SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕
กลุมสาระภาษาไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

กลุมงานวัดและประเมินผลการศึกษา
กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษา
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต ๓
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

วิเคราะหขอสอบ 0-net ปการศึกษา 2555 : กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓
จงใชขอมูลตอบคําถามที่กําหนดใหตอไปนี้ตอบคําถามขอ ๑-๕
นอกจากการไหวครูตามวาระดังกลาวแลว บรรดาชางและนักดนตรี หรือศิลปนมักจะไหวรําลึกคุณครู
เสมอ ๆ ประจําวัน คือ ชางจะไหวเครื่องมือรําลึกถึงคุณครูกอนเริ่มงาน นักดนตรีก็จะยกมือไหวเครื่องดนตรี
กอนการบรรเลงตามนัยเดียวกัน การแสดงพื้นบานและการแสดงอื่นอีกหลายประเภทลวนมีบทไหวครูกอนการ
แสดงจริง ดังนั้นอาจสรุปไดวา การไหวครูของไทยเปนการกระทําเพื่อสรางสิริมงคลแกผูกระทํา และเพื่อใหผู
นั้นมีสติมีสมาธิมั่นคงในการประกอบกิจการของตนใหสําเร็จลุลวงดวยดี
การไหวครูในระยะแรกอาจมุงหมายไหวครูเพื่อสอนหนังสือหรือสอนวิชาเพียงอยางเดียว ตอมาได
ขยายกวางออกไปเปนไหวบูชาพระรัตนตรัย ไหวระลึกคุณบิดามารดาและไหวครูผูประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู
ดังเชนที่ปรากฏในบทไหวครูตางๆ ในปจจุบัน
ในการศึกษานั้นชาวไทยจะไดรับคําสอนวา เมื่อไดเลาเรียนวิชามาและมีความรูเพิ่มเติมมากขึ้น อยาลบ
หลูครูบาอาจารย หรือคิดอานตอสูดวยสําคัญวาตนมีความรูมาก นอกจากนีครูและผูใหญสมัยกอนยังสอนเด็ก
้
ใหเคารพตออุปกรณเครื่องเขียน ไดแก กระดานชนวน และหนังสือ ใหจัดเก็บไวในสถานที่อันสมควร ไมกาว
ขามไปมาเมื่อเวลาจะใชหรือใชแลวตองกราบไหวทุกครั้ง
พิธีกรรมที่สําคัญเนื่องในการศึกษาเลาเรียนของไทย เปนคตินิยมที่ไมอาจละเลยได ทั้งในอดีตและ
ปจจุบัน คือ พิธีไหวครู พิธีไหวครูเปนเรื่องของการแสดงความเคารพตอผูมีพระคุณดวยความกตัญูรูคุณ และ
เปนเครื่องบํารุงกําลังใจใหมีสติเกิดความเชื่อมั่นในการดําเนินกิจกรรมที่ครูประสิทธิ์ประสาทให ตลอดจนเปน
การสรางสิริมงคลใหบังเกิดแกผูประกอบพิธี การไหวครูมีหลายวาระ ไดแก
ไหวเมื่อเริ่มเรียน ในการศึกษาตามระบบเดิม เมื่อผูปกครองนําเด็กมาฝากใหเรียนกับครูผูใด ก็มักจะ
เลือกพาไปในวันฤกษดี หรือนิยมพาไปวันพฤหัสบดีซึ่งถือวาเปนวันครู จะประกอบกิจใดก็สําเร็จ และจัดพานใส
ดอกไม ธูปเทียน ใหเด็กกราบครูเปนการบูชาครูกอนเริ่มเรียน
ไหวขณะเรียน หมายถึง การกราบไหวประจําวันและพิธีไหวครูที่จัดขึ้นเพื่อสักการะรําลึกถึง
พระคุณครู จัดเปนพิธีใหญประจําป ปละครั้ง พิธีไหวครูประจําปนี้หากเปนการศึกษาเกี่ยวกับชาง หรือ
นาฏศิลปดนตรี ก็จะมีพิธีครอบครูสําหรับผูฝกใหมดวย
ไหวเมื่อประกอบการงานเสร็จแลวพิธีไหวครูซึ่งจัดขึ้นในชวงนี้ สวนใหญจะเปนเรื่องของ ผูมีอาชีพ
เกี่ยวกับการชางและนาฏศิลปดนตรี นิยมจัดเปนพิธีใหญประจําป หรือจัดขึ้นในโอกาสที่เห็นวาเหมาะสม
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑. ขอความที่คดมาใหอานขางตนมีจุดประสงคใด
ั
๑. ตองการใหรายละเอียดเกี่ยวกับพิธีไหวครู
๒. ตองการบอกความสําคัญของพิธีไหวครู
๓. ตองการเชิญชวนใหระลึกถึงพระคุณครู
๔. ตองการจําแนกรูปแบบของการไหวครู

เฉลย
ขอ ๒
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๕๖.๓๙
๕๖.๖๙

สพป.ขก ๓

๔๙.๙๙
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒. ขอความขางตนใชโวหารชนิดใด
๑. บรรยายโวหาร
๒. พรรณนาโวหาร
๓. สาธกโวหาร
๔. อุปมาโวหาร

เฉลย
ขอ ๑
บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใชบอกกลาว เลาเรื่อง อธิบา บรรยายเรื่องราวตาง ๆ อยางละเอียด
กลาวถึงเหตุการณที่ตอเนื่องกัน ชี้ใหเห็นสถานที่เกิด เหตุการณ สภาพแวดลอม
พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่กลาวถึง เรื่องราว สถานที่ สิ่งของ อารมณอยางละเอียด สอดแทรก
อารมณ ความรูสึกเพื่อโนมนาวใจ ผูรับสารเกิดภาพพจน เกิดอารมณคลอยตาม
สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุงใหเกิดความชัดเจน โดยการยกตัวอยางหรือเรื่องราวประกอบ
อุปมาโวหาร คือ โวหารที่กลาวเปรียบเทียบ เพื่อใหผูรับสารเขาใจความหมาย อารมณความรูสึก หรือ
เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๕
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๗๔.๓๐

สพฐ.

๗๔.๓๐

สพป.ขก ๓

๔๙.๖๗
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓. บุคคลใดตอไปนี้ “ไหวครู” ตามบริบทที่ขอความขางตนระบุไว
๑. ไทยคม ไปเจอครูสอนวิชาคณิตศาสตรที่ตลาดจึงยกมือไหว
๒. ปารุสก ยกมือไหวครูที่ประตูโรงเรียนทุกครั้งกอนเขาโรงเรียน
๓. ภัทรพล นําเพื่อน ๆ ยกมือไหวครูตามหนาที่ของหัวหนาชั้นเรียน
๔. อวกาศ นําดอกไมธูปเทียนไปไหวครูเพื่อขออโหสิกรรมกอนบวช

เฉลย
ขอ ๔
เพราะ เปนการไหวครูจากการระลึกถึงพระคุณของคุณครู ไมใชบังคับหรือทําตามหนาที่
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๑
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๑๓.๖๑

สพฐ.

๑๓.๕๐

สพป.ขก ๓

๑๒.๔๑
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔. คําวา “พิธีครอบครู” ในยอหนาที่ ๓ มีความสําคัญอยางไร
๑. เพื่อใหผูเขารวมพิธีรําลึกถึงพระคุณของครู
๒. เพื่อสรางความศักดิ์สิทธิ์ใหกับวิชาความรู
๓. เพื่อแสดงตนวาเปนศิษยตอครูผูใหความรู
๔. เพื่อยกระดับวิชาความรูใหเปนความรูชั้นสูง

เฉลย
ขอ ๓
พิธีครอบครู หมายถึง การนําศีรษะครูมาครอบ (รับเปนศิษย) และครูจะคอยควบคุมรักษา คอย
ชวยเหลือใหศิษยมีความจําในกระบวนการรํา จังหวะดนตรี หากมีสิ่งไมงามเกิดขึ้นกับศิษย ครูจะคอยปดเปาให
พนจากศิษย (พิธีครอบครู นิยมใชกับวิชาการชาง และนาฏศิลป ดนตรี )
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๑/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๓๗.๗๙

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๓๗.๗๔
๒๕.๘๐
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๕. จากขอมูลขางตนขอความใดตอไปนี้กลาวสรุปไดถูกตอง
๑. จุดประสงคสําคัญของการไหวครูคือการเนนใหเห็นความสําคัญของเทพเจาและ สิ่ง
ศักดิ์สิทธิ์
๒. พิธีไหวครูจัดขึ้นเพื่อไมใหผูเรียนหลงระเริงในวิชาความรู และอวดอางความรูของตน
๓. อุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ ไมถือวาเปนอุปกรณเครื่องเขียนจึงไมจําเปนตองใหความ
เคารพ
๔. ความเชื่อวาเมื่อเดินขามหนังสือแลวไหวหนังสือเปนความเชื่อที่ งมงายไมทันสมัย ไม
ควรทําตาม
เฉลย
ขอ ๒
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ

ระดับ

มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน

ประเทศ

๖๓.๖๕

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๕๘.๕๒
๔๔.๕๘

ตัวชี้วัด : ม ๓/๓
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

รอยละนักเรียนตอบถูก
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

จงใชเนื้อเพลงที่กําหนดใหตอไปนี้ตอบคําถามขอ ๖-๑๐
ฉันเฝาถามความสุขอยูที่ไหน ชายที่เขาเดินผานฉันเขามา บอกกับฉันขอรมสักคัน
แตวาที่มือเขาก็มีหนึ่งคัน ก็แปลกใจ ทามกลางหยดฝนโปรยปราย
เขาก็ถามฉันวาอยากสุขไหม ลองหุบรมในมือสักพักหนึ่งและเงยหนามองวันเวลา
มองหยดน้ําที่มันกระทบตา ยังเปยกอยูใชไหม หรือไมมีฝน
ยิ้มฉันยิ้มมากกวาทุกครั้ง สุขที่ฉันตามหามาแสนนานอยูตรงนี้ แคเพียงเขาใจ อยาไป
ยึดถือมันและกอดไว ก็แครมเทานั้น บนทองฟาไมมีอะไรแนนอนถามองจากตรงนี้ เดี๋ยวก็
มืดแลวก็สวาง อาจจะมีฝนกอเปนพายุ หรือลมลอยปลิวอยูแคนั้น สุขที่เคยเดินทางตามหา
มานานไมไดไกลที่ไหน อยูแคนี้เอง
ฉันเห็นเธอถือรมผานมาเต็มไปดวยรองรอย และครบน้ําตา ฉันไดเห็นแลวมันปวดใจ
ไมใชเพียงแคเธอที่ทุกขฉันก็เปนเหมือนเธอ เธอไดยินไหมอยากขอใหเธอลองโยนรมที่ถือเอา
ไวหนัก โยนมันออกไป
บนทองฟาไมมีอะไรแนนอนถามองจากตรงนี้ เดี๋ยวก็มืดแลวก็สวาง อาจจะมีฝนกอเปน
พายุหรือลม หรือลมลอยปลิวอยูแคนั้น สุขที่เคยเดินทางตามหามานานไมไดไกลที่ไหน อยาไปยึด
อยาไปถือ อยาไปเอามากอดไว ก็จะไมเสียใจ ตลอดชีวิต ตองผานการเปลี่ยนแปลง ไมวาใคร
จะทุกข จะสุขแคไหน ก็อยูที่จะมอง
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๖. ขอใดคือจุดมุงหมายสําคัญของบทเพลงนี้
๑. เพื่อใหผูฟงตระหนักถึงสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปอยางไมอาจคาดหมายได
๒. เพื่อใหผูฟงลองสัมผัสกับสายฝนเพื่อใหไดรับความสดชื่นที่ไดจากธรรมชาติ
๓. เพื่อใหผูฟงไดเปรียบเทียบเหตุการณที่ผูเขียนเคยประสบกับสิ่งที่ผูฟงเคยประสบ
๔. เพื่อใหผูฟงไดมองเห็นคุณคาของบางสิ่งที่หลายครั้งมองขามไปเพราะความเคยชิน
เฉลย
ขอ ๓
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน

ประเทศ

๖๕.๗๔

ตัวชี้วัด : ม ๓/๙
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

สพฐ.

๖๕.๘๔

สพป.ขก ๓

๕๑.๕๖
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๗. เพลงขางตนมีความโดดเดนดานใดมากที่สุด
๑. การใชเหตุการณคูขนานในการเปรียบเทียบ
๒. การใชภาษาที่กอใหเกิดจินตภาพ
๓. การใชคําที่เขาใจงายไมตองตีความ
๔. การลําดับเนื้อหาการนําเสนอ
เฉลย
ขอ ๑
เปรียบเทียบจากเหตุการณที่เคยประสบของผูเขียนและผูฟง
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๓
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๓๗.๗๘

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๓๘.๐๐
๓๔.๐๐
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๘. ประโยคใดอาจกลาวไดวาเปนใจความสําคัญของเพลงขางตน
๑. สุขที่ฉันตามหามาแสนนานอยูตรงนี้ แคเพียงเขาใจอยาไปยึดถือมัน
๒. บนทองฟาไมมีอะไรแนนอนถามองจากตรงนี้ เดี๋ยวก็มืด เดี๋ยวก็สวาง
๓. เธอไดยินไหมอยากขอใหเธอลองโยนรมที่ถือเอาไวหนักโยนมันออกไป
๔. อยาไปยึด อยาไปถือ อยาไปเอามากอดไว ก็จะไมเสียใจตลอดชีวิต
เฉลย
ขอ ๑
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๘
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๒๔.๐๔
๒๔.๐๖

สพป.ขก ๓

๒๖.๘๔
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

ขอสอบ
๙. บุคคลใดตอไปนี้นําเอาความคิดที่ไดจากเพลงไปใชใหเกิดประโยชนแกตนเองมากที่สุด
๑. ประชา ไมใสใจคําดุดาของเจานายที่มีตอการกระทําที่ผิดพลาดของตัวเอง

๒. ประวิทย มอบรมที่ถืออยูใหกับหญิงมีครรภที่กําลังเดินตากฝนอยู
๓. ประพันธ เลือกซื้อรมที่มีน้ําหนักเบาเพื่อความสะดวกในการเดินทาง
๔. ประยงค เลิกเสียใจกับเงินที่ทําหายไปเพราะคิดวาเปนการฟาดเคราะห
เฉลย
ขอ ๔
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๓.๑

ระดับ
ประเทศ

๕๐.๓๕

สาระ : การฟง การดู และการพูด
ตัวชี้วัด : ม ๓/๒

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๕๐.๕๑
๓๓.๕๕

รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

รอยละนักเรียนตอบถูก
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๐. บทเพลงขางตนนําเสนอดวยน้ําเสียงอยางไร
๑. สิ้นหวังหมดกําลังใจ
๒. เปยมหวังมีกําลังใจ
๓. หมดหวังแตมีกําลังใจ
๔. มุงหวังสรางกําลังใจ
เฉลย
ขอ ๔
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๓/๑
สาระ : การฟง การดู และการพูด
ตัวชี้วัด : ม ๓/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๕๗.๙๙
๕๘.๑๖

สพป.ขก ๓

๕๓.๕๕
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

จงใชกวีนิพนธตอไปนี้ตอบคําถาม ขอ ๑๑-๑๓
“แตไรไร ไมเคยเห็นเชนนี้

กวางประเสริฐเลิศดีทุกสิ่งสรรพ

ไดมาจะไดชมรื่นรมยครัน
แมไดเปนเลี้ยงเลนที่กลางปา

แมมิไดจะศัลยกรรแสงครวญ
เมื่อกลับสูพาราจะไวสวน

ถึงอยางไรไดหนังที่นิ่มนวล
ถาแมวาทรงศักดิ์ยังรักนอง

มาปูนั่งก็จะชวนภิรมยใจ
จงโปรดตามกวางทอง ธ นองใคร

แมมิไดกวางทองทีตองใจ
่

ขอทูลลาภูวนัยกลั้นใจตาย”

๑๑. ขอใดแบงวรรคตอนในการอานคําประพันธไมถูกตอง
๑. แมไดเปน / เลี้ยงเลน / ที่กลางปา
๒. ถึงอยางไร / ไดหนัง / ที่นิ่มนวล

เมื่อกลับสู / พารา / จะไวสวน
มาปูนั่ง / ก็จะชวน / ภิรมยใจ

๓. ถาแมวา / ทรงศักดิ์ / ยังรักนอง
๔. แมมิได / กวางทอง / ที่ตองใจ

จงโปรดตาม / กวางทอง ธ / นองใคร
ขอทูลลา / ภูวนัย / กลั้นใจตาย

เฉลย
ขอ ๓
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชีวัด : ม ๓/๑
้
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๗๐.๓๔

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๗๐.๗๔
๕๑.๘๗
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๒. กวีนิพนธขางตนมุงแสดงความรูสึกอยางไร
๑. เสียดายอาลัยอาวรณที่ไมไดของที่รัก
๒. อยากไดใครมีในสิ่งของที่ไมใชของตน
๓. ระทดใจที่ไมสามารถทําในสิ่งที่ตนตองการ
๔. สูญเสียกําลังใจเพราะไมไดของที่อยากได
เฉลย
ขอ ๔
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๑
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ
ประเทศ
สพฐ.
สพป.ขก ๓

รอยละนักเรียนตอบถูก
๒๒.๕๖
๒๒.๗๔
๒๘.๗๖
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๓. ขอใดตอไปนี้มีกลวิธีในการใชศิลปะภาษาคลายกับ
“ไดมาจะไดชมรื่นรมยครัน แมมิไดจะโศกศัลยกรรแสงครวญ”
๑. ถาแมนพี่เปนนกจะผกผิน
จะโบยบินไปรักกนิษฐา
๒. นี่ตัวพี่เปนมนุษยสุดปญญา จะไปมาสารพัดขัดกันดาร
๓. ทําอยางไรขวัญใจจะไดรู
พี่คิดอยูถึงนุชสุดสงสาร
๔. เชิญพระพายพัดพาเอาอาการ ใหขาวสารทรามชมวาตรมอุรา

เฉลย
ขอ ๔
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๒/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ
ประเทศ
สพฐ.
สพป.ขก ๓

รอยละนักเรียนตอบถูก
๒๖.๖๖
๒๖.๔๓
๒๕.๔๙
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๔. ธ ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๔ เปนพวกอักษรต่ํา และใชเปนตัวสะกดใน แมกด ในคํา
ที่มา จากภาษาบาลี และสันสกฤตเปนตน เชน สุเมธ มคธ
ธ ๒ [ทะ] (กลอน) ส. ทาน. เธอ . เชน ธ ประสงคใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย , เปน
สรรพนามบุรุษที่ ๓
ขอใดสรุปขอความที่มาจากพจนานุกรมขางตนไดถูกตอง
๑. คําวา “ธ” ในภาษาไทยอานไดสองแบบคือ ทะ และ ทอ
๒.คําวา “ธ”

เปนคําที่รับมาจากภาษาบาลีใชในการสะกดคํา

๓. คําวา “ธ” เมื่อใชในคําประพันธจะใชเปนคําสรรพนาม
๔. คําวา “ธ” ในภาษาไทยมีความหมาย ๒ ความหมาย

เฉลย
ขอ ๑
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๓/๑
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๑๓.๐๘
๑๙.๕๒

สพป.ขก ๓

๑๕.๖๒
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๕. เหตุผลขอใดสําคัญที่สุดทําใหตองมีการอางอิงขอมูลจากการสืบคนจากอินเตอรเน็ต
๑. ขอมูลในอินเตอรเน็ตมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาจึงตองระบุวันที่เขาถึงขอมูล
๒. ของมูลทางอินเตอรเน็ตบางแหลงมีความนาเชื่อถือนอยจึงตองระบุที่มาของขอมูล
๓. ขอมูลที่ไดจากอินเตอรเน็ตมีลิขสิทธิ์จึงตองอางอิงเพื่อไมใหเปนการละเมิด
๔. ขอมูลจากอินเตอรเน็ตเปนภาษาปากจึงตองเขียนอางอิงเพื่อใหดูเปนวิชาการ
เฉลย
ขอ ๑
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๑/๓
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๓๑.๖๒

สพฐ.

๓๑.๗๐

สพป.ขก ๓

๒๙.๘๕
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๖. คําที่ขีดเสนใตในขอใดมีลักษณะการสรางคําเหมือนกัน
๑. เมื่อถึงจุดแตกหัก ทุกคนตางแยกยายกันไปเหมือนผึ้งแตกรัง
๒. หากเราสมัครสมานสามัคคีกันโดยสมัครใจ งานใดใดยอมสําเร็จไดดวยดี
๓. ประเทศชาติเจริญ ถาเรายอมรับฟงความคิดเห็นทีแตกตาง แตไมคิด แตกแยกกัน
่
๔. การทํางานใหกาวหนานั้น แตละคนจะตองตั้งใจทําหนาที่ของตน และไม กาวกาย

งานของคนอื่น
เฉลย
ขอ ๒
ขอ ๑. คําประสม แตกหัก = แตก (กริยา) + หัก (กริยา) , แตกรัง = แตก (กริยา) + รัง (นาม)
ขอ ๒ สมัครสมาน (กริยา) หมายถึง เชื่อมสามัคคี , สมัครใจ (กริยา) หมายถึง เต็มใจ
ขอ ๓ คําประสม แตกตาง = แตก (กริยา) + ตาง (สรรพนาม) , แตกแยก = แตก (กริยา) + แยก (กริยา)
ขอ ๔ คําประสม กาวหนา = กาว (กริยา) + หนา (นาม) , กาวกาย = กาว (กริยา) + กาย (กริยา)
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ

รอยละนักเรียนตอบถูก

มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน

ประเทศ

ตัวชี้วัด : ม ๑/๔
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

สพฐ.
สพป.ขก ๓

เฉลี่ย ๓ ฉบับ
๔๔.๙๓
๒๖.๔๐
๓๔.๐๒
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๗. คําที่ขีดเสนใตในขอใด ไมสามารถใชไมยมกแทนได
๑. ลางลิงหูลิงลิง
หลอกขู
๒. หอนตัดสินหวนหวน
เหตุดวยเบาความ
๓. คอกควายวัวรัวเกราะเปาะเปาะเพียง รูวาเสียงเกราะแววแผวแผวเอย
๔. เราตองซื้อหลากหลากและมากมายตองใชทรัพยสุรุยสุรายเปนกายกอง
เฉลย
ขอ ๑
คําวา ลิง ไมใชคําซ้ํา ไมสามารถใชไมยมกแทนได
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษา
ตัวชี้วัด : ม ๑/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๓๓.๔๐
๓๓.๖๑

สพป.ขก ๓

๒๙.๔๗
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๘. ขอใดอธิบายการสรางคําวา “ราชดําเนิน” ไดถูกตอง
๑. ไมเปนคําสมาส เพราะคําวา “ดําเนิน” เปนคําในภาษาเขมร
๒. เปนคําสมาส เพราะแปลความหมายจากคําหลังไปคําหนา
๓. ไมเปนคําสมาส เพราะคําวา “ดําเนิน” แผลงมาจากคําวา “เดิน”
๔. เปนคําสมาส เพราะเกิดจากการประสมกันของคําที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต
เฉลย
ขอ ๑
คําสมาส คือ การนําคําที่มาจากภาษาบาลี –สันสกฤต รวมกับคํา บาลี –สันสกฤต แลวเกิด
ความหมายใหม
คําวา ราชดําเนิน มาจาก คําวา ราชา + ดําเนิน
ราชา
มาจาก ภาษาบาลี –สันสกฤต
ดําเนิน

มาจาก ภาษาเขมร

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษา
ตัวชี้วัด : ม ๒/๔
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๑๕.๒๐
๑๔.๙๘

สพป.ขก ๓

๑๓.๑๔
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๑๙. ประโยคในขอใดสื่อความไดตรงกับขอความ “... เสด็จใหมาทูลถามเสด็จวาจะเสด็จ
หรือไมเสด็จ ถาเสด็จจะเสด็จ เสด็จจะเสด็จดวย...” มากที่สุด
๑. พอใหมาถามแมวาแมจะไปหรือไมไป ถาแมไมไปพอจะไปแทน
๒. เขาฝากฉันมาถามวาเธอจะไปหรือไมไป ถาเธอไปเขาจะไดไมตองไป
๓. ปาใหมาถามปูวาปูจะไปกับยาหรือเปลา ถาปูไมไปจะไดชวนคนอื่นไป
๔. นองใหมาถามเธอวาเธอจะไปหรือไมไป ถาเธอไปนองจะตามไปดวย

เฉลย
ขอ ๔
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ

ระดับ

มาตรฐาน : ท ๒/๑
สาระ : การเขียน

ประเทศ

๗๖.๒๗

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๗๖.๕๐
๖๒.๕๘

ตัวชี้วัด : ม ๒/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

รอยละนักเรียนตอบถูก
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๐. ขอใดเปนประโยคตางชนิดกัน
๑. เด็กนักเรียนกําลังเลนกีฬากับครู / ครูกําลังเลนกีฬากับเด็กนักเรียน
๒. กระเปาที่อยูตรงนั้น ฉันทําหายเมื่อวาน / ฉันทํากระเปาที่อยูตรงนั้น
หายเมื่อวาน
๓. พี่กับนองไปเที่ยวสวนสนุกตอนปดเทอม / ตอนปดเทอมพี่ไปเที่ยวสวนสนุกกับนอง
๔. โตขึ้นเธออยากเปนครูหรืออยากเปนหมอ / โตขึ้นเธออยากเปนหมอหรืออยากเปนครู
เฉลย
ขอ ๒
ขอ ๑ ประโยคความเดียว / ประโยคความเดียว
ขอ ๒ ประโยคความรวม / ประโยคความซอน
ขอ ๓ ประโยคความรวม / ประโยคความรวม
ขอ ๔ ประโยคความรวม / ประโยคความรวม
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๒/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ
ประเทศ
สพฐ.
สพป.ขก ๓

รอยละนักเรียนตอบถูก
๒๔.๙๙
๒๔.๙๗
๒๖.๗๙
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๑. “แมดูเหมือนเปนเงาที่ไมมีตัวตน แตฉันก็มีหัวใจ” ขอใดอธิบายประโยคขางตนไดถูกตอง
๑. เปนประโยคความเดียวซับซอนที่ภาคประธาน
๒. เปนประโยคความรวมที่มีประโยคยอยเปนความซอน
๓. เปนประโยคความซอนที่มีประโยคยอยเปนความรวม
๔. เปนประโยคความซอนที่มีประโยคยอยเปนความซอน
เฉลย
ขอ ๒
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษา
ตัวชี้วัด : ม ๓/๕
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๓๑.๐๘

สพฐ.

๓๑.๐๒

สพป.ขก ๓

๒๑.๖๓
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๒. บุคคลใดตอไปนี้ไมปฏิบัติตามมารยาทในการพูด
ก. กมลเนตร

จะพูดแนะนําตัวดวยประวัติสั้น ๆ และรางวัลทั้งหมดที่เธอไดรับใหผูฟง
ทราบเสมอ

ข. กมลพร

มักจะทําเสียงกระแอมเบา ๆ เพื่อขออนุญาตพูดแทรกเรื่องที่ตนไมเห็นดวย

ค. กมลกานต จะไมพูดถึงปญหาที่ทําใหผูฟงไมสบายใจ และชวนคุยเรื่องอื่นแทน
ง. กมลวรรณ

จะพูดไปขําไปตลอดการสนทนาเพื่อแสดงความเปนกันเองกับผูฟง

๑.

ก ข และ ค

๒.

ก ข และ ง

๓.

ข ค และ ง

๔.

ก ข ค และ ง

เฉลย
ขอ ๒
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดู และการพูด
ตัวชี้วัด : , ๒/๖ , ม ๓/๖
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๔๑.๗๓

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๔๑.๒๗
๒๙.๘๘
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๓. หากนักเรียนตองการขอความรวมมือจากเพื่อนรวมชั้นเรียนเพื่อทํา กิจกรรม ขอใดเปนคําพูดโนมนาว
ใจที่เหมาะสมที่สุด
๑. นอกจากจะใหประสบการณที่ดีแกพวกเราแลว การทํากิจกรรมยังชวยกันพัฒนาโรงเรียนเรา
ดวย
๒. การทํากิจกรรมครั้งนี้เปนการสรางชื่อเสียงใหแกโรงเรียนรักดีวิทยา ใครไมทํายอมยอมไมใชลูก
รักดีวิทยา
๓. กิจกรรมตาง ๆ ยอมใหประโยชนแกโรงเรียนและสถาบัน ถาเราไมชวยกันก็นับวาเสียชาติเกิด
๔. กิจกรรมของโรงเรียนเราจะประสบความสําเร็จไดดวยการที่ทุกคนตองไมทําตัวเปนกาฝาก
เฉลย
ขอ ๑
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดู และการพูด
ตัวชี้วัด : ม ๓/๕
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๗๗.๕๙

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๗๗.๘๖
๖๗.๕๘
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๔. ขอใดเปนคําราชาศัพทที่ถูกตองที่ใชกับภาพเขียนเหมือนพระองคจริงของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและลายมือของพระองค

๑. พระสาทิสลักษณ
๒. พระฉายาลักษณ

ลายพระราชหัตถ
ลายพระราชหัตถ

๓. พระบรมฉายาลักษณ
พระราชหัตถเลขา
๔. พระบรมสาทิสลักษณ พระราชหัตถเลขา
เฉลย
ขอ ๔
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๒/๔
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๒๓.๑๙

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๒๓.๓๐
๑๙.๙๐
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๕. หากนักเรียนตองทํารายงานเชิงวิชาการ เรื่อง “สํานวนไทยที่มาจากวรรณคดี” หัวขอใด
ตอไปนี้ไมจําเปนตองมีในรายงาน
ก) ความสําคัญของวรรณคดี
ข) ความสําคัญและที่มาของสํานวนไทย
ค) ประวัติผูแตงวรรณคดีที่เปนที่มาของสํานวนไทย
ง) เหตุการณหรือตัวละครในวรรณคดีที่เปนที่มาของสํานวนไทย
จ) ความหมายและบริบทในการใชสํานวนไทยที่มาจากวรรณคดี
๑. ก และ ข
๒. ข และ ง
๓. ก และ ค
๔. ข และ ค
เฉลย
ขอ ๓
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๒.๑
สาระ : การเขียน
ตัวชี้วัด : ม ๑/๘ , ม ๒/๕ , ม ๓/๙
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ
ประเทศ
สพฐ.
สพป.ขก ๓

รอยละนักเรียนตอบถูก
๓๗.๖๐
๓๗.๗๙
๒๙.๐๗
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๖. หากทุกคนเดินทางไกลจนเหนื่อยลาแตยังไมถึงจุดหมาย ขอใดใชภาษาเจรจาตอรองเพื่อใหได
หยุดพัก ไดดีที่สุด
๑. พักกอนเถอะ ฉันเหนื่อยมากแลว เดินตอไปตอนนี้คงจะยังไมไหวขอรองละนะ
๒. ใครจะไปก็ไป แตฉันจะพักกอนแลวคอยตามไปทีหลัง ไปชาไปเร็วก็ถึงเหมือนกัน
๓. ทุกคนหยุดกอนเถอะ เพื่อนหลายคนเหนื่อยมากแลว เราตองเห็นใจคนอื่นบาง
๔. เราควรพักดื่มน้ํากันกอน หากเราเดินตอจะไมเปนผลดีตอสุขภาพของทุกคนแน
เฉลย
ขอ ๔
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๒.๑

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

สาระ : การเขียน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๕

ประเทศ
สพฐ.

๕๔.๐๑
๕๔.๓๔

รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

สพป.ขก ๓

๕๐.๓๐
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๗. ขอใดแสดงใหเห็นธรรมชาติของภาษาวา ภาษามีการเปลี่ยนแปลง
ความหมาย
๑. “ไฟฟา” ในคํากลอน “ตาแดงดั่งแสงไฟฟา” หมายถึง “สายฟา” ไมใชไฟฟาที่เราใช
๒. คนไทยในสมัยกอนใชคําวา “ดงขาว” ในความหมายเดียวกับ “หุงขาว” ในสมัยปจจุบัน
๓. การพูดวา “ยังไง” เปนการพูดตามความนิยม เราควรพูดวา “อยางไร” จึงจะถูกตอง
๔. กอนหนาที่จะมีโทรทัศนในประเทศไทย เราไมเคยใชคําวา “โทรทัศน” เรียกชื่อสิ่งของ
เฉลย
ขอ ๑
ไฟฟาในอดีต

หมายถึง สายฟา

ไฟฟาในปจจุบัน หมายถึง กระแสไฟฟา ที่เกิดจากการไหลเวียนของอิเล็กตรอน
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๓/๓
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๒๗.๑๐

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๒๗.๑๓
๑๕.๙๗
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๘. ขอใดเปนคําที่เกิดจากการกรอนเสียงทุกคํา
๑. สะพาน
๒. มะพราว

สะใภ
ตะกรา

ประทวง
มะตูม

๓. สะดือ
๔. ฉะนั้น

สะโพก
ประเดี๋ยว

ตะขาบ
กระโจน

เฉลย
ขอ ๒ การกรอนเสียง คือ การหมดไป สิ้นไปทีละนอย หรือใหสั้นลง
๑. สะพาน = ตะพาน(แผลงคํา) ,สะใภ = สาวใภ , ประทวง = ทวง (แทรกคําหนา)
๒. มะพราว =หมากพราว , ตะกรา =กะตา (แผลงคํา) , มะตูม = หมากตูม
๓. สะดือ =สายดือ , สะโพก =ตะโพก (แผลงคํา) , ตะขาบ = ตัวขาบ
๔. ฉะนั้น =ฉันนั้น , ประเดี๋ยว = เดี๋ยว (แทรกคําหนา) , กระโจน =โจน (แทรกคําหนา)
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๑/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ
ประเทศ
สพฐ.
สพป.ขก ๓

รอยละนักเรียนตอบถูก
๒๓.๖๕
๒๓.๓๖
๒๓.๙๐
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๒๙. ขอใดไมมีคําภาษาตางประเทศ
๑. ชายขาวเปลือกหญิงขาวสารโบราณวา น้ําพึ่งเรือเสือพึ่งปาอัชฌาสัย
๒. อยานอนเปลาเอากระจกยกออกมา สองดูหนาเสียทีหนึ่งแลวจึงนอน
๓. เห็นเต็มตาแลวอยาอยากทําปากบอน ตรองเสียกอนจึงคอยทํากรรมทั้งมวล
๔. สิบดีก็ไมถึงกับกึ่งพาล

เปนชายชาญอยาเพอคาดประมาทชาย

เฉลย
ขอ ๒
คําภาษาตางประเทศ
ขอ ๑ โบราณ อัชฌาสัย
ขอ ๓ กรรม
ขอ ๔ พาล ชาญ
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ

ระดับ

มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย

ประเทศ

๓๗.๘๐

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๓๗.๘๔
๔๐.๔๑

ตัวชี้วัด : ม ๓/๑
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

รอยละนักเรียนตอบถูก
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๐. ขอใดแสดงใหเห็นวา คําบาลี –สันสกฤต ที่เปนคําเดียวกัน
อาจใชตางรูปและตางความหมายกันในภาษาไทย
๑. บุษบา
๒. มัจฉา

บุปผา
มัสยา

๓. ทิฐิ
๔. สัจ

ทฤษฎี
สัตย

เฉลย
ขอ ๔
สัจ

หมายถึง

ความจริง

สัตย

หมายถึง

ความซื่อสัตย

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๒/๕
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๒๘.๗๒
๒๙.๐๕

สพป.ขก ๓

๒๑.๔๒
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๑. ขอใดใชคําทับศัพทโดยไมจําเปน
๑. ประธานาธิบดีบารัค โอบามา จากประเทศอเมริกาจะมาเยือนประเทศไทยเร็วๆ นี้
๒. ปการศึกษานี้โรงเรียนของเราจะประกาศรับนักเรียนโควตานักกีฬาจํานวน ๒ คน
๓. เด็ก ๆ ไมควรใชปากกาเลเซอรยิงแสงเขาตาเพื่อน เพราะอาจทําใหตาเสียได
๔. นักเรียนทุกคนควรทําขอสอบวิชาภาษาไทยใหไดคะแนนมากกวา ๗๐ เปอรเซ็นต
เฉลย
ขอ ๔
นักเรียนทุกคนควรทําขอสอบวิชาภาษาไทยใหไดคะแนนมากกวา ๗๐
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๓/๔
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๒๔.๔๔
๒๔.๒๘

สพป.ขก ๓

๒๐.๖๕
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๒. ขอใดเปนการใชภาษาระดับเดียวกันทั้งประโยค และเหมาะสมกับระดับบุคคล
๑. ใจบุญ พูดกับครูวา “ผมไมทราบวาครูไมอยู จึงเขามาสงการบานโดยไมไดขอ
อนุญาต”
๒. ใจงาม พูดกับครูวา “หนูไมรูหนูไมไดยินที่ครูบอก ขอประทานโทษดวยคะ”
๓. ใจดี พูดกับครูวา “ทราบแลวคะ เดี๋ยวหนูรีบทําใหดวนจี๋เลยนะจะครู”
๔. ใจกลา พูดกับครูวา “ผมลืมทําการบาน เพราะมัวแตทํางานอดิเรกครับ”

เฉลย
ขอ ๔
ขอ ๑ ภาษาทางการ
ขอ ๒ ภาษาทางการ

ไมทราบ ภาษาปาก
ไมอยู
ขอประทานโทษ ภาษาปาก
ไมรู

ขอ ๓ ภาษาทางการ

ทราบแลวคะ

ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๓/๓
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ภาษาปาก
ระดับ

ดวนจี๋
รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๕๔.๑๑
๓๗.๓๓

สพป.ขก ๓

๔๑.๑๕
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๓. จากตัวอยางการใชขอความในที่ประชุมที่กําหนดใหตอไปนี้ ขอใด
กลาวสรุปไมถูกตอง
ก) ผมเห็นดวยกับที่ทานเสนอครับ
ข) ขอใหฟงประธานพูดใหจบกอนนะครับ
ค) กรุณาดูรายงานการประชุมในหนาหนึ่งครับ
ง) ขอบคุณครับที่เสนอความเห็นที่เปนประโยชนอยางยิ่ง
๑. ผูเขาประชุมควรใชถอยคําสุภาพ
๒. เพื่อลดการขัดแยงควรใชภาษาระดับกันเอง
๓. ควรใชภาษาที่สรางบรรยากาศเปนมิตรในการประชุม
๔. ควรใชคําที่แสดงถึงการใหเกียรติซึ่งกันและกัน เมื่อจะพูด
ในที่ประชุม

เฉลย
ขอ ๒
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๓/๑
สาระ : การฟง การดู และการพูด
ตัวชี้วัด : ม ๓/๖
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๔๐.๙๔

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๔๑.๐๗
๓๓.๗๗
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๔. หากครูตองการใหนักเรียนสืบคนขอมูล เรื่อง “วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
(วัดโพธิ)์ : คลังความรูในแผนดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว” ไมควรใชคําสําคัญใดใน
การสืบคนขอมูล
๑. วัดโพธิ์
๒. คลังความรู
๓. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม
๔. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
เฉลย
ขอ ๒
เพราะวาคําวา คลังความรู ไมสามารถบอกไดวาเปนความรูในเรื่องอะไร
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๕
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๔๒.๐๓

สพฐ.

๔๒.๐๔

สพป.ขก ๓

๓๑.๘๖
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๕. ใครเปนผูที่ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความรูไดดี และถูกตองที่สุด
๑. วันดี คัดลอกเนื้อหาจากอินเตอรเน็ตมาสงครู แตไดเขียนบรรณนานุกรมไวในตอนทาย
อยางละเอียด
๒. ปรีดา คัดลอกเนื้อหาจากแหลงขอมูลจากหลายๆ แหลงบนอินเตอรเน็ตมาเรียงตอกัน
แลวสงครูโดยไมเปลี่ยนขอความ
๓. ตาหวาน นําเนื้อหาจากอินเตอรเน็ตมาเขียนเรียบเรียงใหมกอนจะตีพิมพเผยแพรเปน
ผลงานของตนเอง
๔. สานฝน นําขอมูลจากอินเตอรเน็ต และหนังสือมาเรียบเรียงใหมโดยแทรกความคิดตน
พรอมอางอิงแหลงขอมูล
เฉลย
ขอ ๔
เนื่องจากขอมูลจากอินเตอรเน็ตมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไมถือวาเปนขอมูลทาง
วิชาการเราจึงจําเปนตองมีการอางอิงแหลงขอมูล และคนควาเนื้อหาจากหนังสือเรียนเพิ่มเติม
เพื่อใหขอมูลนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๑/๘
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๕๙.๖๖
๖๐.๐๐

สพป.ขก ๓

๔๙.๕๖
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๖. ขอใดเปนคําขวัญสงเสริมการอนุรักษวัฒนธรรมไทยที่เหมาะสมที่สุด
๑. รูรักวัฒนธรรมไทย ความภูมิใจไทยทุกคน
๒. สืบสานวัฒนธรรม ตระหนักย้ําความเปนไทยรักษาไวใหแผนดิน
๓. วัฒนธรรมงามตา คงคุณคาความเปนไทยประทับใจนิจนิรันดร
๔. สืบสานความเปนไทย ภูมิใจความเปนชาติเกียรติประกาศวัฒนธรรมไทย
เฉลย
ขอ ๒
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย
ตัวชี้วัด : ม ๑/๔
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๓๘.๐๐
๓๘.๑๖

สพป.ขก ๓

๓๔.๒๒
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๗. ขอใดตอไปนี้ใชสํานวนเพื่อกลาวเทิดพระคุณครูไดเหมาะสมที่สุด
๑. เพราะครูมีพระคุณตอศิษย ศิษยจึงรักครู ศิษยและครู จึงเหมือนน้ําพึ่งเรือเสือพึ่งปา
๒. เพราะครูอดทนสอนพวกเราอยูเสมอ แมตองปากเปยกปากแฉะแตครูก็ไมยอทอ
๓. ครูนั้นรักศิษยดังแกวตาดวงใจ ครูจึงเสียสละทั้งแรงกายแรงใจสั่งสอนศิษย
๔. ครูเปนคนเรียบรอยเหมือนน้ํานิ่งไหลลึก แตครูมักจะใหความรักความหวงใยตอศิษย
เฉลย
ขอ ๓
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๒๐.๖๕

ตัวชี้วัด : ม ๒/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๒๐.๕๐
๑๗.๗๙
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๘. “สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยะกาเจา มีพระนามเดิมคือ พระเจาลูกเธอ
พระองคเจาสวางวัฒนาเปนพระธิดาในพระบาทสมเด็จพระเจาเกลาเจาอยูหัว กับสมเด็จพระปยมาวดี ศรีพัชรินทร
มาตา ทรงมีพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๐๕ ทรงเจริญพระชนมชีพในพระบรมมหาราชวัง
ทรงไดรับการอบรมกลอมเกลาในขนบราชประเพณีแหงราชวงศ ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชนสุข
ของปวงชนทั้งดานการศึกษา วิทยาศาสตรสุขภาพและการอนุรักษพัฒนาวัฒนธรรม”
จากขอความขางตน ควรจัดใหอยูในสวนใดของเรียงความ เรื่อง
“ราชนารีแหงราชวงศจักรี”
๑. คํานํา
๒. เนื้อเรื่อง
๓. สรุป
๔. คํานําหรือสรุป
เฉลย
ขอ ๒
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๒/๕
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ
ประเทศ
สพฐ.
สพป.ขก ๓

รอยละนักเรียนตอบถูก
๔๖.๕๑
๔๖.๙๕
๔๖.๐๕
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๓๙. ขอใดเปนการเขียนแสดงความคิดเห็นที่เหมาะสม
๑. กระทรวงศึกษาธิการควรยกเลิกระเบียบการแตงกายชุดนักเรียน แลวใหนักเรียนสามารถใส
เสื้อผาไปโรงเรียนไดอยางอิสระ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมสูการเปนประชาคมอาเซียน
๒. ภาวะโลกรอน อาจไมใชสิ่งที่นากลัวอีกตอไป หากมนุษยทุกคนปรับพฤติกรรมที่จะอยูรวมกับ
ธรรมชาติไดอยางพอเพียง พรอมกับชวยกันดูแลอนุรักษสิ่งแวดลอมและใชทรัพยากรอยางรูคุณคามากที่สุด
๓. อาหารไทยเปนอาหารที่มีรสจัด ทําใหชาวตะวันตกหลายประเทศไมนิยมรับประทานอาหาร
ไทย ดังนั้น นโยบายการนําครัวไทยสูครัวโลก จึงเปนเพียงความฝนที่ไมมีวันเปนความจริง
๔. การพัฒนาประเทศในยุคปจจุบัน ควรสงเสริมใหประชาชนสามารถใชภาษาอังกฤษในการ
สื่อสารมากขึ้น โดยถือเปนวาระแหงชาติที่จะกําหนดใหภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการแทนภาษาไทย
เฉลย
ขอ ๒
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๑/๖ , ม ๒ / ๕
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ
สพฐ.

๖๓.๔๐
๖๓.๗๙

สพป.ขก ๓

๕๖.๖๙
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๐. ขอใดไมควรเปนหัวขอในโครงรางการทํารายงานวิชาการเรื่อง “วัยรุนกับสังคม
ออนไลน”
๑. ความหมาย ลักษณะและประเภทของสังคมออนไลน
๒. วัยรุนกับการใชสังคมออนไลนอยางมีวิจารณญาณ
๓. การพัฒนาวิชาชีพดานสังคมออนไลนสูความเปนสากล
๔. ปญหาการใชสังคมออนไลนของวัยรุนไทยในปจจุบัน
เฉลย
ขอ ๓
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๒.๑
สาระ : การเขียน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๙
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๔๔.๘๘

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๔๕.๑๔
๓๘.๘๓
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๑. “ภาษาไทย เปนภาษาในตระกูลคําโดด.............เปนภาษาเรียงคําที่มีวิวัฒนาการมานานกวา
พันป คนไทยใชภาษาไทยเปนเครื่องมือดํารงชีวิตและ.........ทั้งการพูด การอาน การฟงและการเขียน
กอใหเกิดความคิดเชิงสรางสรรคและสอใหเห็น..............และลักษณะนิสัยของคนไทยที่ตางจากชนชาติอื่น
ดังกลาวที่วา “สําเนียงบอกภาษา กิริยาสอสกุล” ” ควรนําคําในขอใดไปเติมในชองวางตามลําดับ แลวทํา
ใหขอความนี้มีใจความสมบูรณ
๑. และการสื่อสาร

บุคลิกภาพ

๒. แต
การสื่อสาร
สารัตถภาพ
๓. และการทํางาน
สารัตถภาพ
๔. แต
การทํางาน
บุคลิกภาพ
เฉลย
ขอ ๑
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ

ระดับ

มาตรฐาน : ท ๔.๑
สาระ : หลักการใชภาษาไทย

ประเทศ

๗๑.๑๐

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๗๑.๔๓
๖๒.๕๐

ตัวชี้วัด : ม ๑/๓
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

รอยละนักเรียนตอบถูก
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๒. “นักเขียนที่ดีตองมีมารยาทในการเขียน กอนเริ่มงานเขียนนักเขียนควรเลือกหัวขอเรื่องที่
ตนเองมีความรูมากที่สุด และมีความตั้งใจที่จะรวบรวมความคิดเขียนงานที่สรางสรรคไมทําใหผูอื่นเสียหาย
หรือเดือดรอน” จากสถานการณนี้ แสดงวา นักเขียนกําลังใชกระบวนการเขียนในขอใด
๑. การยกรางขอเขียน
๒. การเตรียมการเขียน
๓. การปรับปรุงขอเขียน
๔. การบรรณาธิการกิจ
เฉลย
ขอ ๑
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ

รอยละนักเรียนตอบถูก

มาตรฐาน : ท ๒.๑

เฉลี่ย ๓ ฉบับ

สาระ : การเขียน

ประเทศ

๕๓.๓๓

ตัวชี้วัด : ม ๓/๒

สพฐ.

๕๓.๒๐

รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

สพป.ขก ๓

๔๘.๑๕
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๓. หลังจากการฟงบรรยายเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” บุคคลใดตอไปนี้เปนผูฟงที่มีวิจารณญาณมาก
ที่สุด
๑. เอก นําทรัพยสมบัติบริจาคใหแกมูลนิธิการกุศล โดยเหลือทรัพยสินเพียงเล็กนอยไวใชใน
ชีวิตประจําวันเพื่อแสดงใหสังคมรูวาตนเองมีความพอเพียง
๒. อน ความพอเพียงเปนเรื่องไกลตัว เพราะครอบครัวเขามีฐานะดีจึงไมจําเปนตองสนใจ
เกษตรกรที่ยากไรเทานั้นที่ควรตระหนักถึงความพอเพียง
๓. อาม นําขอความที่สรุปไดจากการฟงบรรยาย มาจัดทําเปนรายงานวิชาการสงอาจารยเพื่อ
แสดงวาตนเองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงมากขึน
้
๔. แอน กลับไปคุยกับครอบครัวเพื่อรวมกันวางแผนการปรับใชชีวิตใหรูจักประหยัด อดออม
ใชจายอยางรูคุณคาและพอเพียงตามรายรับที่ครอบครัวพึงมี
เฉลย
ขอ ๔
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดูและการพูด
ตัวชี้วัด : ม ๓/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๗๕.๓๕

สพฐ.

๗๕.๙๐

สพป.ขก ๓

๖๓.๖๙
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๔. การพูดในขอใดเปนการพูดที่เกิดสัมฤทธิผลไดดีที่สุด
๑. เนื่องในวันปใหม นักเรียนทุกคน ขอใหอาจารยมีความสุขสมหวังสมปรารถนานะครับ
๒. วันครูปนี้ พวกเราทุกคนกลับมาหาครู เพราะพวกเราระลึกถึงพระคุณของครูเสมอครับ
๓. คุณพอครับ วันเกิดปนี้ คุณพอโตเร็วขึ้นอีกปแลวนะครับคงรักลูกคนนี้มากขึ้นนะครับ
๔. วันเกิดผมแลว แมตองซื้อรถใหนะ ใหผมเกิดมาทั้งที แมก็ตองใหของขวัญดวยนะครับ
เฉลย
ขอ ๒
ขอ ๑ การอวยพรพอ แม ครูอาจารย หรือคนที่มีอายุมากกวาตองอางคุณพระศรีรัตนตรัย
หรือสิ่งศักดิ์
ขอ ๓ คําวา โตเร็ว เปนคําที่ใชสําหรับเด็ก ไมควรนํามาใชกับพอ
ขอ ๔ แมตองซื้อรถใหนะ เปนการพูดเหมือนบีบบังคับแม
ใหผมเกิดมาทั้งที เปนคําพูดเหมือนประชดประชัน
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดู และการพูด
ตัวชี้วัด : ม ๒/๔ , ม ๓/๔
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ
ประเทศ
สพฐ.
สพป.ขก ๓

รอยละนักเรียนตอบถูก
๕๓.๕๗
๕๔.๕๘
๕๐.๒๐
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๕. นองนก : พี่ชะเอม ไมตองคิดมากนะ แคอาจารยใหไปพูดหนาชั้นเรียน ๕ นาที พูดอะไรไปก็ไดคะ
ชะเอม : ไมไดหรอก นองนก เราตองคิดใหไดคําตอบกอนวาเราจะไปพูดเพื่ออะไร หากคิดชัดเจน
ไดตั้งแตตน ตอนปลายทางการพูดก็จะประสบความสําเร็จ
จากบทสนทนาขางตน แสดงวา ชะเอม มีคุณลักษณะที่ดีตามหลักการพูดในขอใด
๑. กําหนดวัตถุประสงค
๒. วิเคราะหผูฟง
๓. รวบรวมเนื้อหา
๔. เตรียมการใชภาษา

เฉลย
ขอ ๑
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ

ระดับ

มาตรฐาน : ท ๓.๑
สาระ : การฟง การดู และการพูด

ประเทศ

๔๕.๒๗

สพฐ.
สพป.ขก ๓

๔๕.๓๗
๓๑.๕๒

ตัวชี้วัด : ม ๓/๖
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

รอยละนักเรียนตอบถูก
วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓

๔๖. บุคคลในขอใดตอไปนี้เปนผูที่นําสาระจากการดูไปใชไดเกิดประโยชนสูงสุด
๑. ตั้ม ประกาศหามบุคคลในครองครัวไมใหเดินทางไปเที่ยวญี่ปุนหลังจากไดดูรายงานขาว
แผนดินไหวและการเกิดสึนามิที่ญี่ปุน
๒. โตง ขอเลิกกับแฟนแลวคิดจะคบหากับผูหญิงคนใหมที่ดีพรอมเหมือนตัวละครแมพลอยในละคร
เวทีสี่แผนดินที่เขามีโอกาสไปดูมา
๓. ตุลย ตั้งชมรมโขนขึ้นเพื่อรวมเปนสวนหนึ่งที่จะสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทยที่ดีงามหลังจากไดไป
ชมโขนที่หอประชุมศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย
๔. แตม จะเดินทางไปจังหวัดเชียงใหมทุกครั้งในชวงวันหยุด เนื่องจากไดชมรายการสัมภาษณดาราที่
ชื่นชอบ แลวเขาบอกวาจังหวัดที่ชอบไปเที่ยวมากที่สุดคือ จังหวัดเชียงใหม
เฉลย
ขอ ๑
ขอ ๒ การหาผูหญิงที่มีคุณสมบัติเหมือนแมพลอยในละครเวทีอาจจะไมมีจริง หรือถามี ก็ไม
แนใจวาผูหญิงเขาจะรักหรือเปลา
ขอ ๓ การจะตั้งชมรมโขนได ตองมีองคประกอบหลายอยาง เชน ตองเปนคนที่มีความรู
ความสามารถในเรื่องโขนเปนอยางดี
ขอ ๔ การที่คนเราจะทําอะไรสักอยาง ตองพิจารณาไตรตรองใหดีวาจะคุมคากับเงินที่จาย
หรือเวลาที่เสียไปหรือไม ไมมองเพียงวาคนอื่นชอบเราก็ชอบดวย
ลักษณะเฉพาะของขอสอบ
มาตรฐาน : ท ๑.๑
สาระ : การอาน
ตัวชี้วัด : ม ๓/๒
รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก

ระดับ

รอยละนักเรียนตอบถูก

ประเทศ

๖๖.๑๖

สพฐ.

๖๖.๕๘

สพป.ขก ๓

๕๕.๘๑
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3
วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3

More Related Content

What's hot

สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยpentanino
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานPhuNn Kmpkwp
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-editkruchaily
 
แผนรายบท
แผนรายบทแผนรายบท
แผนรายบทToongneung SP
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมkrupawit
 

What's hot (10)

สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 
หน่วย 1 1
หน่วย 1 1หน่วย 1 1
หน่วย 1 1
 
Las m2 53
Las m2 53Las m2 53
Las m2 53
 
1-2
1-21-2
1-2
 
หน่วย 1 3
หน่วย 1 3หน่วย 1 3
หน่วย 1 3
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
Report54 1-edit
Report54 1-editReport54 1-edit
Report54 1-edit
 
แผนรายบท
แผนรายบทแผนรายบท
แผนรายบท
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
 
หน่วย 1 4
หน่วย 1 4หน่วย 1 4
หน่วย 1 4
 

Similar to วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3

คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
งานของ วิไลพร
งานของ วิไลพรงานของ วิไลพร
งานของ วิไลพรWilaiporn7
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1kruchaily
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1kruchaily
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556Lao-puphan Pipatsak
 
Sar เทอม1ปี53
Sar เทอม1ปี53Sar เทอม1ปี53
Sar เทอม1ปี53renurak
 
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีcomed
 
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...นายจักราวุธ คำทวี
 
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docxแผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docxaucharapon theemcle
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานpeter dontoom
 
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้คู่มือการใช้
คู่มือการใช้Noir Black
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf20142014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014Kruthai Kidsdee
 

Similar to วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3 (20)

คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
งานของ วิไลพร
งานของ วิไลพรงานของ วิไลพร
งานของ วิไลพร
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1จุดเน้นการดำเนินงาน   ที่ 1
จุดเน้นการดำเนินงาน ที่ 1
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1รายงานผลจุดเน้นที่ 1
รายงานผลจุดเน้นที่ 1
 
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
สังคมม3
สังคมม3สังคมม3
สังคมม3
 
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
โครงการห้องเรียน Eis สมบูรณ์2556
 
Sar เทอม1ปี53
Sar เทอม1ปี53Sar เทอม1ปี53
Sar เทอม1ปี53
 
interactive M 4
interactive M 4interactive M 4
interactive M 4
 
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
 
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔  (จาก...
๔. แนวทดสอบ ผอ.กศน.จังหวัด และ ผอ.กศน.อำเภอ สังกัดสำนักงาน กศน.ชุดที่ ๔ (จาก...
 
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docxแผนปฏิบัติการปี 65.docx
แผนปฏิบัติการปี 65.docx
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงาน
 
คู่มือการใช้
คู่มือการใช้คู่มือการใช้
คู่มือการใช้
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf20142014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
 
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf20142014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
2014อังกฤษ ป6 (1).pdf2014
 

วิเคราะห์ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.3

  • 1. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ กลุมงานวัดและประเมินผลการศึกษา กลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแกน เขต ๓
  • 2. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ วิเคราะหขอสอบ 0-net ปการศึกษา 2555 : กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ จงใชขอมูลตอบคําถามที่กําหนดใหตอไปนี้ตอบคําถามขอ ๑-๕ นอกจากการไหวครูตามวาระดังกลาวแลว บรรดาชางและนักดนตรี หรือศิลปนมักจะไหวรําลึกคุณครู เสมอ ๆ ประจําวัน คือ ชางจะไหวเครื่องมือรําลึกถึงคุณครูกอนเริ่มงาน นักดนตรีก็จะยกมือไหวเครื่องดนตรี กอนการบรรเลงตามนัยเดียวกัน การแสดงพื้นบานและการแสดงอื่นอีกหลายประเภทลวนมีบทไหวครูกอนการ แสดงจริง ดังนั้นอาจสรุปไดวา การไหวครูของไทยเปนการกระทําเพื่อสรางสิริมงคลแกผูกระทํา และเพื่อใหผู นั้นมีสติมีสมาธิมั่นคงในการประกอบกิจการของตนใหสําเร็จลุลวงดวยดี การไหวครูในระยะแรกอาจมุงหมายไหวครูเพื่อสอนหนังสือหรือสอนวิชาเพียงอยางเดียว ตอมาได ขยายกวางออกไปเปนไหวบูชาพระรัตนตรัย ไหวระลึกคุณบิดามารดาและไหวครูผูประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู ดังเชนที่ปรากฏในบทไหวครูตางๆ ในปจจุบัน ในการศึกษานั้นชาวไทยจะไดรับคําสอนวา เมื่อไดเลาเรียนวิชามาและมีความรูเพิ่มเติมมากขึ้น อยาลบ หลูครูบาอาจารย หรือคิดอานตอสูดวยสําคัญวาตนมีความรูมาก นอกจากนีครูและผูใหญสมัยกอนยังสอนเด็ก ้ ใหเคารพตออุปกรณเครื่องเขียน ไดแก กระดานชนวน และหนังสือ ใหจัดเก็บไวในสถานที่อันสมควร ไมกาว ขามไปมาเมื่อเวลาจะใชหรือใชแลวตองกราบไหวทุกครั้ง พิธีกรรมที่สําคัญเนื่องในการศึกษาเลาเรียนของไทย เปนคตินิยมที่ไมอาจละเลยได ทั้งในอดีตและ ปจจุบัน คือ พิธีไหวครู พิธีไหวครูเปนเรื่องของการแสดงความเคารพตอผูมีพระคุณดวยความกตัญูรูคุณ และ เปนเครื่องบํารุงกําลังใจใหมีสติเกิดความเชื่อมั่นในการดําเนินกิจกรรมที่ครูประสิทธิ์ประสาทให ตลอดจนเปน การสรางสิริมงคลใหบังเกิดแกผูประกอบพิธี การไหวครูมีหลายวาระ ไดแก ไหวเมื่อเริ่มเรียน ในการศึกษาตามระบบเดิม เมื่อผูปกครองนําเด็กมาฝากใหเรียนกับครูผูใด ก็มักจะ เลือกพาไปในวันฤกษดี หรือนิยมพาไปวันพฤหัสบดีซึ่งถือวาเปนวันครู จะประกอบกิจใดก็สําเร็จ และจัดพานใส ดอกไม ธูปเทียน ใหเด็กกราบครูเปนการบูชาครูกอนเริ่มเรียน ไหวขณะเรียน หมายถึง การกราบไหวประจําวันและพิธีไหวครูที่จัดขึ้นเพื่อสักการะรําลึกถึง พระคุณครู จัดเปนพิธีใหญประจําป ปละครั้ง พิธีไหวครูประจําปนี้หากเปนการศึกษาเกี่ยวกับชาง หรือ นาฏศิลปดนตรี ก็จะมีพิธีครอบครูสําหรับผูฝกใหมดวย ไหวเมื่อประกอบการงานเสร็จแลวพิธีไหวครูซึ่งจัดขึ้นในชวงนี้ สวนใหญจะเปนเรื่องของ ผูมีอาชีพ เกี่ยวกับการชางและนาฏศิลปดนตรี นิยมจัดเปนพิธีใหญประจําป หรือจัดขึ้นในโอกาสที่เห็นวาเหมาะสม
  • 3. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑. ขอความที่คดมาใหอานขางตนมีจุดประสงคใด ั ๑. ตองการใหรายละเอียดเกี่ยวกับพิธีไหวครู ๒. ตองการบอกความสําคัญของพิธีไหวครู ๓. ตองการเชิญชวนใหระลึกถึงพระคุณครู ๔. ตองการจําแนกรูปแบบของการไหวครู เฉลย ขอ ๒ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๓/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๕๖.๓๙ ๕๖.๖๙ สพป.ขก ๓ ๔๙.๙๙
  • 4. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒. ขอความขางตนใชโวหารชนิดใด ๑. บรรยายโวหาร ๒. พรรณนาโวหาร ๓. สาธกโวหาร ๔. อุปมาโวหาร เฉลย ขอ ๑ บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใชบอกกลาว เลาเรื่อง อธิบา บรรยายเรื่องราวตาง ๆ อยางละเอียด กลาวถึงเหตุการณที่ตอเนื่องกัน ชี้ใหเห็นสถานที่เกิด เหตุการณ สภาพแวดลอม พรรณนาโวหาร คือ โวหารที่กลาวถึง เรื่องราว สถานที่ สิ่งของ อารมณอยางละเอียด สอดแทรก อารมณ ความรูสึกเพื่อโนมนาวใจ ผูรับสารเกิดภาพพจน เกิดอารมณคลอยตาม สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุงใหเกิดความชัดเจน โดยการยกตัวอยางหรือเรื่องราวประกอบ อุปมาโวหาร คือ โวหารที่กลาวเปรียบเทียบ เพื่อใหผูรับสารเขาใจความหมาย อารมณความรูสึก หรือ เห็นภาพชัดเจนยิ่งขึ้น ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๓/๕ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๗๔.๓๐ สพฐ. ๗๔.๓๐ สพป.ขก ๓ ๔๙.๖๗
  • 5. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓. บุคคลใดตอไปนี้ “ไหวครู” ตามบริบทที่ขอความขางตนระบุไว ๑. ไทยคม ไปเจอครูสอนวิชาคณิตศาสตรที่ตลาดจึงยกมือไหว ๒. ปารุสก ยกมือไหวครูที่ประตูโรงเรียนทุกครั้งกอนเขาโรงเรียน ๓. ภัทรพล นําเพื่อน ๆ ยกมือไหวครูตามหนาที่ของหัวหนาชั้นเรียน ๔. อวกาศ นําดอกไมธูปเทียนไปไหวครูเพื่อขออโหสิกรรมกอนบวช เฉลย ขอ ๔ เพราะ เปนการไหวครูจากการระลึกถึงพระคุณของคุณครู ไมใชบังคับหรือทําตามหนาที่ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๓/๑ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๑๓.๖๑ สพฐ. ๑๓.๕๐ สพป.ขก ๓ ๑๒.๔๑
  • 6. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๔. คําวา “พิธีครอบครู” ในยอหนาที่ ๓ มีความสําคัญอยางไร ๑. เพื่อใหผูเขารวมพิธีรําลึกถึงพระคุณของครู ๒. เพื่อสรางความศักดิ์สิทธิ์ใหกับวิชาความรู ๓. เพื่อแสดงตนวาเปนศิษยตอครูผูใหความรู ๔. เพื่อยกระดับวิชาความรูใหเปนความรูชั้นสูง เฉลย ขอ ๓ พิธีครอบครู หมายถึง การนําศีรษะครูมาครอบ (รับเปนศิษย) และครูจะคอยควบคุมรักษา คอย ชวยเหลือใหศิษยมีความจําในกระบวนการรํา จังหวะดนตรี หากมีสิ่งไมงามเกิดขึ้นกับศิษย ครูจะคอยปดเปาให พนจากศิษย (พิธีครอบครู นิยมใชกับวิชาการชาง และนาฏศิลป ดนตรี ) ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๑/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๓๗.๗๙ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๓๗.๗๔ ๒๕.๘๐
  • 7. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๕. จากขอมูลขางตนขอความใดตอไปนี้กลาวสรุปไดถูกตอง ๑. จุดประสงคสําคัญของการไหวครูคือการเนนใหเห็นความสําคัญของเทพเจาและ สิ่ง ศักดิ์สิทธิ์ ๒. พิธีไหวครูจัดขึ้นเพื่อไมใหผูเรียนหลงระเริงในวิชาความรู และอวดอางความรูของตน ๓. อุปกรณอิเล็กทรอนิกสตางๆ ไมถือวาเปนอุปกรณเครื่องเขียนจึงไมจําเปนตองใหความ เคารพ ๔. ความเชื่อวาเมื่อเดินขามหนังสือแลวไหวหนังสือเปนความเชื่อที่ งมงายไมทันสมัย ไม ควรทําตาม เฉลย ขอ ๒ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ประเทศ ๖๓.๖๕ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๕๘.๕๒ ๔๔.๕๘ ตัวชี้วัด : ม ๓/๓ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก รอยละนักเรียนตอบถูก
  • 8. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ จงใชเนื้อเพลงที่กําหนดใหตอไปนี้ตอบคําถามขอ ๖-๑๐ ฉันเฝาถามความสุขอยูที่ไหน ชายที่เขาเดินผานฉันเขามา บอกกับฉันขอรมสักคัน แตวาที่มือเขาก็มีหนึ่งคัน ก็แปลกใจ ทามกลางหยดฝนโปรยปราย เขาก็ถามฉันวาอยากสุขไหม ลองหุบรมในมือสักพักหนึ่งและเงยหนามองวันเวลา มองหยดน้ําที่มันกระทบตา ยังเปยกอยูใชไหม หรือไมมีฝน ยิ้มฉันยิ้มมากกวาทุกครั้ง สุขที่ฉันตามหามาแสนนานอยูตรงนี้ แคเพียงเขาใจ อยาไป ยึดถือมันและกอดไว ก็แครมเทานั้น บนทองฟาไมมีอะไรแนนอนถามองจากตรงนี้ เดี๋ยวก็ มืดแลวก็สวาง อาจจะมีฝนกอเปนพายุ หรือลมลอยปลิวอยูแคนั้น สุขที่เคยเดินทางตามหา มานานไมไดไกลที่ไหน อยูแคนี้เอง ฉันเห็นเธอถือรมผานมาเต็มไปดวยรองรอย และครบน้ําตา ฉันไดเห็นแลวมันปวดใจ ไมใชเพียงแคเธอที่ทุกขฉันก็เปนเหมือนเธอ เธอไดยินไหมอยากขอใหเธอลองโยนรมที่ถือเอา ไวหนัก โยนมันออกไป บนทองฟาไมมีอะไรแนนอนถามองจากตรงนี้ เดี๋ยวก็มืดแลวก็สวาง อาจจะมีฝนกอเปน พายุหรือลม หรือลมลอยปลิวอยูแคนั้น สุขที่เคยเดินทางตามหามานานไมไดไกลที่ไหน อยาไปยึด อยาไปถือ อยาไปเอามากอดไว ก็จะไมเสียใจ ตลอดชีวิต ตองผานการเปลี่ยนแปลง ไมวาใคร จะทุกข จะสุขแคไหน ก็อยูที่จะมอง
  • 9. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๖. ขอใดคือจุดมุงหมายสําคัญของบทเพลงนี้ ๑. เพื่อใหผูฟงตระหนักถึงสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปอยางไมอาจคาดหมายได ๒. เพื่อใหผูฟงลองสัมผัสกับสายฝนเพื่อใหไดรับความสดชื่นที่ไดจากธรรมชาติ ๓. เพื่อใหผูฟงไดเปรียบเทียบเหตุการณที่ผูเขียนเคยประสบกับสิ่งที่ผูฟงเคยประสบ ๔. เพื่อใหผูฟงไดมองเห็นคุณคาของบางสิ่งที่หลายครั้งมองขามไปเพราะความเคยชิน เฉลย ขอ ๓ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ประเทศ ๖๕.๗๔ ตัวชี้วัด : ม ๓/๙ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพฐ. ๖๕.๘๔ สพป.ขก ๓ ๕๑.๕๖
  • 10. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๗. เพลงขางตนมีความโดดเดนดานใดมากที่สุด ๑. การใชเหตุการณคูขนานในการเปรียบเทียบ ๒. การใชภาษาที่กอใหเกิดจินตภาพ ๓. การใชคําที่เขาใจงายไมตองตีความ ๔. การลําดับเนื้อหาการนําเสนอ เฉลย ขอ ๑ เปรียบเทียบจากเหตุการณที่เคยประสบของผูเขียนและผูฟง ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๓/๓ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๓๗.๗๘ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๓๘.๐๐ ๓๔.๐๐
  • 11. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๘. ประโยคใดอาจกลาวไดวาเปนใจความสําคัญของเพลงขางตน ๑. สุขที่ฉันตามหามาแสนนานอยูตรงนี้ แคเพียงเขาใจอยาไปยึดถือมัน ๒. บนทองฟาไมมีอะไรแนนอนถามองจากตรงนี้ เดี๋ยวก็มืด เดี๋ยวก็สวาง ๓. เธอไดยินไหมอยากขอใหเธอลองโยนรมที่ถือเอาไวหนักโยนมันออกไป ๔. อยาไปยึด อยาไปถือ อยาไปเอามากอดไว ก็จะไมเสียใจตลอดชีวิต เฉลย ขอ ๑ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๓/๘ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๒๔.๐๔ ๒๔.๐๖ สพป.ขก ๓ ๒๖.๘๔
  • 12. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ขอสอบ ๙. บุคคลใดตอไปนี้นําเอาความคิดที่ไดจากเพลงไปใชใหเกิดประโยชนแกตนเองมากที่สุด ๑. ประชา ไมใสใจคําดุดาของเจานายที่มีตอการกระทําที่ผิดพลาดของตัวเอง  ๒. ประวิทย มอบรมที่ถืออยูใหกับหญิงมีครรภที่กําลังเดินตากฝนอยู ๓. ประพันธ เลือกซื้อรมที่มีน้ําหนักเบาเพื่อความสะดวกในการเดินทาง ๔. ประยงค เลิกเสียใจกับเงินที่ทําหายไปเพราะคิดวาเปนการฟาดเคราะห เฉลย ขอ ๔ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๓.๑ ระดับ ประเทศ ๕๐.๓๕ สาระ : การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด : ม ๓/๒ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๕๐.๕๑ ๓๓.๕๕ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก รอยละนักเรียนตอบถูก
  • 13. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑๐. บทเพลงขางตนนําเสนอดวยน้ําเสียงอยางไร ๑. สิ้นหวังหมดกําลังใจ ๒. เปยมหวังมีกําลังใจ ๓. หมดหวังแตมีกําลังใจ ๔. มุงหวังสรางกําลังใจ เฉลย ขอ ๔ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๓/๑ สาระ : การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด : ม ๓/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๕๗.๙๙ ๕๘.๑๖ สพป.ขก ๓ ๕๓.๕๕
  • 14. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ จงใชกวีนิพนธตอไปนี้ตอบคําถาม ขอ ๑๑-๑๓ “แตไรไร ไมเคยเห็นเชนนี้ กวางประเสริฐเลิศดีทุกสิ่งสรรพ ไดมาจะไดชมรื่นรมยครัน แมไดเปนเลี้ยงเลนที่กลางปา แมมิไดจะศัลยกรรแสงครวญ เมื่อกลับสูพาราจะไวสวน ถึงอยางไรไดหนังที่นิ่มนวล ถาแมวาทรงศักดิ์ยังรักนอง มาปูนั่งก็จะชวนภิรมยใจ จงโปรดตามกวางทอง ธ นองใคร แมมิไดกวางทองทีตองใจ ่ ขอทูลลาภูวนัยกลั้นใจตาย” ๑๑. ขอใดแบงวรรคตอนในการอานคําประพันธไมถูกตอง ๑. แมไดเปน / เลี้ยงเลน / ที่กลางปา ๒. ถึงอยางไร / ไดหนัง / ที่นิ่มนวล เมื่อกลับสู / พารา / จะไวสวน มาปูนั่ง / ก็จะชวน / ภิรมยใจ ๓. ถาแมวา / ทรงศักดิ์ / ยังรักนอง ๔. แมมิได / กวางทอง / ที่ตองใจ จงโปรดตาม / กวางทอง ธ / นองใคร ขอทูลลา / ภูวนัย / กลั้นใจตาย เฉลย ขอ ๓ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชีวัด : ม ๓/๑ ้ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๗๐.๓๔ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๗๐.๗๔ ๕๑.๘๗
  • 15. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑๒. กวีนิพนธขางตนมุงแสดงความรูสึกอยางไร ๑. เสียดายอาลัยอาวรณที่ไมไดของที่รัก ๒. อยากไดใครมีในสิ่งของที่ไมใชของตน ๓. ระทดใจที่ไมสามารถทําในสิ่งที่ตนตองการ ๔. สูญเสียกําลังใจเพราะไมไดของที่อยากได เฉลย ขอ ๔ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๓/๑ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ ประเทศ สพฐ. สพป.ขก ๓ รอยละนักเรียนตอบถูก ๒๒.๕๖ ๒๒.๗๔ ๒๘.๗๖
  • 16. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑๓. ขอใดตอไปนี้มีกลวิธีในการใชศิลปะภาษาคลายกับ “ไดมาจะไดชมรื่นรมยครัน แมมิไดจะโศกศัลยกรรแสงครวญ” ๑. ถาแมนพี่เปนนกจะผกผิน จะโบยบินไปรักกนิษฐา ๒. นี่ตัวพี่เปนมนุษยสุดปญญา จะไปมาสารพัดขัดกันดาร ๓. ทําอยางไรขวัญใจจะไดรู พี่คิดอยูถึงนุชสุดสงสาร ๔. เชิญพระพายพัดพาเอาอาการ ใหขาวสารทรามชมวาตรมอุรา  เฉลย ขอ ๔ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๒/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ ประเทศ สพฐ. สพป.ขก ๓ รอยละนักเรียนตอบถูก ๒๖.๖๖ ๒๖.๔๓ ๒๕.๔๙
  • 17. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑๔. ธ ๑ พยัญชนะตัวที่ ๒๔ เปนพวกอักษรต่ํา และใชเปนตัวสะกดใน แมกด ในคํา ที่มา จากภาษาบาลี และสันสกฤตเปนตน เชน สุเมธ มคธ ธ ๒ [ทะ] (กลอน) ส. ทาน. เธอ . เชน ธ ประสงคใด จงสฤษดิ์ดัง หวังวรหฤทัย , เปน สรรพนามบุรุษที่ ๓ ขอใดสรุปขอความที่มาจากพจนานุกรมขางตนไดถูกตอง ๑. คําวา “ธ” ในภาษาไทยอานไดสองแบบคือ ทะ และ ทอ ๒.คําวา “ธ” เปนคําที่รับมาจากภาษาบาลีใชในการสะกดคํา ๓. คําวา “ธ” เมื่อใชในคําประพันธจะใชเปนคําสรรพนาม ๔. คําวา “ธ” ในภาษาไทยมีความหมาย ๒ ความหมาย เฉลย ขอ ๑ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ตัวชี้วัด : ม ๓/๑ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๑๓.๐๘ ๑๙.๕๒ สพป.ขก ๓ ๑๕.๖๒
  • 18. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑๕. เหตุผลขอใดสําคัญที่สุดทําใหตองมีการอางอิงขอมูลจากการสืบคนจากอินเตอรเน็ต ๑. ขอมูลในอินเตอรเน็ตมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาจึงตองระบุวันที่เขาถึงขอมูล ๒. ของมูลทางอินเตอรเน็ตบางแหลงมีความนาเชื่อถือนอยจึงตองระบุที่มาของขอมูล ๓. ขอมูลที่ไดจากอินเตอรเน็ตมีลิขสิทธิ์จึงตองอางอิงเพื่อไมใหเปนการละเมิด ๔. ขอมูลจากอินเตอรเน็ตเปนภาษาปากจึงตองเขียนอางอิงเพื่อใหดูเปนวิชาการ เฉลย ขอ ๑ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๑/๓ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๓๑.๖๒ สพฐ. ๓๑.๗๐ สพป.ขก ๓ ๒๙.๘๕
  • 19. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑๖. คําที่ขีดเสนใตในขอใดมีลักษณะการสรางคําเหมือนกัน ๑. เมื่อถึงจุดแตกหัก ทุกคนตางแยกยายกันไปเหมือนผึ้งแตกรัง ๒. หากเราสมัครสมานสามัคคีกันโดยสมัครใจ งานใดใดยอมสําเร็จไดดวยดี ๓. ประเทศชาติเจริญ ถาเรายอมรับฟงความคิดเห็นทีแตกตาง แตไมคิด แตกแยกกัน ่ ๔. การทํางานใหกาวหนานั้น แตละคนจะตองตั้งใจทําหนาที่ของตน และไม กาวกาย  งานของคนอื่น เฉลย ขอ ๒ ขอ ๑. คําประสม แตกหัก = แตก (กริยา) + หัก (กริยา) , แตกรัง = แตก (กริยา) + รัง (นาม) ขอ ๒ สมัครสมาน (กริยา) หมายถึง เชื่อมสามัคคี , สมัครใจ (กริยา) หมายถึง เต็มใจ ขอ ๓ คําประสม แตกตาง = แตก (กริยา) + ตาง (สรรพนาม) , แตกแยก = แตก (กริยา) + แยก (กริยา) ขอ ๔ คําประสม กาวหนา = กาว (กริยา) + หนา (นาม) , กาวกาย = กาว (กริยา) + กาย (กริยา) ลักษณะเฉพาะของขอสอบ รอยละนักเรียนตอบถูก มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ประเทศ ตัวชี้วัด : ม ๑/๔ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพฐ. สพป.ขก ๓ เฉลี่ย ๓ ฉบับ ๔๔.๙๓ ๒๖.๔๐ ๓๔.๐๒
  • 20. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑๗. คําที่ขีดเสนใตในขอใด ไมสามารถใชไมยมกแทนได ๑. ลางลิงหูลิงลิง หลอกขู ๒. หอนตัดสินหวนหวน เหตุดวยเบาความ ๓. คอกควายวัวรัวเกราะเปาะเปาะเพียง รูวาเสียงเกราะแววแผวแผวเอย ๔. เราตองซื้อหลากหลากและมากมายตองใชทรัพยสุรุยสุรายเปนกายกอง เฉลย ขอ ๑ คําวา ลิง ไมใชคําซ้ํา ไมสามารถใชไมยมกแทนได ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษา ตัวชี้วัด : ม ๑/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๓๓.๔๐ ๓๓.๖๑ สพป.ขก ๓ ๒๙.๔๗
  • 21. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑๘. ขอใดอธิบายการสรางคําวา “ราชดําเนิน” ไดถูกตอง ๑. ไมเปนคําสมาส เพราะคําวา “ดําเนิน” เปนคําในภาษาเขมร ๒. เปนคําสมาส เพราะแปลความหมายจากคําหลังไปคําหนา ๓. ไมเปนคําสมาส เพราะคําวา “ดําเนิน” แผลงมาจากคําวา “เดิน” ๔. เปนคําสมาส เพราะเกิดจากการประสมกันของคําที่มาจากภาษาบาลี-สันสกฤต เฉลย ขอ ๑ คําสมาส คือ การนําคําที่มาจากภาษาบาลี –สันสกฤต รวมกับคํา บาลี –สันสกฤต แลวเกิด ความหมายใหม คําวา ราชดําเนิน มาจาก คําวา ราชา + ดําเนิน ราชา มาจาก ภาษาบาลี –สันสกฤต ดําเนิน มาจาก ภาษาเขมร ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษา ตัวชี้วัด : ม ๒/๔ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๑๕.๒๐ ๑๔.๙๘ สพป.ขก ๓ ๑๓.๑๔
  • 22. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๑๙. ประโยคในขอใดสื่อความไดตรงกับขอความ “... เสด็จใหมาทูลถามเสด็จวาจะเสด็จ หรือไมเสด็จ ถาเสด็จจะเสด็จ เสด็จจะเสด็จดวย...” มากที่สุด ๑. พอใหมาถามแมวาแมจะไปหรือไมไป ถาแมไมไปพอจะไปแทน ๒. เขาฝากฉันมาถามวาเธอจะไปหรือไมไป ถาเธอไปเขาจะไดไมตองไป ๓. ปาใหมาถามปูวาปูจะไปกับยาหรือเปลา ถาปูไมไปจะไดชวนคนอื่นไป ๔. นองใหมาถามเธอวาเธอจะไปหรือไมไป ถาเธอไปนองจะตามไปดวย เฉลย ขอ ๔ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ มาตรฐาน : ท ๒/๑ สาระ : การเขียน ประเทศ ๗๖.๒๗ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๗๖.๕๐ ๖๒.๕๘ ตัวชี้วัด : ม ๒/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก รอยละนักเรียนตอบถูก
  • 23. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๐. ขอใดเปนประโยคตางชนิดกัน ๑. เด็กนักเรียนกําลังเลนกีฬากับครู / ครูกําลังเลนกีฬากับเด็กนักเรียน ๒. กระเปาที่อยูตรงนั้น ฉันทําหายเมื่อวาน / ฉันทํากระเปาที่อยูตรงนั้น หายเมื่อวาน ๓. พี่กับนองไปเที่ยวสวนสนุกตอนปดเทอม / ตอนปดเทอมพี่ไปเที่ยวสวนสนุกกับนอง ๔. โตขึ้นเธออยากเปนครูหรืออยากเปนหมอ / โตขึ้นเธออยากเปนหมอหรืออยากเปนครู เฉลย ขอ ๒ ขอ ๑ ประโยคความเดียว / ประโยคความเดียว ขอ ๒ ประโยคความรวม / ประโยคความซอน ขอ ๓ ประโยคความรวม / ประโยคความรวม ขอ ๔ ประโยคความรวม / ประโยคความรวม ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ตัวชี้วัด : ม ๒/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ ประเทศ สพฐ. สพป.ขก ๓ รอยละนักเรียนตอบถูก ๒๔.๙๙ ๒๔.๙๗ ๒๖.๗๙
  • 24. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๑. “แมดูเหมือนเปนเงาที่ไมมีตัวตน แตฉันก็มีหัวใจ” ขอใดอธิบายประโยคขางตนไดถูกตอง ๑. เปนประโยคความเดียวซับซอนที่ภาคประธาน ๒. เปนประโยคความรวมที่มีประโยคยอยเปนความซอน ๓. เปนประโยคความซอนที่มีประโยคยอยเปนความรวม ๔. เปนประโยคความซอนที่มีประโยคยอยเปนความซอน เฉลย ขอ ๒ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษา ตัวชี้วัด : ม ๓/๕ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๓๑.๐๘ สพฐ. ๓๑.๐๒ สพป.ขก ๓ ๒๑.๖๓
  • 25. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๒. บุคคลใดตอไปนี้ไมปฏิบัติตามมารยาทในการพูด ก. กมลเนตร จะพูดแนะนําตัวดวยประวัติสั้น ๆ และรางวัลทั้งหมดที่เธอไดรับใหผูฟง ทราบเสมอ ข. กมลพร มักจะทําเสียงกระแอมเบา ๆ เพื่อขออนุญาตพูดแทรกเรื่องที่ตนไมเห็นดวย ค. กมลกานต จะไมพูดถึงปญหาที่ทําใหผูฟงไมสบายใจ และชวนคุยเรื่องอื่นแทน ง. กมลวรรณ จะพูดไปขําไปตลอดการสนทนาเพื่อแสดงความเปนกันเองกับผูฟง ๑. ก ข และ ค ๒. ก ข และ ง ๓. ข ค และ ง ๔. ก ข ค และ ง เฉลย ขอ ๒ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๓.๑ สาระ : การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด : , ๒/๖ , ม ๓/๖ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๔๑.๗๓ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๔๑.๒๗ ๒๙.๘๘
  • 26. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๓. หากนักเรียนตองการขอความรวมมือจากเพื่อนรวมชั้นเรียนเพื่อทํา กิจกรรม ขอใดเปนคําพูดโนมนาว ใจที่เหมาะสมที่สุด ๑. นอกจากจะใหประสบการณที่ดีแกพวกเราแลว การทํากิจกรรมยังชวยกันพัฒนาโรงเรียนเรา ดวย ๒. การทํากิจกรรมครั้งนี้เปนการสรางชื่อเสียงใหแกโรงเรียนรักดีวิทยา ใครไมทํายอมยอมไมใชลูก รักดีวิทยา ๓. กิจกรรมตาง ๆ ยอมใหประโยชนแกโรงเรียนและสถาบัน ถาเราไมชวยกันก็นับวาเสียชาติเกิด ๔. กิจกรรมของโรงเรียนเราจะประสบความสําเร็จไดดวยการที่ทุกคนตองไมทําตัวเปนกาฝาก เฉลย ขอ ๑ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๓.๑ สาระ : การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด : ม ๓/๕ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๗๗.๕๙ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๗๗.๘๖ ๖๗.๕๘
  • 27. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๔. ขอใดเปนคําราชาศัพทที่ถูกตองที่ใชกับภาพเขียนเหมือนพระองคจริงของ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและลายมือของพระองค  ๑. พระสาทิสลักษณ ๒. พระฉายาลักษณ ลายพระราชหัตถ ลายพระราชหัตถ ๓. พระบรมฉายาลักษณ พระราชหัตถเลขา ๔. พระบรมสาทิสลักษณ พระราชหัตถเลขา เฉลย ขอ ๔ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ตัวชี้วัด : ม ๒/๔ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๒๓.๑๙ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๒๓.๓๐ ๑๙.๙๐
  • 28. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๕. หากนักเรียนตองทํารายงานเชิงวิชาการ เรื่อง “สํานวนไทยที่มาจากวรรณคดี” หัวขอใด ตอไปนี้ไมจําเปนตองมีในรายงาน ก) ความสําคัญของวรรณคดี ข) ความสําคัญและที่มาของสํานวนไทย ค) ประวัติผูแตงวรรณคดีที่เปนที่มาของสํานวนไทย ง) เหตุการณหรือตัวละครในวรรณคดีที่เปนที่มาของสํานวนไทย จ) ความหมายและบริบทในการใชสํานวนไทยที่มาจากวรรณคดี ๑. ก และ ข ๒. ข และ ง ๓. ก และ ค ๔. ข และ ค เฉลย ขอ ๓ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๒.๑ สาระ : การเขียน ตัวชี้วัด : ม ๑/๘ , ม ๒/๕ , ม ๓/๙ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ ประเทศ สพฐ. สพป.ขก ๓ รอยละนักเรียนตอบถูก ๓๗.๖๐ ๓๗.๗๙ ๒๙.๐๗
  • 29. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๖. หากทุกคนเดินทางไกลจนเหนื่อยลาแตยังไมถึงจุดหมาย ขอใดใชภาษาเจรจาตอรองเพื่อใหได หยุดพัก ไดดีที่สุด ๑. พักกอนเถอะ ฉันเหนื่อยมากแลว เดินตอไปตอนนี้คงจะยังไมไหวขอรองละนะ ๒. ใครจะไปก็ไป แตฉันจะพักกอนแลวคอยตามไปทีหลัง ไปชาไปเร็วก็ถึงเหมือนกัน ๓. ทุกคนหยุดกอนเถอะ เพื่อนหลายคนเหนื่อยมากแลว เราตองเห็นใจคนอื่นบาง ๔. เราควรพักดื่มน้ํากันกอน หากเราเดินตอจะไมเปนผลดีตอสุขภาพของทุกคนแน เฉลย ขอ ๔ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๒.๑ ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก สาระ : การเขียน ตัวชี้วัด : ม ๓/๕ ประเทศ สพฐ. ๕๔.๐๑ ๕๔.๓๔ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๕๐.๓๐
  • 30. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๗. ขอใดแสดงใหเห็นธรรมชาติของภาษาวา ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ความหมาย ๑. “ไฟฟา” ในคํากลอน “ตาแดงดั่งแสงไฟฟา” หมายถึง “สายฟา” ไมใชไฟฟาที่เราใช ๒. คนไทยในสมัยกอนใชคําวา “ดงขาว” ในความหมายเดียวกับ “หุงขาว” ในสมัยปจจุบัน ๓. การพูดวา “ยังไง” เปนการพูดตามความนิยม เราควรพูดวา “อยางไร” จึงจะถูกตอง ๔. กอนหนาที่จะมีโทรทัศนในประเทศไทย เราไมเคยใชคําวา “โทรทัศน” เรียกชื่อสิ่งของ เฉลย ขอ ๑ ไฟฟาในอดีต หมายถึง สายฟา ไฟฟาในปจจุบัน หมายถึง กระแสไฟฟา ที่เกิดจากการไหลเวียนของอิเล็กตรอน ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ตัวชี้วัด : ม ๓/๓ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๒๗.๑๐ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๒๗.๑๓ ๑๕.๙๗
  • 31. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๘. ขอใดเปนคําที่เกิดจากการกรอนเสียงทุกคํา ๑. สะพาน ๒. มะพราว สะใภ ตะกรา ประทวง มะตูม ๓. สะดือ ๔. ฉะนั้น สะโพก ประเดี๋ยว ตะขาบ กระโจน เฉลย ขอ ๒ การกรอนเสียง คือ การหมดไป สิ้นไปทีละนอย หรือใหสั้นลง ๑. สะพาน = ตะพาน(แผลงคํา) ,สะใภ = สาวใภ , ประทวง = ทวง (แทรกคําหนา) ๒. มะพราว =หมากพราว , ตะกรา =กะตา (แผลงคํา) , มะตูม = หมากตูม ๓. สะดือ =สายดือ , สะโพก =ตะโพก (แผลงคํา) , ตะขาบ = ตัวขาบ ๔. ฉะนั้น =ฉันนั้น , ประเดี๋ยว = เดี๋ยว (แทรกคําหนา) , กระโจน =โจน (แทรกคําหนา) ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ตัวชี้วัด : ม ๑/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ ประเทศ สพฐ. สพป.ขก ๓ รอยละนักเรียนตอบถูก ๒๓.๖๕ ๒๓.๓๖ ๒๓.๙๐
  • 32. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๒๙. ขอใดไมมีคําภาษาตางประเทศ ๑. ชายขาวเปลือกหญิงขาวสารโบราณวา น้ําพึ่งเรือเสือพึ่งปาอัชฌาสัย ๒. อยานอนเปลาเอากระจกยกออกมา สองดูหนาเสียทีหนึ่งแลวจึงนอน ๓. เห็นเต็มตาแลวอยาอยากทําปากบอน ตรองเสียกอนจึงคอยทํากรรมทั้งมวล ๔. สิบดีก็ไมถึงกับกึ่งพาล เปนชายชาญอยาเพอคาดประมาทชาย เฉลย ขอ ๒ คําภาษาตางประเทศ ขอ ๑ โบราณ อัชฌาสัย ขอ ๓ กรรม ขอ ๔ พาล ชาญ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ประเทศ ๓๗.๘๐ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๓๗.๘๔ ๔๐.๔๑ ตัวชี้วัด : ม ๓/๑ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก รอยละนักเรียนตอบถูก
  • 33. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๐. ขอใดแสดงใหเห็นวา คําบาลี –สันสกฤต ที่เปนคําเดียวกัน อาจใชตางรูปและตางความหมายกันในภาษาไทย ๑. บุษบา ๒. มัจฉา บุปผา มัสยา ๓. ทิฐิ ๔. สัจ ทฤษฎี สัตย เฉลย ขอ ๔ สัจ หมายถึง ความจริง สัตย หมายถึง ความซื่อสัตย ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ตัวชี้วัด : ม ๒/๕ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๒๘.๗๒ ๒๙.๐๕ สพป.ขก ๓ ๒๑.๔๒
  • 34. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๑. ขอใดใชคําทับศัพทโดยไมจําเปน ๑. ประธานาธิบดีบารัค โอบามา จากประเทศอเมริกาจะมาเยือนประเทศไทยเร็วๆ นี้ ๒. ปการศึกษานี้โรงเรียนของเราจะประกาศรับนักเรียนโควตานักกีฬาจํานวน ๒ คน ๓. เด็ก ๆ ไมควรใชปากกาเลเซอรยิงแสงเขาตาเพื่อน เพราะอาจทําใหตาเสียได ๔. นักเรียนทุกคนควรทําขอสอบวิชาภาษาไทยใหไดคะแนนมากกวา ๗๐ เปอรเซ็นต เฉลย ขอ ๔ นักเรียนทุกคนควรทําขอสอบวิชาภาษาไทยใหไดคะแนนมากกวา ๗๐ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ตัวชี้วัด : ม ๓/๔ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๒๔.๔๔ ๒๔.๒๘ สพป.ขก ๓ ๒๐.๖๕
  • 35. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๒. ขอใดเปนการใชภาษาระดับเดียวกันทั้งประโยค และเหมาะสมกับระดับบุคคล ๑. ใจบุญ พูดกับครูวา “ผมไมทราบวาครูไมอยู จึงเขามาสงการบานโดยไมไดขอ อนุญาต” ๒. ใจงาม พูดกับครูวา “หนูไมรูหนูไมไดยินที่ครูบอก ขอประทานโทษดวยคะ” ๓. ใจดี พูดกับครูวา “ทราบแลวคะ เดี๋ยวหนูรีบทําใหดวนจี๋เลยนะจะครู” ๔. ใจกลา พูดกับครูวา “ผมลืมทําการบาน เพราะมัวแตทํางานอดิเรกครับ” เฉลย ขอ ๔ ขอ ๑ ภาษาทางการ ขอ ๒ ภาษาทางการ ไมทราบ ภาษาปาก ไมอยู ขอประทานโทษ ภาษาปาก ไมรู ขอ ๓ ภาษาทางการ ทราบแลวคะ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ตัวชี้วัด : ม ๓/๓ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ภาษาปาก ระดับ ดวนจี๋ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๕๔.๑๑ ๓๗.๓๓ สพป.ขก ๓ ๔๑.๑๕
  • 36. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๓. จากตัวอยางการใชขอความในที่ประชุมที่กําหนดใหตอไปนี้ ขอใด กลาวสรุปไมถูกตอง ก) ผมเห็นดวยกับที่ทานเสนอครับ ข) ขอใหฟงประธานพูดใหจบกอนนะครับ ค) กรุณาดูรายงานการประชุมในหนาหนึ่งครับ ง) ขอบคุณครับที่เสนอความเห็นที่เปนประโยชนอยางยิ่ง ๑. ผูเขาประชุมควรใชถอยคําสุภาพ ๒. เพื่อลดการขัดแยงควรใชภาษาระดับกันเอง ๓. ควรใชภาษาที่สรางบรรยากาศเปนมิตรในการประชุม ๔. ควรใชคําที่แสดงถึงการใหเกียรติซึ่งกันและกัน เมื่อจะพูด ในที่ประชุม เฉลย ขอ ๒ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๓/๑ สาระ : การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด : ม ๓/๖ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๔๐.๙๔ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๔๑.๐๗ ๓๓.๗๗
  • 37. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๔. หากครูตองการใหนักเรียนสืบคนขอมูล เรื่อง “วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ)์ : คลังความรูในแผนดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว” ไมควรใชคําสําคัญใดใน การสืบคนขอมูล ๑. วัดโพธิ์ ๒. คลังความรู ๓. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ๔. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว เฉลย ขอ ๒ เพราะวาคําวา คลังความรู ไมสามารถบอกไดวาเปนความรูในเรื่องอะไร ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๓/๕ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๔๒.๐๓ สพฐ. ๔๒.๐๔ สพป.ขก ๓ ๓๑.๘๖
  • 38. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๕. ใครเปนผูที่ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาความรูไดดี และถูกตองที่สุด ๑. วันดี คัดลอกเนื้อหาจากอินเตอรเน็ตมาสงครู แตไดเขียนบรรณนานุกรมไวในตอนทาย อยางละเอียด ๒. ปรีดา คัดลอกเนื้อหาจากแหลงขอมูลจากหลายๆ แหลงบนอินเตอรเน็ตมาเรียงตอกัน แลวสงครูโดยไมเปลี่ยนขอความ ๓. ตาหวาน นําเนื้อหาจากอินเตอรเน็ตมาเขียนเรียบเรียงใหมกอนจะตีพิมพเผยแพรเปน ผลงานของตนเอง ๔. สานฝน นําขอมูลจากอินเตอรเน็ต และหนังสือมาเรียบเรียงใหมโดยแทรกความคิดตน พรอมอางอิงแหลงขอมูล เฉลย ขอ ๔ เนื่องจากขอมูลจากอินเตอรเน็ตมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ไมถือวาเปนขอมูลทาง วิชาการเราจึงจําเปนตองมีการอางอิงแหลงขอมูล และคนควาเนื้อหาจากหนังสือเรียนเพิ่มเติม เพื่อใหขอมูลนาเชื่อถือมากยิ่งขึ้น ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๑/๘ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๕๙.๖๖ ๖๐.๐๐ สพป.ขก ๓ ๔๙.๕๖
  • 39. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๖. ขอใดเปนคําขวัญสงเสริมการอนุรักษวัฒนธรรมไทยที่เหมาะสมที่สุด ๑. รูรักวัฒนธรรมไทย ความภูมิใจไทยทุกคน ๒. สืบสานวัฒนธรรม ตระหนักย้ําความเปนไทยรักษาไวใหแผนดิน ๓. วัฒนธรรมงามตา คงคุณคาความเปนไทยประทับใจนิจนิรันดร ๔. สืบสานความเปนไทย ภูมิใจความเปนชาติเกียรติประกาศวัฒนธรรมไทย เฉลย ขอ ๒ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ตัวชี้วัด : ม ๑/๔ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๓๘.๐๐ ๓๘.๑๖ สพป.ขก ๓ ๓๔.๒๒
  • 40. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๗. ขอใดตอไปนี้ใชสํานวนเพื่อกลาวเทิดพระคุณครูไดเหมาะสมที่สุด ๑. เพราะครูมีพระคุณตอศิษย ศิษยจึงรักครู ศิษยและครู จึงเหมือนน้ําพึ่งเรือเสือพึ่งปา ๒. เพราะครูอดทนสอนพวกเราอยูเสมอ แมตองปากเปยกปากแฉะแตครูก็ไมยอทอ ๓. ครูนั้นรักศิษยดังแกวตาดวงใจ ครูจึงเสียสละทั้งแรงกายแรงใจสั่งสอนศิษย ๔. ครูเปนคนเรียบรอยเหมือนน้ํานิ่งไหลลึก แตครูมักจะใหความรักความหวงใยตอศิษย เฉลย ขอ ๓ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๒๐.๖๕ ตัวชี้วัด : ม ๒/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพฐ. สพป.ขก ๓ ๒๐.๕๐ ๑๗.๗๙
  • 41. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๘. “สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยะกาเจา มีพระนามเดิมคือ พระเจาลูกเธอ พระองคเจาสวางวัฒนาเปนพระธิดาในพระบาทสมเด็จพระเจาเกลาเจาอยูหัว กับสมเด็จพระปยมาวดี ศรีพัชรินทร มาตา ทรงมีพระราชสมภพเมื่อวันที่ ๑๐ กันยายน พ.ศ. ๒๔๐๕ ทรงเจริญพระชนมชีพในพระบรมมหาราชวัง ทรงไดรับการอบรมกลอมเกลาในขนบราชประเพณีแหงราชวงศ ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจเพื่อประโยชนสุข ของปวงชนทั้งดานการศึกษา วิทยาศาสตรสุขภาพและการอนุรักษพัฒนาวัฒนธรรม” จากขอความขางตน ควรจัดใหอยูในสวนใดของเรียงความ เรื่อง “ราชนารีแหงราชวงศจักรี” ๑. คํานํา ๒. เนื้อเรื่อง ๓. สรุป ๔. คํานําหรือสรุป เฉลย ขอ ๒ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๒/๕ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ ประเทศ สพฐ. สพป.ขก ๓ รอยละนักเรียนตอบถูก ๔๖.๕๑ ๔๖.๙๕ ๔๖.๐๕
  • 42. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๓๙. ขอใดเปนการเขียนแสดงความคิดเห็นที่เหมาะสม ๑. กระทรวงศึกษาธิการควรยกเลิกระเบียบการแตงกายชุดนักเรียน แลวใหนักเรียนสามารถใส เสื้อผาไปโรงเรียนไดอยางอิสระ เพื่อเปนการเตรียมความพรอมสูการเปนประชาคมอาเซียน ๒. ภาวะโลกรอน อาจไมใชสิ่งที่นากลัวอีกตอไป หากมนุษยทุกคนปรับพฤติกรรมที่จะอยูรวมกับ ธรรมชาติไดอยางพอเพียง พรอมกับชวยกันดูแลอนุรักษสิ่งแวดลอมและใชทรัพยากรอยางรูคุณคามากที่สุด ๓. อาหารไทยเปนอาหารที่มีรสจัด ทําใหชาวตะวันตกหลายประเทศไมนิยมรับประทานอาหาร ไทย ดังนั้น นโยบายการนําครัวไทยสูครัวโลก จึงเปนเพียงความฝนที่ไมมีวันเปนความจริง ๔. การพัฒนาประเทศในยุคปจจุบัน ควรสงเสริมใหประชาชนสามารถใชภาษาอังกฤษในการ สื่อสารมากขึ้น โดยถือเปนวาระแหงชาติที่จะกําหนดใหภาษาอังกฤษเปนภาษาราชการแทนภาษาไทย เฉลย ขอ ๒ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๑/๖ , ม ๒ / ๕ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ สพฐ. ๖๓.๔๐ ๖๓.๗๙ สพป.ขก ๓ ๕๖.๖๙
  • 43. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๔๐. ขอใดไมควรเปนหัวขอในโครงรางการทํารายงานวิชาการเรื่อง “วัยรุนกับสังคม ออนไลน” ๑. ความหมาย ลักษณะและประเภทของสังคมออนไลน ๒. วัยรุนกับการใชสังคมออนไลนอยางมีวิจารณญาณ ๓. การพัฒนาวิชาชีพดานสังคมออนไลนสูความเปนสากล ๔. ปญหาการใชสังคมออนไลนของวัยรุนไทยในปจจุบัน เฉลย ขอ ๓ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๒.๑ สาระ : การเขียน ตัวชี้วัด : ม ๓/๙ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๔๔.๘๘ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๔๕.๑๔ ๓๘.๘๓
  • 44. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๔๑. “ภาษาไทย เปนภาษาในตระกูลคําโดด.............เปนภาษาเรียงคําที่มีวิวัฒนาการมานานกวา พันป คนไทยใชภาษาไทยเปนเครื่องมือดํารงชีวิตและ.........ทั้งการพูด การอาน การฟงและการเขียน กอใหเกิดความคิดเชิงสรางสรรคและสอใหเห็น..............และลักษณะนิสัยของคนไทยที่ตางจากชนชาติอื่น ดังกลาวที่วา “สําเนียงบอกภาษา กิริยาสอสกุล” ” ควรนําคําในขอใดไปเติมในชองวางตามลําดับ แลวทํา ใหขอความนี้มีใจความสมบูรณ ๑. และการสื่อสาร บุคลิกภาพ ๒. แต การสื่อสาร สารัตถภาพ ๓. และการทํางาน สารัตถภาพ ๔. แต การทํางาน บุคลิกภาพ เฉลย ขอ ๑ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ มาตรฐาน : ท ๔.๑ สาระ : หลักการใชภาษาไทย ประเทศ ๗๑.๑๐ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๗๑.๔๓ ๖๒.๕๐ ตัวชี้วัด : ม ๑/๓ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก รอยละนักเรียนตอบถูก
  • 45. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๔๒. “นักเขียนที่ดีตองมีมารยาทในการเขียน กอนเริ่มงานเขียนนักเขียนควรเลือกหัวขอเรื่องที่ ตนเองมีความรูมากที่สุด และมีความตั้งใจที่จะรวบรวมความคิดเขียนงานที่สรางสรรคไมทําใหผูอื่นเสียหาย หรือเดือดรอน” จากสถานการณนี้ แสดงวา นักเขียนกําลังใชกระบวนการเขียนในขอใด ๑. การยกรางขอเขียน ๒. การเตรียมการเขียน ๓. การปรับปรุงขอเขียน ๔. การบรรณาธิการกิจ เฉลย ขอ ๑ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ รอยละนักเรียนตอบถูก มาตรฐาน : ท ๒.๑ เฉลี่ย ๓ ฉบับ สาระ : การเขียน ประเทศ ๕๓.๓๓ ตัวชี้วัด : ม ๓/๒ สพฐ. ๕๓.๒๐ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก สพป.ขก ๓ ๔๘.๑๕
  • 46. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๔๓. หลังจากการฟงบรรยายเรื่อง “เศรษฐกิจพอเพียง” บุคคลใดตอไปนี้เปนผูฟงที่มีวิจารณญาณมาก ที่สุด ๑. เอก นําทรัพยสมบัติบริจาคใหแกมูลนิธิการกุศล โดยเหลือทรัพยสินเพียงเล็กนอยไวใชใน ชีวิตประจําวันเพื่อแสดงใหสังคมรูวาตนเองมีความพอเพียง ๒. อน ความพอเพียงเปนเรื่องไกลตัว เพราะครอบครัวเขามีฐานะดีจึงไมจําเปนตองสนใจ เกษตรกรที่ยากไรเทานั้นที่ควรตระหนักถึงความพอเพียง ๓. อาม นําขอความที่สรุปไดจากการฟงบรรยาย มาจัดทําเปนรายงานวิชาการสงอาจารยเพื่อ แสดงวาตนเองมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงมากขึน ้ ๔. แอน กลับไปคุยกับครอบครัวเพื่อรวมกันวางแผนการปรับใชชีวิตใหรูจักประหยัด อดออม ใชจายอยางรูคุณคาและพอเพียงตามรายรับที่ครอบครัวพึงมี เฉลย ขอ ๔ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๓.๑ สาระ : การฟง การดูและการพูด ตัวชี้วัด : ม ๓/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๗๕.๓๕ สพฐ. ๗๕.๙๐ สพป.ขก ๓ ๖๓.๖๙
  • 47. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๔๔. การพูดในขอใดเปนการพูดที่เกิดสัมฤทธิผลไดดีที่สุด ๑. เนื่องในวันปใหม นักเรียนทุกคน ขอใหอาจารยมีความสุขสมหวังสมปรารถนานะครับ ๒. วันครูปนี้ พวกเราทุกคนกลับมาหาครู เพราะพวกเราระลึกถึงพระคุณของครูเสมอครับ ๓. คุณพอครับ วันเกิดปนี้ คุณพอโตเร็วขึ้นอีกปแลวนะครับคงรักลูกคนนี้มากขึ้นนะครับ ๔. วันเกิดผมแลว แมตองซื้อรถใหนะ ใหผมเกิดมาทั้งที แมก็ตองใหของขวัญดวยนะครับ เฉลย ขอ ๒ ขอ ๑ การอวยพรพอ แม ครูอาจารย หรือคนที่มีอายุมากกวาตองอางคุณพระศรีรัตนตรัย หรือสิ่งศักดิ์ ขอ ๓ คําวา โตเร็ว เปนคําที่ใชสําหรับเด็ก ไมควรนํามาใชกับพอ ขอ ๔ แมตองซื้อรถใหนะ เปนการพูดเหมือนบีบบังคับแม ใหผมเกิดมาทั้งที เปนคําพูดเหมือนประชดประชัน ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๓.๑ สาระ : การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด : ม ๒/๔ , ม ๓/๔ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ ประเทศ สพฐ. สพป.ขก ๓ รอยละนักเรียนตอบถูก ๕๓.๕๗ ๕๔.๕๘ ๕๐.๒๐
  • 48. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๔๕. นองนก : พี่ชะเอม ไมตองคิดมากนะ แคอาจารยใหไปพูดหนาชั้นเรียน ๕ นาที พูดอะไรไปก็ไดคะ ชะเอม : ไมไดหรอก นองนก เราตองคิดใหไดคําตอบกอนวาเราจะไปพูดเพื่ออะไร หากคิดชัดเจน ไดตั้งแตตน ตอนปลายทางการพูดก็จะประสบความสําเร็จ จากบทสนทนาขางตน แสดงวา ชะเอม มีคุณลักษณะที่ดีตามหลักการพูดในขอใด ๑. กําหนดวัตถุประสงค ๒. วิเคราะหผูฟง ๓. รวบรวมเนื้อหา ๔. เตรียมการใชภาษา เฉลย ขอ ๑ ลักษณะเฉพาะของขอสอบ ระดับ มาตรฐาน : ท ๓.๑ สาระ : การฟง การดู และการพูด ประเทศ ๔๕.๒๗ สพฐ. สพป.ขก ๓ ๔๕.๓๗ ๓๑.๕๒ ตัวชี้วัด : ม ๓/๖ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก รอยละนักเรียนตอบถูก
  • 49. วิเคราะหขอสอบ O-NET ปการศึกษา ๒๕๕๕ กลุมสาระภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ สพป.ขก.๓ ๔๖. บุคคลในขอใดตอไปนี้เปนผูที่นําสาระจากการดูไปใชไดเกิดประโยชนสูงสุด ๑. ตั้ม ประกาศหามบุคคลในครองครัวไมใหเดินทางไปเที่ยวญี่ปุนหลังจากไดดูรายงานขาว แผนดินไหวและการเกิดสึนามิที่ญี่ปุน ๒. โตง ขอเลิกกับแฟนแลวคิดจะคบหากับผูหญิงคนใหมที่ดีพรอมเหมือนตัวละครแมพลอยในละคร เวทีสี่แผนดินที่เขามีโอกาสไปดูมา ๓. ตุลย ตั้งชมรมโขนขึ้นเพื่อรวมเปนสวนหนึ่งที่จะสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทยที่ดีงามหลังจากไดไป ชมโขนที่หอประชุมศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย ๔. แตม จะเดินทางไปจังหวัดเชียงใหมทุกครั้งในชวงวันหยุด เนื่องจากไดชมรายการสัมภาษณดาราที่ ชื่นชอบ แลวเขาบอกวาจังหวัดที่ชอบไปเที่ยวมากที่สุดคือ จังหวัดเชียงใหม เฉลย ขอ ๑ ขอ ๒ การหาผูหญิงที่มีคุณสมบัติเหมือนแมพลอยในละครเวทีอาจจะไมมีจริง หรือถามี ก็ไม แนใจวาผูหญิงเขาจะรักหรือเปลา ขอ ๓ การจะตั้งชมรมโขนได ตองมีองคประกอบหลายอยาง เชน ตองเปนคนที่มีความรู ความสามารถในเรื่องโขนเปนอยางดี ขอ ๔ การที่คนเราจะทําอะไรสักอยาง ตองพิจารณาไตรตรองใหดีวาจะคุมคากับเงินที่จาย หรือเวลาที่เสียไปหรือไม ไมมองเพียงวาคนอื่นชอบเราก็ชอบดวย ลักษณะเฉพาะของขอสอบ มาตรฐาน : ท ๑.๑ สาระ : การอาน ตัวชี้วัด : ม ๓/๒ รูปแบบขอสอบ : ปรนัย ๔ ตัวเลือก ระดับ รอยละนักเรียนตอบถูก ประเทศ ๖๖.๑๖ สพฐ. ๖๖.๕๘ สพป.ขก ๓ ๕๕.๘๑