3 ข้อความทีเป็ นภาษาญีปุ่ นทีส่ งผ่านไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์
                                                                      ์


        2) การโอนย้ ายแฟมข้ อมูลระหว่ างกัน (File Transfer Protocol : FTP) เป็ นระบบทีทําให้
                          ้
                                                                                     ่
ผูใช้สามารถรับส่ งแฟ้ มข้อมูลระหว่างกันหรื อ มีสถานีให้บริ การการเก็บแฟ้ มข้อมูลทีอยูในทีต่างๆ
  ้
และให้บริ การ ผูใช้สมารถเข้าไปคัดเลือกนําแฟ้ มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น โปรแกรม cuteFTP
                ้
โปรแกรม wsFTP เป็ นต้น
รู ปที 7.4 โปรแกรม CuteFTP

          3) การใช้ เครืองคอมพิวเตอร์ ในทีห่ างไกล (telnet) การเชื อมโยงคอมพิวเตอร์ เข้ากับ
เครื อข่าย ทําให้เราสามารถติดต่อเครื องคอมพิวเตอร์ ทีเป็ นสถานีบริ การในทีห่างไกลได้ ถ้าสถานี
                                                                                         ่
บริ การนั1นยินยอม ทําให้ผใช้สามารถนําข้อมูลไปประมวลผลยังเครื องคอมพิวเตอร์ ทีอยูในเครื อ ข่าย
                             ู้
เช่น นักเรี ยนในประเทศไทยส่ งโปรแกรมไปประมวลผลทีเครื องคอมพิวเตอร์ ทีอยูใน บริ ษทใน  ่         ั
ประเทศญีปุ่ นผ่านทางระบบเครื อข่ายโดยไม่ตองเดินทางไปเอง
                                                ้
          4) การเรียกค้ นข้ อมูลข่ าวสาร (search engine) ปั จจุบนมีฐานข้อมูลข่าวสารทีเก็บไว้ให้ใช้
                                                                ั
งานจํานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรู ปส่ งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ทีผูใช้สมารถเรี ยก อ่าน
                                                                              ้
                                                                            ่
หรื อนํามาพิมพ์ ฐานข้อมูลนี1 จึงมีลกษณะเหมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่อยูภายในเครื อข่ายที
                                     ั
สามารถค้นหาข้อมูลใดๆ ก็ได้ ฐานข้อมูลในลักษณะนี1เรี ยกว่า เวิลด์ไวด์เว็บ (Wold Wide Wed :
WWW) ซึ งเป็ นฐานข้อมูลทีเชือมโยงกันทัวโลก
          5) การอ่ านจากกลุ่มข่ าว (USENET) ภายในอินเทอร์ เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็ นกลุ่มๆ แยกตาม
ความสนใจ แต่ละกลุ่มข่าวอนุญาตให้ผใช้อินเทอร์ เน็ตส่ งข้อความไปได้ และหากผูใดต้องการเขียน
                                          ู้                                           ้
โต้ตอบก็สามารถเขียนได้ กลุ่มข่าวนี1จึงแพร่ หลายและกระจายข่าวได้รวดเร็ ว
          6) การสนทนาบนเครือข่ าย (chat) เมือเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเชื อมต่อถึงกันได้ทวโลกผูใช้
                                                                                           ั     ้
จึงสามารถใช้เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเป็ นตัวกลางในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วธีการ      ิ
สนทนากันด้วยตัวหนังสื อ เพือโต้ตอบกันแบบทีนทีทนใดบนจอภาพ ตอมามีผพฒนาให้ใช้เสี ยงได้
                                                       ั                        ู้ ั
จนถึงปั จจุบน ถ้าระบบสื อสารข้อมูลมีความเร็ วพอ ก็สามารถสนทนาโดยทีเห็นหน้ากันและกันบน
              ั
จอภาพได้
รู ปที 7.5 โปรแกรมเพิร์ชใช้สาหลับสนทนาบนเครื อข่ายรู ปที
                                        ํ




                        7.6 โปรแกรม msn ใช้สาหรับสนทนาบนเครื อข่าย
                                            ํ



          7) การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์ บนเครือข่ าย เป็ นการ ประยุกต์เพือให้เห็นว่าเป็ นสิ งที
เกิดขึ1นได้ ปั จจุบนมีผต1 งสถานีวทยุบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตหลายร้อยสถานี ผูใช้สามารถเลือก
                   ั ู้ ั        ิ                                           ้
สถานีทีต้องการและได้ยนเสี ยงเหมือนการฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่ งกระจายภาพวีดีทศน์บน
                           ิ                                                             ั
                              ่
เครื อข่ายด้วย แต่ปัญหายังอยูทีความเร็ วของเครื อข่ายทียังไม่สามารถรองรับการส่ งข้อมูล จํานวน
มาก ทําให้คุณภาพของภาพวีดีทศน์ยงไม่ดีเท่าทีควร
                                   ั ั
รู ปที 7.7 สถานีโทรทัศน์บนเครื อข่าย

                 8) การบริการบนอินเทอร์ เน็ต ปั จจุบนมีการให้บริ การบนอินเตอร์ เน็ตเกิด ขึ1นมากมายโดย
                                                        ั
          ้                            ่
        ผูใช้สามารถใช้บริ การโดยอยูทีไหนก็ได้ ซึ งไม่ตองเสี ยเวลาในการเดินทาง การบริ การบน
                                                              ้
        อินเทอร์ เน็ตมีท1 งเผยแพร่ ข่าวสาร ความรู ้ ซื1อข่ายสิ นค้า ธุ รกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ ช่วย
                          ั
        สอน และบริ การอืนๆ ซึ งการให้บริ การเหล่านี1ผใช้สามารถโต้ตอบได้
                                                           ู้
                                 องค์ ประกอบสํ าหรับการเชื อมต่ อเข้ าสู่ อนเตอร์ เน็ต
                                                                            ิ

        การต่อเข้ากับระบบอินเตอร์ เน็ต ต้องมีองค์ประกอบพื1นฐานดังต่อไปนี1
       1. เครื องคอมพิวเตอร์
       2. โมเด็ม (modem) เป็ นอุปกรณ์สาหรับแปลงสัญญาณอะนาลอกเป็ นดิจิตอล และแปลงสัญญาณ
                                      ํ
ดิจิตอลเป็ นอะนาล็อก
โมเด็มมี 2 ประเภทคือ
          - แบบติดตั1งภายใน (internal)
                                                                       ั
          - แบบติดตั1งภายนอก (external) ใช้เชือมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ กบสายโทรศัพท์
       3. คู่สายโทรศัพท์ 1 เลขหมาย
      4. ชือบัญชีผใช้อินเตอร์ เน็ต (account) จากองค์กรหรื อบริ ษทผูให้บริ การอินเตอร์ เน็ต (Internet
                  ู้                                            ั ้
Service Provider : ISP)
       5. ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการ ซอฟต์แวร์ สาหรับติดต่อกับเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต โปรแกรม
                            ั                ํ
บราวเซอร์ (Browser) และซอฟต์แวร์ อืนๆทีใช้ในการสื อสารผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต
      6. เครื องพิมพ์ (ในกรณี ทีต้องการพิมพ์ขอมูล)
                                             ้

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้นpeter dontoom
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตNattapon
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบkruumawan
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานครู อินดี้
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตSamart Phetdee
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)Krusine soyo
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
ทดสอบ 2
ทดสอบ 2ทดสอบ 2
ทดสอบ 2giggle036
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปguest0b1d15e4
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอรยา ม่วงมนตรี
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตsaranya40
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1Samorn Tara
 

What's hot (19)

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ตบทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
บทที่ 5 อินเทอร์เน็ต
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
เฉลยแบบทดสอบปลายภาค ม.5
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)อินเทอร์เน็ต (Internet)
อินเทอร์เน็ต (Internet)
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
ทดสอบ 2
ทดสอบ 2ทดสอบ 2
ทดสอบ 2
 
งานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิปงานนำเสนอดร.นิป
งานนำเสนอดร.นิป
 
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยที่  3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 

Viewers also liked

แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนMayuree Janpakwaen
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนMayuree Janpakwaen
 

Viewers also liked (18)

Lernning 13
Lernning 13Lernning 13
Lernning 13
 
Pretest
PretestPretest
Pretest
 
Lernning 11
Lernning 11Lernning 11
Lernning 11
 
Lernning 12
Lernning 12Lernning 12
Lernning 12
 
Lernning 10.2
Lernning 10.2Lernning 10.2
Lernning 10.2
 
Learnning03
Learnning03Learnning03
Learnning03
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Prostes
ProstesProstes
Prostes
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
Lernning 10.1
Lernning 10.1Lernning 10.1
Lernning 10.1
 
Lernning 15
Lernning 15Lernning 15
Lernning 15
 
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบหลังเรียนประจำหน่วย
 
Lernning 14
Lernning 14Lernning 14
Lernning 14
 
Learnning 04
Learnning 04Learnning 04
Learnning 04
 
Lernning 07
Lernning 07Lernning 07
Lernning 07
 
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วยแบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
แบบทดสอบก่อนเรียนประจำหน่วย
 
แบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียนแบบทดสบก่อนเรียน
แบบทดสบก่อนเรียน
 
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียนแบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
 

Similar to Lernning 09

อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าJenchoke Tachagomain
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02Jenchoke Tachagomain
 
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1pom_2555
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตKruPor Sirirat Namthai
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ตMeaw Sukee
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internetSamorn Tara
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPrapatsorn Keawnoun
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1Mevenwen Singollo
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บtanongsak
 

Similar to Lernning 09 (20)

อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 
Communication Concept
Communication ConceptCommunication Concept
Communication Concept
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
ประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internetประวัติความเป็นมาของ Internet
ประวัติความเป็นมาของ Internet
 
Introduction to On-line Documemt Lec02
Introduction to On-line Documemt  Lec02Introduction to On-line Documemt  Lec02
Introduction to On-line Documemt Lec02
 
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
เอกสารนวัตกรรมบทที่ 1
 
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ตการติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
การติดต่อสื่อสารทางอินเทอร์เน็ต
 
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
3.2 การใช้บริการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต
 
Lesson1 2 internet
Lesson1 2 internetLesson1 2 internet
Lesson1 2 internet
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet11.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับinternet1
 
้html
้html้html
้html
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
Unit1new
Unit1newUnit1new
Unit1new
 
Unit1new (1)
Unit1new (1)Unit1new (1)
Unit1new (1)
 

More from Mayuree Janpakwaen (13)

Job 15
Job 15Job 15
Job 15
 
Job 14
Job 14Job 14
Job 14
 
Job 13
Job 13Job 13
Job 13
 
Job 08
Job 08Job 08
Job 08
 
Lernning 08
Lernning 08Lernning 08
Lernning 08
 
Job 07
Job 07Job 07
Job 07
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 5
Job 5Job 5
Job 5
 
Job 4
Job 4Job 4
Job 4
 
Job 03
Job 03Job 03
Job 03
 
Job 12
Job 12Job 12
Job 12
 
Job 11
Job 11Job 11
Job 11
 
Job10.2
Job10.2Job10.2
Job10.2
 

Lernning 09

  • 1. ใบความรู้ ที 9 เรือง อินเตอร์ เน็ตคืออะไร อินเตอร์ เนต : คือ ระบบเน็ตเวิร์กขนาดใหญ่ ทีต่อเชื อมระบบต่างๆ ทัวโลก เข้าด้วยกัน ่ เปรี ยบเสมือนห้องสมุด สาธารณะชน ขนาดมหึ มา ทีใหญ่ทีสุ ด ในโลก ก็วาได้ ทีมีขอมูลต่างๆ ้ มากมาย และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้ไม่วาจะเป็ นการ ค้ นคว้ าวิจัย หรื อ เพือความ ่ บันเทิง เป็ นต้น อินเตอร์ เนต เป็ นคํา ทีหลายคนคุนหูและเป็ นทีรู ้จกกันดีในขณะนี1 นอกจากนั1นมัน ไม่ใช่ ้ ั เป็ นแค่ระบบ เน็ตเวิร์กขนาดใหญ่ธรรมดา เท่านั1น แต่มนเป็ น อภิมหาเน็ตเวิร์กโลก ( เน็ตเวิร์ก ทีเชือ ั ต่อกันหลายๆ เน็ตเวิร์ก จาก ทัวทุกมุมโลกเข้าไว้ดวยกัน ) ทีๆ เสมือนถนนทีจะพาผูทีเป็ นสมาชิก ้ ้ บน เน็ตเวิร์ก ไปได้ ทุกแห่งทุกหนบนโลก อินเตอร์ เนต กว่ าจะมาเป็ น อินเตอร์ เนต อินเตอร์ เนต มีการพัฒนาการมาจาก อาร์ พาเน็ต ( ARPAnet หรื อทีเรี ยกกัน สั1นๆว่า อาร์ พา ั ทีตั1งขึ1นในปี พ.ศ. 2512 เป็ นเครื อข่าย คอมพิวเตอร์ ของกระทรวงกลาโหม ทีใช้กนในงานวิจย ั ทางด้าน การทหาร ( ARPA : Advanced Research Project Agency ) จนกระทัง มาถึงในปี พ.ศ. 2515 หลังจากทีเครื อข่าย ทดลอง ของ อาร์ พา ประสบกับความสําเร็ จเป็ นอย่างมาก ก็ได้มีการ ปรับปรุ ง หน่วยงาน จาก อาร์ พา มาเป็ น ดาร์ พา ( Defence Comunication Agency ) และ ในปี พ.ศ. 2526 อาร์ พาเน็ต ก็ได้แบ่งออกเป็ น 2 เครื อข่ายด้วยกัน คือ เครื อข่ายด้านงานวิจย ใช้ชือ อาร์ พาเน็ต ั เหมือนเดิม ส่ วนเครื อข่ายของกองทัพใช้ มิลเน็ต ( MILNET : Military Network ) ซึ งมีการ เชือมต่อ โดยใช้ โพรโตคอล TCP / IP ( Transmission Control Protocol / Internet Protocol ) เป็ น ครัPงแรก ในปี พ.ศ. 2528 โดย มูลนิธิวทยาศาสตร์ แห่ งชาติ ของ อเมริ กา NSF ได้ให้เงิน ทุนใน ิ การสร้าง ศูนย์ซุปเปอร์ คอมพิวเตอร์ จํานวน 6 แห่ง และให้ใช้ชือว่า NSFNET แลพจนกระทังพอ มาถึงปี พ.ศ. 2533 อาร์ พาเน็ต รองรับ ภาระทีเป็ น กระดูกสันหลัง ( BackBone ) ของระบบ ไม่ ได้ จึงได้ยติ อาร์ พาเน็ต และเปลียนไปใช้ NSFNET และ เครื อข่ายอืนๆ แทน จนมาเป็ นเครื อข่ายขนาด ุ ่ มหึ มา จนกระทังถึงทุกวันนี1 และเรี ยก เครื อข่ายนี1วา อินเตอร์ เนต ( Internet ) โดย เครื อข่ายส่ วน ่ ใหญ่จะอยูในประเทศ สหรัฐอเมริกา และ ปั จจุบนนี1ได้มี เครื อข่ายย่อย มากถึง 25,000 เครื อข่ายเลย ั ทีเดียว สิ งทีจําเป็ นต้ องรู้ บนอินเตอร์ เนต ่ ทีอยูบนอินเตอร์ เนต หรื อ Internet Address จะประกอบด้วยชือของผูใช้ คอมพิวเตอร์ ( ้ User ) และ ชือของ อินเตอร์ เนต ( Internet Name ) โดยจะมีรูปแบบคือ .... ชื อผู้ใช้ @ชื อของอินเตอร์ เนต , yourname@domain.xxx
  • 2. ตัวอย่างเช่น tick@mail.ksc.net จะหมายถึงว่า ผูใช้ ใช้ชือ tick เป็ นสมาชิก ของศูนย์บริ การ หรื อ ้ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ชือ mail ทีมีชืออินเตอร์ เนตเป็ น ksc.net.th หรื อ thanop@thaiware.com หมายถึง ว่าผูใช้ ใช้ชือ thanop เป็ นสมาชิกของศูนย์คอมพิวเตอร์ ทีมีชือเป็ น thaiware.com หมายเลข ้ อินเตอร์ เนต หรื อ IP Address จะเป็ นรหัสประจําตัวของคอมพิวเตอร์ ทีต่อเข้ากับอินเตอร์ เนต โดย หมายเลขนี1จะมีรหัสไม่ซ1 ากัน ประกอบไปด้วยตัวเลขจํานวน 4 ชุ ด ด้วยกัน ทีคันด้วย เครื องหมายจุด ํ (.) ยกตัวอย่างเช่น 203.151.217.158 ครับ จะเป็ นหมายเลข IP Address ของเครื อง thaiware.com ชืออินเตอร์ เนต ( DNS : Domain Name Server ) จะเป็ นชือทีอ้างถึง คอมพิวเตอร์ ทีต่อเข้ากับ อินเตอร์ เนต เนืองจาก IP Address เป็ น ตัวเลข 4 ชุด ซึ งเป็ นทียากในการจําเป็ นอย่างมาก และ ไม่ได้ สะดวกต่อผูใช้ ซึ ง DNS นี1จะทําให้จดจําได้ง่ายยิงขึ1น เป็ น mail.ksc.net.th , comnet3@ksc.net.th ( ้ mail คือ ชือ คอมพิวเตอร์ , ksc คือชือ เครือข่ ายท้ องถิน , net คือ ซับโดเมน , th คือ ชื อโดเมน ) ความหมายของโดเมน สําหรับ ความหมายของโดเมน ในเครื อข่าย อินเตอร์ เนต ก็ได้จาแนกออกมาทั1งหมด 6 ประเภท ํ ด้วยกัน คือ : • .com - กลุ่มองค์การค้า ( Commercial ) • .edu - กลุ่มการการศึกษา ( Education ) • .mit - กลุ่มองค์การทหาร ( Military ) • .net - กลุ่มองค์การ บริ การเครื อข่าย ( Network Services ) • .org - กลุ่มองค์กรอืนๆ ( Organizations ) • .int - หน่วยงานทีตั1งขึ1นโดยสัญญาหรื อข้อตกลงระหว่างประเทศ ( International ) ถ้า สังเกตุดีๆ จะเห็นว่า ในประเทศ สหรัฐอเมริกา เท่านั1น ทีจะมี โดเมน เป็ นตัวอักษร 3 ตัว ใน กรณี ที ประเทศอืนๆ เช่น ประเทศไทย ของเรา จะเป็ นเพียงแค่ 2 ตัว เท่ านัPน !!! เช่น microsoft.com ของประเทศ สหัรฐอเมริ กา กับ ksc.net.th ของไทย นันเอง นอกจากนี1 ในบ้านเรามีการกําหนดชือ ่ ่ โดเมน ขึ1นมา ใหม่ !!! อีก ด้วย อย่างเช่น internet.th.com จะหมายถึงว่า เครื องทีชี1วา internet อยูใน ประเทศไทย ( th ) และ เป็ นบริ ษททางการค้า ( com ) ั
  • 3. โดเมน ทีเป็ นชื อย่ อของประเทศทีน่ าสนใจ CodeC Name ( Thai ) Name ( English ) .au ออสเตรเลีย Australia .fr ฝรังเศส France .hk ฮ่องกง Hong Kong .jp ญีปุ่ น Japan .th ไทย Thailand .sg สิ งค์โปร์ Singapore .uk สหราชอาณาจักร United Kingdom .no นอร์ เวย์ Norway ความหมายของ ซับโดเมน ในไทย Code Type ( Thai ) Type ( English ) .ac สถาบันการศึกษา Academic .co องค์กรธุ รกิจ Commercial .or องค์กรอืนๆ Organizations .net ผูวางระบบเน็ตเวิร์ก ้ Networking .go หน่อยงานของรัฐบาล Goverment .in หน่อยงานอิสระ Individual / Incorporation การประยุกต์ ใช้ งานอินเทอร์ เน็ต เมือ เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเชื อมโยงเครื อข่ายทัวโลกให้สามารถติดต่อถึงกันได้ หมดจน กลายเป็ นเครื อข่ายของโลก ดังนั1นจึงมีผใช้งานบนเครื อข่ายนี1จานวนมาก การใช้งานเหล่านี1เป็ นสิ งที ู้ ํ กําลังได้รับการกล่าวถึงกันทัวไป เพราะการเชื อมโยงเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตทําให้โลกไร้พรมแดน ข้อมูลข่าวสารต่างๆ สามารถสื อสารถึงกันได้อย่างรวดเร็ ว ตัวอย่างการใช้งานบนอินเทอร์ เน็ตทีจะ ั กล่าวต่อไปนี1เป็ นเพียงตัวอย่างที แพร่ หลายและให้กนมากเท่านั1น ยังมีการประยุกต์งานอืนทีได้รับ การพัฒนาขึ1นมาใหม่ตลอดเวลา
  • 4. 1) ไปรษณีย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (electronoc mail หรือ e-mail ) เป็ นการส่ งข้อความติดต่อกัน ์ ั ระหว่างบุคคลกับบุคคลก็ได้ หากเปรี ยบเทียบ ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์กบไปรษณี ยธรรมดาจะ ์ พบว่าโดยหลักการนั1นไม่แตกต่าง กันมากนัก ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์เปลียนบุรุษไปรษณี ยให้เป็ น ์ ์ โปรแกรม เปลียนรู ปแบบการจ่าหน้าซองจดหมายให้เป็ นการจ่าหน้าแบบอ้างอิงระบบ ่ อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ทีอยูของไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ (email address) การส่ ง ์ ไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์น1 นมีรูปแบบทีง่าย สะดวกและรวดเร็ วหากต้องการส่ ง ์ ั ่ ้ ข้อความถึงใครก็สามารถเขียนเอกสาร แล้วจ่าหน้าซองทีอยูขอผูรับ ระบบจะจําส่ ง ่ ทันทีอย่างรวดเร็ ว ลักษณะของอยูทีจะเป็ นขือรหัสให้และขือเครื องประกอบกัน เช่น sombat@ipst.ac.th การติดต่อบนอินเทอร์ เน็ตนี1 ระบบจะหาตําแหน่งให้เองโดยอัตโนมัติ และ ํ นําส่ งไปยังปลายางได้อย่างถูกต้อง การับส่ งไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์กาลังเป็ นทีนิยมกันอย่าง ์ ั ์ ั ่ แพร่ หลาย ปั จจุบนข้อมูลทีส่ งผ่านไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์น1 นเป็ นเป็ นข้อมูลแบบใดก็ ได้ทีอยูใน รู ปแบบของดิจิทล (digital) และสามารถใช้ภาษาอะไรก็ได้ ั รู ปที 7.3 ข้อความทีเป็ นภาษาญีปุ่ นทีส่ งผ่านไปรษณี ยอิเล็กทรอนิกส์ ์ 2) การโอนย้ ายแฟมข้ อมูลระหว่ างกัน (File Transfer Protocol : FTP) เป็ นระบบทีทําให้ ้ ่ ผูใช้สามารถรับส่ งแฟ้ มข้อมูลระหว่างกันหรื อ มีสถานีให้บริ การการเก็บแฟ้ มข้อมูลทีอยูในทีต่างๆ ้ และให้บริ การ ผูใช้สมารถเข้าไปคัดเลือกนําแฟ้ มข้อมูลมาใช้ประโยชน์ได้ เช่น โปรแกรม cuteFTP ้ โปรแกรม wsFTP เป็ นต้น
  • 5. รู ปที 7.4 โปรแกรม CuteFTP 3) การใช้ เครืองคอมพิวเตอร์ ในทีห่ างไกล (telnet) การเชื อมโยงคอมพิวเตอร์ เข้ากับ เครื อข่าย ทําให้เราสามารถติดต่อเครื องคอมพิวเตอร์ ทีเป็ นสถานีบริ การในทีห่างไกลได้ ถ้าสถานี ่ บริ การนั1นยินยอม ทําให้ผใช้สามารถนําข้อมูลไปประมวลผลยังเครื องคอมพิวเตอร์ ทีอยูในเครื อ ข่าย ู้ เช่น นักเรี ยนในประเทศไทยส่ งโปรแกรมไปประมวลผลทีเครื องคอมพิวเตอร์ ทีอยูใน บริ ษทใน ่ ั ประเทศญีปุ่ นผ่านทางระบบเครื อข่ายโดยไม่ตองเดินทางไปเอง ้ 4) การเรียกค้ นข้ อมูลข่ าวสาร (search engine) ปั จจุบนมีฐานข้อมูลข่าวสารทีเก็บไว้ให้ใช้ ั งานจํานวนมาก ฐานข้อมูลบางแห่งเก็บข้อมูลในรู ปส่ งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ทีผูใช้สมารถเรี ยก อ่าน ้ ่ หรื อนํามาพิมพ์ ฐานข้อมูลนี1 จึงมีลกษณะเหมือนเป็ นห้องสมุดขนาดใหญ่อยูภายในเครื อข่ายที ั สามารถค้นหาข้อมูลใดๆ ก็ได้ ฐานข้อมูลในลักษณะนี1เรี ยกว่า เวิลด์ไวด์เว็บ (Wold Wide Wed : WWW) ซึ งเป็ นฐานข้อมูลทีเชือมโยงกันทัวโลก 5) การอ่ านจากกลุ่มข่ าว (USENET) ภายในอินเทอร์ เน็ตมีกลุ่มข่าวเป็ นกลุ่มๆ แยกตาม ความสนใจ แต่ละกลุ่มข่าวอนุญาตให้ผใช้อินเทอร์ เน็ตส่ งข้อความไปได้ และหากผูใดต้องการเขียน ู้ ้ โต้ตอบก็สามารถเขียนได้ กลุ่มข่าวนี1จึงแพร่ หลายและกระจายข่าวได้รวดเร็ ว 6) การสนทนาบนเครือข่ าย (chat) เมือเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเชื อมต่อถึงกันได้ทวโลกผูใช้ ั ้ จึงสามารถใช้เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตเป็ นตัวกลางในการติดต่อสนทนากันได้ ในยุคแรกใช้วธีการ ิ สนทนากันด้วยตัวหนังสื อ เพือโต้ตอบกันแบบทีนทีทนใดบนจอภาพ ตอมามีผพฒนาให้ใช้เสี ยงได้ ั ู้ ั จนถึงปั จจุบน ถ้าระบบสื อสารข้อมูลมีความเร็ วพอ ก็สามารถสนทนาโดยทีเห็นหน้ากันและกันบน ั จอภาพได้
  • 6. รู ปที 7.5 โปรแกรมเพิร์ชใช้สาหลับสนทนาบนเครื อข่ายรู ปที ํ 7.6 โปรแกรม msn ใช้สาหรับสนทนาบนเครื อข่าย ํ 7) การบริการสถานีวิทยุและโทรทัศน์ บนเครือข่ าย เป็ นการ ประยุกต์เพือให้เห็นว่าเป็ นสิ งที เกิดขึ1นได้ ปั จจุบนมีผต1 งสถานีวทยุบนเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตหลายร้อยสถานี ผูใช้สามารถเลือก ั ู้ ั ิ ้ สถานีทีต้องการและได้ยนเสี ยงเหมือนการฟังวิทยุ ขณะเดียวกันก็มีการส่ งกระจายภาพวีดีทศน์บน ิ ั ่ เครื อข่ายด้วย แต่ปัญหายังอยูทีความเร็ วของเครื อข่ายทียังไม่สามารถรองรับการส่ งข้อมูล จํานวน มาก ทําให้คุณภาพของภาพวีดีทศน์ยงไม่ดีเท่าทีควร ั ั
  • 7. รู ปที 7.7 สถานีโทรทัศน์บนเครื อข่าย 8) การบริการบนอินเทอร์ เน็ต ปั จจุบนมีการให้บริ การบนอินเตอร์ เน็ตเกิด ขึ1นมากมายโดย ั ้ ่ ผูใช้สามารถใช้บริ การโดยอยูทีไหนก็ได้ ซึ งไม่ตองเสี ยเวลาในการเดินทาง การบริ การบน ้ อินเทอร์ เน็ตมีท1 งเผยแพร่ ข่าวสาร ความรู ้ ซื1อข่ายสิ นค้า ธุ รกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ ช่วย ั สอน และบริ การอืนๆ ซึ งการให้บริ การเหล่านี1ผใช้สามารถโต้ตอบได้ ู้ องค์ ประกอบสํ าหรับการเชื อมต่ อเข้ าสู่ อนเตอร์ เน็ต ิ การต่อเข้ากับระบบอินเตอร์ เน็ต ต้องมีองค์ประกอบพื1นฐานดังต่อไปนี1 1. เครื องคอมพิวเตอร์ 2. โมเด็ม (modem) เป็ นอุปกรณ์สาหรับแปลงสัญญาณอะนาลอกเป็ นดิจิตอล และแปลงสัญญาณ ํ ดิจิตอลเป็ นอะนาล็อก โมเด็มมี 2 ประเภทคือ - แบบติดตั1งภายใน (internal) ั - แบบติดตั1งภายนอก (external) ใช้เชือมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ กบสายโทรศัพท์ 3. คู่สายโทรศัพท์ 1 เลขหมาย 4. ชือบัญชีผใช้อินเตอร์ เน็ต (account) จากองค์กรหรื อบริ ษทผูให้บริ การอินเตอร์ เน็ต (Internet ู้ ั ้ Service Provider : ISP) 5. ซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบติการ ซอฟต์แวร์ สาหรับติดต่อกับเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต โปรแกรม ั ํ บราวเซอร์ (Browser) และซอฟต์แวร์ อืนๆทีใช้ในการสื อสารผ่านเครื อข่ายอินเตอร์ เน็ต 6. เครื องพิมพ์ (ในกรณี ทีต้องการพิมพ์ขอมูล) ้