SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาการ Bully
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว มนัสนันท์ ธนะสาร เลขที่ 34 (ใหม่) ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 1
นางสาว มนัสนันท์ ธนะสาร เลขที่ 34(ใหม่)
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาการบูลลี่
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Problem of Bully
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว มนัสนันท์ ธนะสาร
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนกันยายน – เดือนตุลาคม
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในสังคมปัจจุบันมีการกลั่นแกล้งกันมากมาย ไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม เกิดขึ้นได้ทุกที่ไม่ว่า
จะเป็นสถานศึกษา สถานที่ทางาน แม้แต่บนโลกออนไลน์ที่ทุกคนเข้าไปใช้งานกันทุกวัน และเหตุการณ์การบูลลี่ก็
เกิดทุกวันแม้ทุกคนจะมองว่าสิ่งแวดล้อมรอบตัวของตนจะไม่มีการกลั่นแกล้งกันแรงๆให้ได้เห็น แต่จริงๆแล้วทุก
คนอาจล้วนเคยบูลลี่บุคคลอื่นโดยที่ตัวเองไม่รู้ตัว จากการพูดกลั่นแกล้งกันในกลุ่มเพื่อน เช่น การหยอกล้อรูปร่าง
ของเพื่อนหรือปมด้อยของเพื่อน จนกลายเป็นเรื่องปกติของสังคมไทยไปแล้วหรือจากโซเชียลมีเดียที่ทชมีการ
วิจารณ์คนอื่นโดยที่บางครั้งเรายังไม่รู้ความจริงเกี่ยวกับเรี่องนั้น การทาทั้งหมดนี้อาจจะสร้างบาดแผลใหญ่ให้กับ
คนที่ถูกกลั่นแกล้งโดยที่เราไม่ทันรู้ตัว ฉันจึงต้องการทาโครงงานเรื่องนี้เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงปัญหาการกลั่น
แกล้ง รู้ถึงปัญหาและผลที่จะตามมาจากการกระทา เพื่อลดการถูกกลั่นแกล้งในสังคมไม่น้อยก็มาก
ปัจจุบันระดับความรุนแรงของพฤติกรรมการกลั่นแกล้งได้ทวีคูณมากขึ้นกว่าในอดีต จากข้อมูลกรม
สุขภาพจิตซึ่งเผยแพร่เมื่อต้น 2561 ระบุว่าเด็กนักเรียนโดนกลั่นแกล้งในโรงเรียนถึง 600,000 คน เมื่อคิดเป็น
อัตราส่วนแล้วเท่ากับประมาณ 40% ถือเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากประเทศญี่ปุ่น นอกจากระดับความ
รุนแรงที่เพิ่มขึ้นแล้ววิธีการกลั่นแกล้งก็เปลี่ยนไปจากในอดีตที่เคยใช้ เช่น การล้อเลียนชื่อพ่อแม่ การเรียกชื่อ
สมมติหรือปมด้อยของเพื่อน การไม่ให้เข้าร่วมกลุ่มเล่นหรือทากิจกรรม และการตบหัวหรือการชกต่อยเบาๆ
พฤติกรรมดังกล่าวเหล่านี้เป็นวิธีดั้งเดิมที่ใช้ในการกลั่นแกล้ง แต่สาหรับในปัจจุบัน สื่อ (Media) และเทคโนโลยี
(Technology) มีบทบาทสาคัญและเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการกลั่นแกล้งของคนในยุคปัจจุบัน สาหรับใน
ประเทศไทย พบว่า กลุ่มเยาวชนมากกว่าร้อยละ 50 มีพฤติกรรมกลั่นแกล้งผ่านโลกไซเบอร์และคุกคามผู้อื่นผ่าน
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ต้องการเผยแพร่ข้อมูลให้ทุกคนตระหนักถึงผลเสียของการบูลลี่
2.รณรงค์ให้ทุกคนไม่ทาการบูลลี่ผู้อื่น
3.แนวทางการป้องกันตัวของคนถูกบูลลี่
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การกลั่นแกล้งในสภานศึกษาม, สถานที่ทางาน, ในหมู่เพื่อน และโซเชียลมีเดีย
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การกลั่นแกล้ง (Bullying) หมายถึง พฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม โดยพฤติกรรมนั้นเป็นความ
ตั้งใจกระทาให้ผู้อื่นได้รับความทุกข์ความเจ็บปวด เพื่อให้ตนเองรู้สึกมีอานาจ หรือมีพลังเหนือกว่าผู้อื่น
อีกทั้งการกระทาดังกล่าวจะเกิดขึ้นซ้าๆ อย่างต่อเนื่องและมีระยะเวลายาวนาน
ปัจจุบันระดับความรุนแรงของพฤติกรรมการกลั่นแกล้งได้ทวีคูณมากขึ้นกว่าในอดีต จากข้อมูลกรม
สุขภาพจิตซึ่งเผยแพร่เมื่อต้น 2561 ระบุว่าเด็กนักเรียนโดนกลั่นแกล้งในโรงเรียนถึง 600,000 คน
เมื่อคิดเป็นอัตราส่วนแล้วเท่ากับประมาณ 40% ถือเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากประเทศญี่ปุ่น
นอกจากระดับความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นแล้ววิธีการกลั่นแกล้งก็เปลี่ยนไปจากในอดีตที่เคยใช้ เช่น การ
ล้อเลียนชื่อพ่อแม่ การเรียกชื่อสมมติหรือปมด้อยของเพื่อน การไม่ให้เข้าร่วมกลุ่มเล่นหรือทากิจกรรม
และการตบหัวหรือการชกต่อยเบาๆ พฤติกรรมดังกล่าวเหล่านี้เป็นวิธีดั้งเดิมที่ใช้ในการกลั่นแกล้ง แต่
สาหรับในปัจจุบัน สื่อ (Media) และเทคโนโลยี (Technology) มีบทบาทสาคัญและเกี่ยวข้องกับ
พฤติกรรมการกลั่นแกล้งของคนในยุคปัจจุบัน สาหรับในประเทศไทย พบว่า กลุ่มเยาวชนมากกว่าร้อยละ
50 มีพฤติกรรมกลั่นแกล้งผ่านโลกไซเบอร์และคุกคามผู้อื่นผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
สาเหตุ
มีสาเหตุหลายประการที่กระตุ้นให้บางคนลุกขึ้นมากลั่นแกล้งผู้อื่น ซึ่งวิธีที่ดีที่สุด คือ ไม่ตอบโต้โดยใช้
ความรุนแรงกลับไป ทาความเข้าใจผู้ที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น ด้วยการมองย้อนกลับไปถึงตัวตนของเขา ว่า
เขาต้องเคยเผชิญอะไรมาจึงกลายเป็นคนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น และนี่คือสาเหตุบางประการที่ทาให้เกิด
การกลั่นแกล้งกัน
เคยถูกแกล้งมาก่อน
คนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น หลายคนเคยถูกรังแกมาก่อน ไม่ว่าจากเพื่อนหรือจากครอบครัวก็ตาม และพวก
เขารู้สึกว่าต้องระบายความเกรี้ยวโกรธที่ตนเองได้รับออกไปให้ผู้อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากพวกเขา
เผชิญกับประสบการณ์ร้ายๆ ในวัยเด็ก เมื่อเขาเติบโตขึ้นเขาจะเป็นผู้ใหญ่ที่ติดนิสัยชอบระบายความโกรธ
กับผู้อื่น
แท้จริงแล้วรู้สึกโดดเดี่ยว
4
ความรู้สึกโดดเดี่ยวและไม่มีความสาคัญ อาจนาไปสู่การกลั่นแกล้งผู้อื่นได้ ทุกๆ คนต้องการความสนใจ
และหากไม่ได้รับความสนใจมากพอ การกลายเป็นคนพาล คือ ทางเลือกที่ได้ผล เพราะนอกจากจะได้รับ
ความสนใจแล้วยังช่วยให้พวกเขารู้สึกมีอานาจมากขึ้น
มีความพึงพอใจในตนเองต่า
หากใครสักคนรู้สึกว่าตนเองไม่ฉลาดพอ หน้าตาไม่ดีพอ หรือไม่ร่ารวยมากพอ คนๆ นั้นอาจมองหาวิธีการ
ให้ตนเองรู้สึกดีกว่าคนอื่น โดยการกดให้ผู้อื่นต่าลงกว่าตนเอง
ถือว่าตนเองสาคัญ
บางคนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น มักหยิ่งผยองในตนเอง และรู้สึกว่าสิ่งที่พวกเขาทาหรือสิ่งที่พวกเขาคิดนั้นดี
ที่สุด และการถือว่าตนเองสาคัญนี้จะแปรเปลี่ยนไปเป็นความโกรธเมื่อใครสักคนท้าทาย หรือพิสูจน์ให้
เห็นว่าเขาไม่ได้ถูกต้องไปเสียทุกอย่าง
เพราะคุณแตกต่าง
บางครั้งการกลั่นแกล้งก็มาจากเหตุผลง่ายๆ เพียงเพราะเหยื่อแตกต่างจากผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็น เชื้อชาติ
เพศ สีผิวหรือแม้แต่ความพิการ ความแตกต่างนี้จะถูกหยิบยกมาล้อเลียนจนนาไปสู่การปฏิบัติกับเหยื่อ
แบบที่ไม่เท่าเทียมกับคนอื่นๆ
พฤติกรรมชอบกลั่นแกล้งนั้นถูกสั่งสมจากสถานการณ์ทางลบที่เจ้าตัวเผชิญมาหลายปี ไม่ว่าจะเป็น
ครอบครัวที่ไม่ใส่ใจหรือการขาดปฏิสัมพันธ์ทางสังคม หนึ่งในวิธีสาคัญที่จะช่วยให้เขาหยุดพฤติกรรมชอบ
กลั่นแกล้งไม่ใช่ การลงโทษ แต่คือ “การพูดคุย” หากเราปฏิบัติกับคนนั้นเหมือนเป็นอันธพาล ก็มี
แนวโน้มที่เขาคนนั้นจะมีพฤติกรรมอันธพาลมากขึ้น ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องสาคัญที่ควรใช้ความอ่อนโยนใน
การสร้างความเข้าใจให้แก่พวกเขา พูดคุยให้พวกเขามองเห็นว่าพฤติกรรมดังกล่าวเป็นเรื่องที่ยอมรับ
ไม่ได้ในสังคม ตลอดจนให้โอกาสและให้เวลาพวกเขาในการปรับปรุงตัว การปฏิบัติต่อคนที่ก้าวร้าวด้วย
ความเคารพและเมตตาจะช่วยให้พฤติกรรมของเขาเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นได้
คนอ่อนแอและแตกต่างมักถูกกลั่นแกล้ง
จากรายงานการศึกษาสถานการณ์การกลั่นแกล้งกันในโรงเรียนไทย ที่เข้าร่วมโครงการป้องกันและลด
การใช้ความรุนแรง และการกลั่นแกล้งกันในสถานศึกษา ในพื้นที่กรุงเทพฯ ซึ่งจัดทาโดย มูลนิธิแพธทู
เฮลท์ ในปี 2557 ได้สรุปลักษณะของนักเรียนที่มักถูกกลั่นแกล้งเป็นประจาซ้าๆ ทุกวัน ไว้ว่า มักเป็นคน
ที่ “อ่อนแอและแตกต่างจากเพื่อน”ซึ่งสรุปลักษณะได้ดังนี้
1.นักเรียนพิเศษ เช่น สมาธิสั้น ดาวน์ซินโดรม อัจฉริยะแต่เข้าสังคมไม่ได้
2.นักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศ เช่น เกย์ กระเทย ทอม
5
3.นักเรียนที่อยู่โดดเดี่ยวมีเพื่อนน้อย
4.นักเรียนที่ไม่สู้คน เป็นได้ทั้งทางด้านร่างกาย เช่น นักเรียนที่ตัวเล็กกว่าคนอื่นๆ หรือด้านจิตใจ
เช่น เป็นคนมีความอดทนอดกลั้นหรือมีเมตตาสูง
5.นักเรียนที่มีปัญหาทางบ้าน มีความทุกข์สะสมในใจ เก็บตัว
6.นักเรียนที่มีลักษณะภายนอกโดดเด่นหรือต่างจากผู้อื่น เช่น ฟันเหยินผิวดา อ้วน เป็นต้น
ผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกลั่นแกล้ง
1.มีภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวล ส่งผลต่อความรู้สึกโดดเดี่ยว มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการนอน
หลับ การรับประทานอาหาร และการสูญเสียความสนใจในกิจกรรมที่พวกเขาเคยสนุก ภาวะซึมเศร้านี้
อาจส่งผลไปถึงวัยผู้ใหญ่
2.ปัญหาด้านสุขภาพ
3.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลงและมีแนวโน้มที่จะออกจากโรงเรียนกลางคันมากขึ้น
4.ผลกระทบต่อผู้ที่มักจะกลั่นแกล้งผู้อื่น
5.อาจจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่เสพติดแอลกอฮอล์หรือสารเสพติดอื่นๆ
6.มีพฤติกรรมลักขโมยและเรียนไม่จบ
7.มีพฤติกรรมทางเพศก่อนวัยอันควร
8.อาจจะเป็นอาชญากรในอนาคต
9.มีพฤติกรรมใช้ความรุนแรงกับคู่สมรสหรือลูก และคนใกล้ตัว
ทาอย่างไรเมื่อถูกกลั่นแกล้งรังแก
หากเราโดนกลั่นแกล้งรังแกไม่ว่าจะในรูปแบบใดก็ตาม สิ่งที่จะช่วยให้เราก้าวผ่านสถานการณ์แย่ๆ นั้นไป
ได้ คือ การไม่ตอบโต้โดยการใช้ความรุนแรง และต้องไม่ยอมที่จะให้เกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ซ้าอีก ด้วย
การหาวิธีจัดการกับปัญหาโดย…
6
ต้องบอกใครสักคนเกี่ยวกับปัญหานี้ เพราะเราไม่สามารถจัดการกับปัญหาได้โดยลาพัง เช่น พ่อแม่
ผู้ปกครอง คุณครู ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจ หรือเพื่อนสนิทหากบอกคนที่เราไว้ใจให้ช่วยแก้ปัญหานี้…แต่
ปัญหายังคงมีอยู่ อย่า! เก็บปัญหาไว้คนเดียว ควรบอกให้คนที่เราไว้ใจทราบว่าปัญหายังไม่คลี่คลาย หรือ
ปรึกษาองค์กรต่างๆ ที่รับฟังปัญหาด้านนี้โดยตรง ได้ที่ http://stopbullying.lovecarestation.com/
อย่าตอบโต้ด้วยกาลังเด็ดขาด เพราะจะยิ่งทาให้เกิดปัญหาและความรุนแรงมากขึ้น
บอกให้ “เขา” หยุดพฤติกรรมกลั่นแกล้งรังแก อาจจะเป็นการยากที่จะบอกให้เขาหยุดพฤติกรรม แต่
บางครั้งเขาอาจจะไม่รู้ว่าสิ่งที่เขาทานั้นส่งผลกระทบร้ายแรงเพียงใดกับเรา
เพิกเฉยหรือเดินหนี คนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่นมักจะพูดหรือทาสิ่งต่างๆ เพื่อกลั่นแกล้ง ยั่วยุ
เพราะพวกเขาต้องการให้เรามีปฏิกิริยาตอบโต้บางอย่าง หากเราไม่ใส่ใจกับสิ่งที่พวกเขาพูดหรือ
ทา พวกเขาอาจจะหยุดพฤติกรรมนั้น ไม่ต้องใส่ใจกับเสียงหัวเราะ ที่เขาแกล้งด่าว่าเรา เพราะ
การมีอารมณ์ตอบโต้เป็นอาวุธที่ดีสาหรับคนที่ชอบข่มขู่หรือรังแกผู้อื่นพวกเขามองว่าเป็นเรื่อง
สนุก ถ้าเราทาเฉยๆ เขาจะรู้สึกผิดหวัง หมดสนุกที่จะกลั่นแกล้งอีก
มีความมั่นใจในตัวเอง ความมั่นใจในตัวเองจะทาให้เรามีท่าทีแสดงถึงความมั่นใจในตัวเอง ซึ่งจะ
ทาให้มีโอกาสน้อยที่เราจะตกเป็นเหยื่อความรุนแรง
ไปไหนมาไหนกับกลุ่มเพื่อนๆ อย่าแยกเดินคนเดียว
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาหนดปัญหาที่สนใจ
2.รวบรวมข้อมูล
3.ลงมือแก้ไขปัญหา
4.แก้ไขงาน
5.นาเสนองาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเตอร์เน็ต
3.โทรศัพท์
งบประมาณ
ไม่มีงบประมาณ
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน มนัสนันท์
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล มนัสนันท์
3 จัดทาโครงร่างงาน มนัสนันท์
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน มนัสนันท์
5 ปรับปรุงทดสอบ มนัสนันท์
6 การทาเอกสารรายงาน มนัสนันท์
7 ประเมินผลงาน มนัสนันท์
8 นาเสนอโครงงาน มนัสนันท์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.ทุกคนตระหนักถึงผลเสียของการบูลลี่
2.เป็นประโยคต่อผู้ที่ได้รับข้อมูล
3.ทุกคนช่วยกันป้องกันการเกิดบูลลี่
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
มูลนิธิยุวพัฒน์(2562).”การกลั่นแกล้ง(bully)ความรุนแรงในสังคม”.[ออนไลน์].แหล่งที่มา
https://www.yuvabadhanafoundation.org (วันที่สืบค้น 15 กันยายน 2562)

More Related Content

Similar to 2562 final-project

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์wasavaros
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)ssuser37a5ed
 
Social anxiety disorder
Social anxiety disorderSocial anxiety disorder
Social anxiety disorderatipa49855
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16Tawanny Rawipon
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วdaranpornkotkaew
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project Beem HaHa
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Patchara Pussadee
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมeyecosmomo
 

Similar to 2562 final-project (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
Social anxiety disorder
Social anxiety disorderSocial anxiety disorder
Social anxiety disorder
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
Violence
ViolenceViolence
Violence
 
2562 final-project 12
2562 final-project 122562 final-project 12
2562 final-project 12
 
The Deep work
The Deep workThe Deep work
The Deep work
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 

2562 final-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาการ Bully ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว มนัสนันท์ ธนะสาร เลขที่ 34 (ใหม่) ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาว มนัสนันท์ ธนะสาร เลขที่ 34(ใหม่) คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาการบูลลี่ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Problem of Bully ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว มนัสนันท์ ธนะสาร ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนกันยายน – เดือนตุลาคม ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในสังคมปัจจุบันมีการกลั่นแกล้งกันมากมาย ไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม เกิดขึ้นได้ทุกที่ไม่ว่า จะเป็นสถานศึกษา สถานที่ทางาน แม้แต่บนโลกออนไลน์ที่ทุกคนเข้าไปใช้งานกันทุกวัน และเหตุการณ์การบูลลี่ก็ เกิดทุกวันแม้ทุกคนจะมองว่าสิ่งแวดล้อมรอบตัวของตนจะไม่มีการกลั่นแกล้งกันแรงๆให้ได้เห็น แต่จริงๆแล้วทุก คนอาจล้วนเคยบูลลี่บุคคลอื่นโดยที่ตัวเองไม่รู้ตัว จากการพูดกลั่นแกล้งกันในกลุ่มเพื่อน เช่น การหยอกล้อรูปร่าง ของเพื่อนหรือปมด้อยของเพื่อน จนกลายเป็นเรื่องปกติของสังคมไทยไปแล้วหรือจากโซเชียลมีเดียที่ทชมีการ วิจารณ์คนอื่นโดยที่บางครั้งเรายังไม่รู้ความจริงเกี่ยวกับเรี่องนั้น การทาทั้งหมดนี้อาจจะสร้างบาดแผลใหญ่ให้กับ คนที่ถูกกลั่นแกล้งโดยที่เราไม่ทันรู้ตัว ฉันจึงต้องการทาโครงงานเรื่องนี้เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงปัญหาการกลั่น แกล้ง รู้ถึงปัญหาและผลที่จะตามมาจากการกระทา เพื่อลดการถูกกลั่นแกล้งในสังคมไม่น้อยก็มาก ปัจจุบันระดับความรุนแรงของพฤติกรรมการกลั่นแกล้งได้ทวีคูณมากขึ้นกว่าในอดีต จากข้อมูลกรม สุขภาพจิตซึ่งเผยแพร่เมื่อต้น 2561 ระบุว่าเด็กนักเรียนโดนกลั่นแกล้งในโรงเรียนถึง 600,000 คน เมื่อคิดเป็น อัตราส่วนแล้วเท่ากับประมาณ 40% ถือเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากประเทศญี่ปุ่น นอกจากระดับความ รุนแรงที่เพิ่มขึ้นแล้ววิธีการกลั่นแกล้งก็เปลี่ยนไปจากในอดีตที่เคยใช้ เช่น การล้อเลียนชื่อพ่อแม่ การเรียกชื่อ สมมติหรือปมด้อยของเพื่อน การไม่ให้เข้าร่วมกลุ่มเล่นหรือทากิจกรรม และการตบหัวหรือการชกต่อยเบาๆ พฤติกรรมดังกล่าวเหล่านี้เป็นวิธีดั้งเดิมที่ใช้ในการกลั่นแกล้ง แต่สาหรับในปัจจุบัน สื่อ (Media) และเทคโนโลยี (Technology) มีบทบาทสาคัญและเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการกลั่นแกล้งของคนในยุคปัจจุบัน สาหรับใน ประเทศไทย พบว่า กลุ่มเยาวชนมากกว่าร้อยละ 50 มีพฤติกรรมกลั่นแกล้งผ่านโลกไซเบอร์และคุกคามผู้อื่นผ่าน สื่ออิเล็กทรอนิกส์
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ต้องการเผยแพร่ข้อมูลให้ทุกคนตระหนักถึงผลเสียของการบูลลี่ 2.รณรงค์ให้ทุกคนไม่ทาการบูลลี่ผู้อื่น 3.แนวทางการป้องกันตัวของคนถูกบูลลี่ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การกลั่นแกล้งในสภานศึกษาม, สถานที่ทางาน, ในหมู่เพื่อน และโซเชียลมีเดีย หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การกลั่นแกล้ง (Bullying) หมายถึง พฤติกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม โดยพฤติกรรมนั้นเป็นความ ตั้งใจกระทาให้ผู้อื่นได้รับความทุกข์ความเจ็บปวด เพื่อให้ตนเองรู้สึกมีอานาจ หรือมีพลังเหนือกว่าผู้อื่น อีกทั้งการกระทาดังกล่าวจะเกิดขึ้นซ้าๆ อย่างต่อเนื่องและมีระยะเวลายาวนาน ปัจจุบันระดับความรุนแรงของพฤติกรรมการกลั่นแกล้งได้ทวีคูณมากขึ้นกว่าในอดีต จากข้อมูลกรม สุขภาพจิตซึ่งเผยแพร่เมื่อต้น 2561 ระบุว่าเด็กนักเรียนโดนกลั่นแกล้งในโรงเรียนถึง 600,000 คน เมื่อคิดเป็นอัตราส่วนแล้วเท่ากับประมาณ 40% ถือเป็นอันดับ 2 ของโลก รองจากประเทศญี่ปุ่น นอกจากระดับความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นแล้ววิธีการกลั่นแกล้งก็เปลี่ยนไปจากในอดีตที่เคยใช้ เช่น การ ล้อเลียนชื่อพ่อแม่ การเรียกชื่อสมมติหรือปมด้อยของเพื่อน การไม่ให้เข้าร่วมกลุ่มเล่นหรือทากิจกรรม และการตบหัวหรือการชกต่อยเบาๆ พฤติกรรมดังกล่าวเหล่านี้เป็นวิธีดั้งเดิมที่ใช้ในการกลั่นแกล้ง แต่ สาหรับในปัจจุบัน สื่อ (Media) และเทคโนโลยี (Technology) มีบทบาทสาคัญและเกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมการกลั่นแกล้งของคนในยุคปัจจุบัน สาหรับในประเทศไทย พบว่า กลุ่มเยาวชนมากกว่าร้อยละ 50 มีพฤติกรรมกลั่นแกล้งผ่านโลกไซเบอร์และคุกคามผู้อื่นผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สาเหตุ มีสาเหตุหลายประการที่กระตุ้นให้บางคนลุกขึ้นมากลั่นแกล้งผู้อื่น ซึ่งวิธีที่ดีที่สุด คือ ไม่ตอบโต้โดยใช้ ความรุนแรงกลับไป ทาความเข้าใจผู้ที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น ด้วยการมองย้อนกลับไปถึงตัวตนของเขา ว่า เขาต้องเคยเผชิญอะไรมาจึงกลายเป็นคนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น และนี่คือสาเหตุบางประการที่ทาให้เกิด การกลั่นแกล้งกัน เคยถูกแกล้งมาก่อน คนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น หลายคนเคยถูกรังแกมาก่อน ไม่ว่าจากเพื่อนหรือจากครอบครัวก็ตาม และพวก เขารู้สึกว่าต้องระบายความเกรี้ยวโกรธที่ตนเองได้รับออกไปให้ผู้อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หากพวกเขา เผชิญกับประสบการณ์ร้ายๆ ในวัยเด็ก เมื่อเขาเติบโตขึ้นเขาจะเป็นผู้ใหญ่ที่ติดนิสัยชอบระบายความโกรธ กับผู้อื่น แท้จริงแล้วรู้สึกโดดเดี่ยว
  • 4. 4 ความรู้สึกโดดเดี่ยวและไม่มีความสาคัญ อาจนาไปสู่การกลั่นแกล้งผู้อื่นได้ ทุกๆ คนต้องการความสนใจ และหากไม่ได้รับความสนใจมากพอ การกลายเป็นคนพาล คือ ทางเลือกที่ได้ผล เพราะนอกจากจะได้รับ ความสนใจแล้วยังช่วยให้พวกเขารู้สึกมีอานาจมากขึ้น มีความพึงพอใจในตนเองต่า หากใครสักคนรู้สึกว่าตนเองไม่ฉลาดพอ หน้าตาไม่ดีพอ หรือไม่ร่ารวยมากพอ คนๆ นั้นอาจมองหาวิธีการ ให้ตนเองรู้สึกดีกว่าคนอื่น โดยการกดให้ผู้อื่นต่าลงกว่าตนเอง ถือว่าตนเองสาคัญ บางคนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่น มักหยิ่งผยองในตนเอง และรู้สึกว่าสิ่งที่พวกเขาทาหรือสิ่งที่พวกเขาคิดนั้นดี ที่สุด และการถือว่าตนเองสาคัญนี้จะแปรเปลี่ยนไปเป็นความโกรธเมื่อใครสักคนท้าทาย หรือพิสูจน์ให้ เห็นว่าเขาไม่ได้ถูกต้องไปเสียทุกอย่าง เพราะคุณแตกต่าง บางครั้งการกลั่นแกล้งก็มาจากเหตุผลง่ายๆ เพียงเพราะเหยื่อแตกต่างจากผู้อื่น ไม่ว่าจะเป็น เชื้อชาติ เพศ สีผิวหรือแม้แต่ความพิการ ความแตกต่างนี้จะถูกหยิบยกมาล้อเลียนจนนาไปสู่การปฏิบัติกับเหยื่อ แบบที่ไม่เท่าเทียมกับคนอื่นๆ พฤติกรรมชอบกลั่นแกล้งนั้นถูกสั่งสมจากสถานการณ์ทางลบที่เจ้าตัวเผชิญมาหลายปี ไม่ว่าจะเป็น ครอบครัวที่ไม่ใส่ใจหรือการขาดปฏิสัมพันธ์ทางสังคม หนึ่งในวิธีสาคัญที่จะช่วยให้เขาหยุดพฤติกรรมชอบ กลั่นแกล้งไม่ใช่ การลงโทษ แต่คือ “การพูดคุย” หากเราปฏิบัติกับคนนั้นเหมือนเป็นอันธพาล ก็มี แนวโน้มที่เขาคนนั้นจะมีพฤติกรรมอันธพาลมากขึ้น ฉะนั้นจึงเป็นเรื่องสาคัญที่ควรใช้ความอ่อนโยนใน การสร้างความเข้าใจให้แก่พวกเขา พูดคุยให้พวกเขามองเห็นว่าพฤติกรรมดังกล่าวเป็นเรื่องที่ยอมรับ ไม่ได้ในสังคม ตลอดจนให้โอกาสและให้เวลาพวกเขาในการปรับปรุงตัว การปฏิบัติต่อคนที่ก้าวร้าวด้วย ความเคารพและเมตตาจะช่วยให้พฤติกรรมของเขาเปลี่ยนไปในทางที่ดีขึ้นได้ คนอ่อนแอและแตกต่างมักถูกกลั่นแกล้ง จากรายงานการศึกษาสถานการณ์การกลั่นแกล้งกันในโรงเรียนไทย ที่เข้าร่วมโครงการป้องกันและลด การใช้ความรุนแรง และการกลั่นแกล้งกันในสถานศึกษา ในพื้นที่กรุงเทพฯ ซึ่งจัดทาโดย มูลนิธิแพธทู เฮลท์ ในปี 2557 ได้สรุปลักษณะของนักเรียนที่มักถูกกลั่นแกล้งเป็นประจาซ้าๆ ทุกวัน ไว้ว่า มักเป็นคน ที่ “อ่อนแอและแตกต่างจากเพื่อน”ซึ่งสรุปลักษณะได้ดังนี้ 1.นักเรียนพิเศษ เช่น สมาธิสั้น ดาวน์ซินโดรม อัจฉริยะแต่เข้าสังคมไม่ได้ 2.นักเรียนที่มีความหลากหลายทางเพศ เช่น เกย์ กระเทย ทอม
  • 5. 5 3.นักเรียนที่อยู่โดดเดี่ยวมีเพื่อนน้อย 4.นักเรียนที่ไม่สู้คน เป็นได้ทั้งทางด้านร่างกาย เช่น นักเรียนที่ตัวเล็กกว่าคนอื่นๆ หรือด้านจิตใจ เช่น เป็นคนมีความอดทนอดกลั้นหรือมีเมตตาสูง 5.นักเรียนที่มีปัญหาทางบ้าน มีความทุกข์สะสมในใจ เก็บตัว 6.นักเรียนที่มีลักษณะภายนอกโดดเด่นหรือต่างจากผู้อื่น เช่น ฟันเหยินผิวดา อ้วน เป็นต้น ผลกระทบต่อผู้ที่ถูกกลั่นแกล้ง 1.มีภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวล ส่งผลต่อความรู้สึกโดดเดี่ยว มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการนอน หลับ การรับประทานอาหาร และการสูญเสียความสนใจในกิจกรรมที่พวกเขาเคยสนุก ภาวะซึมเศร้านี้ อาจส่งผลไปถึงวัยผู้ใหญ่ 2.ปัญหาด้านสุขภาพ 3.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนลดลงและมีแนวโน้มที่จะออกจากโรงเรียนกลางคันมากขึ้น 4.ผลกระทบต่อผู้ที่มักจะกลั่นแกล้งผู้อื่น 5.อาจจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่เสพติดแอลกอฮอล์หรือสารเสพติดอื่นๆ 6.มีพฤติกรรมลักขโมยและเรียนไม่จบ 7.มีพฤติกรรมทางเพศก่อนวัยอันควร 8.อาจจะเป็นอาชญากรในอนาคต 9.มีพฤติกรรมใช้ความรุนแรงกับคู่สมรสหรือลูก และคนใกล้ตัว ทาอย่างไรเมื่อถูกกลั่นแกล้งรังแก หากเราโดนกลั่นแกล้งรังแกไม่ว่าจะในรูปแบบใดก็ตาม สิ่งที่จะช่วยให้เราก้าวผ่านสถานการณ์แย่ๆ นั้นไป ได้ คือ การไม่ตอบโต้โดยการใช้ความรุนแรง และต้องไม่ยอมที่จะให้เกิดเหตุการณ์ลักษณะนี้ซ้าอีก ด้วย การหาวิธีจัดการกับปัญหาโดย…
  • 6. 6 ต้องบอกใครสักคนเกี่ยวกับปัญหานี้ เพราะเราไม่สามารถจัดการกับปัญหาได้โดยลาพัง เช่น พ่อแม่ ผู้ปกครอง คุณครู ผู้ใหญ่ที่เราไว้วางใจ หรือเพื่อนสนิทหากบอกคนที่เราไว้ใจให้ช่วยแก้ปัญหานี้…แต่ ปัญหายังคงมีอยู่ อย่า! เก็บปัญหาไว้คนเดียว ควรบอกให้คนที่เราไว้ใจทราบว่าปัญหายังไม่คลี่คลาย หรือ ปรึกษาองค์กรต่างๆ ที่รับฟังปัญหาด้านนี้โดยตรง ได้ที่ http://stopbullying.lovecarestation.com/ อย่าตอบโต้ด้วยกาลังเด็ดขาด เพราะจะยิ่งทาให้เกิดปัญหาและความรุนแรงมากขึ้น บอกให้ “เขา” หยุดพฤติกรรมกลั่นแกล้งรังแก อาจจะเป็นการยากที่จะบอกให้เขาหยุดพฤติกรรม แต่ บางครั้งเขาอาจจะไม่รู้ว่าสิ่งที่เขาทานั้นส่งผลกระทบร้ายแรงเพียงใดกับเรา เพิกเฉยหรือเดินหนี คนที่ชอบกลั่นแกล้งผู้อื่นมักจะพูดหรือทาสิ่งต่างๆ เพื่อกลั่นแกล้ง ยั่วยุ เพราะพวกเขาต้องการให้เรามีปฏิกิริยาตอบโต้บางอย่าง หากเราไม่ใส่ใจกับสิ่งที่พวกเขาพูดหรือ ทา พวกเขาอาจจะหยุดพฤติกรรมนั้น ไม่ต้องใส่ใจกับเสียงหัวเราะ ที่เขาแกล้งด่าว่าเรา เพราะ การมีอารมณ์ตอบโต้เป็นอาวุธที่ดีสาหรับคนที่ชอบข่มขู่หรือรังแกผู้อื่นพวกเขามองว่าเป็นเรื่อง สนุก ถ้าเราทาเฉยๆ เขาจะรู้สึกผิดหวัง หมดสนุกที่จะกลั่นแกล้งอีก มีความมั่นใจในตัวเอง ความมั่นใจในตัวเองจะทาให้เรามีท่าทีแสดงถึงความมั่นใจในตัวเอง ซึ่งจะ ทาให้มีโอกาสน้อยที่เราจะตกเป็นเหยื่อความรุนแรง ไปไหนมาไหนกับกลุ่มเพื่อนๆ อย่าแยกเดินคนเดียว วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.กาหนดปัญหาที่สนใจ 2.รวบรวมข้อมูล 3.ลงมือแก้ไขปัญหา 4.แก้ไขงาน 5.นาเสนองาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเตอร์เน็ต 3.โทรศัพท์ งบประมาณ ไม่มีงบประมาณ
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน มนัสนันท์ 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล มนัสนันท์ 3 จัดทาโครงร่างงาน มนัสนันท์ 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน มนัสนันท์ 5 ปรับปรุงทดสอบ มนัสนันท์ 6 การทาเอกสารรายงาน มนัสนันท์ 7 ประเมินผลงาน มนัสนันท์ 8 นาเสนอโครงงาน มนัสนันท์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.ทุกคนตระหนักถึงผลเสียของการบูลลี่ 2.เป็นประโยคต่อผู้ที่ได้รับข้อมูล 3.ทุกคนช่วยกันป้องกันการเกิดบูลลี่ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จ.เชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) มูลนิธิยุวพัฒน์(2562).”การกลั่นแกล้ง(bully)ความรุนแรงในสังคม”.[ออนไลน์].แหล่งที่มา https://www.yuvabadhanafoundation.org (วันที่สืบค้น 15 กันยายน 2562)