SlideShare a Scribd company logo
1 of 114
Download to read offline
1
บทที่ 1
บทนา
1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มีความมุ่งหมายในการจัดการศึกษา
ตามมาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถ
อยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542 : 7) แนวการจัดการศึกษา
ในมาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542 : 13) และมาตรา 24
การจัดกระบวนการเรียน ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการดังต่อไปนี้
(1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
โดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน
(2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์
ความรู้มาใช้เพื่อป้ องกันและแก้ไขปัญหา
(3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็น
ทําเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
(4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน
รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
(5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมสื่อการเรียน และ
อํานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย
เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อ
การเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ
(6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา
มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2542 : 14) และมาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดย
พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
2
การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไป ในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสม
ของแต่ละระดับและรูปแบบของการศึกษา
จากการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ดังที่กล่าวมานี้
พอจะสรุปได้ว่า การจัดการศึกษาต้องถือว่าผู้เรียนสําคัญที่สุด จัดเนื้อหาและกิจกรรมตาม
ความสนใจ ความถนัดและคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล บูรณาการกระบวนการเรียนรู้
เนื้อหาสาระ คุณธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยจัดบรรยากาศและสื่อการเรียน
ที่ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดได้เวลา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทั้งความรู้ ทักษะ กระบวนการคิด
การจัดการ การนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิตจริงของผู้เรียน จัดกิจกรรมให้ผู้เรียน
ได้ฝึกปฏิบัติจริง คิดเป็น ทําเป็น รักการอ่าน ใฝ่เรียนรู้ และจัดการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง
อย่างหลากหลายเพื่อพัฒนาผู้เรียน ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน
จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ทําให้มีการพัฒนาหลักสูตร
เพื่อใช้จัดการศึกษาของชาติ จึงเกิดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็น
หลักสูตรแกนกลางที่มีกรอบและแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยกําหนดสาระ
การเรียนรู้ออกเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยถูกกําหนดให้เป็น 1 ใน 8 กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 23 (4) พอสรุปความได้ว่า
การจัดการศึกษาต้องเน้นความสําคัญความรู้ด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษา
อย่างถูกต้อง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542 : 13) จะเห็นได้ว่า พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2542 ให้ความสําคัญต่อความรู้ด้านภาษา และการใช้ภาษาไทย ในส่วนของ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยยังให้
ความสําคัญของการสอนภาษาไทย จะต้องเน้นการรักษาภาษาไทยในฐานะเป็นวัฒนธรรม และ
ถ่ายทอดวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ในรูปของหลักภาษา ซึ่งเป็นกฎเกณฑ์การใช้ภาษา
วรรณคดี และวรรณกรรม ผู้เรียนจะต้องมีทักษะการใช้ภาษาได้ถูกต้องสละสลวย ตามหลักภาษา
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 1)
หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กล่าวถึงธรรมชาติของภาษาไทยไว้ว่า ภาษาไทย
เป็นเครื่องมือการสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันและตรงตามจุดมุ่งหมายในการแสดง
ความคิด ความรู้สึก และความต้องการ คําในภาษาไทยย่อมประกอบด้วยเสียงพยัญชนะ เสียงสระ
และเสียงวรรณยุกต์ (กระทรวงศึกษาธิการ,2544 : 7) และภาษาไทยมีคุณสมบัติ 3 ประการ คือ
3
ประการแรก คําที่ใช้พูดประกอบเสียงและความหมาย มีการใช้ถ้อยคําที่เป็นระบบมีระเบียบ
และมีแบบแผนที่เป็นกฎเกณฑ์ทางภาษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 13)
นอกจากนี้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กําหนดวิสัยทัศน์การเรียนการสอน
ภาษาไทยที่เกี่ยวกับหลักภาษาพอจะสรุปได้ว่า ภาษาไทยเป็นวิชาทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิด
ความชํานาญ สามารถเลือกใช้คําเรียบเรียงความคิด ความรู้ให้ชัดเจน ใช้ภาษาได้ถูกต้อง
ตามหลักภาษาใช้ถ้อยคําตรงตามความหมาย ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้หลักภาษาและใช้ให้ถูกต้อง
ตามกฎเกณฑ์ทางภาษาหรือหลักการใช้ภาษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 9)
จากการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในส่วนของ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พอสรุปความได้ว่า หลักสูตรให้ความสําคัญกับการเรียนรู้
ภาษาไทย ในเรื่องกฎเกณฑ์ทางภาษาหรือหลักภาษา คําในภาษา เสียงพยัญชนะ เสียงสระ
และเสียงวรรณยุกต์ อยู่มากพอสมควรเพราะถือว่าสิ่งเหล่านี้เป็นพื้นฐานสําคัญในการใช้ภาษา
ในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ภาษาไทยจึงมีความสําคัญ
ผู้เรียนจําเป็นต้องตระหนักถึงความสําคัญของภาษาไทยต้องทําความเข้าใจและศึกษาหลักเกณฑ์
ทางภาษาและฝึกฝนให้มีทักษะ ฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพเพื่อนําไปใช้
ในการสื่อสาร การเรียนรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 7)
เห็นได้ว่าภาษาไทยเป็นวิชาที่มีความสาคัญต่อผู้เรียน แต่จากประสบการณ์
การจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยของผู้วิจัยในฐานะครูสอนวิชาภาษาไทย พบว่ายังไม่
ประสบผลสาเร็จตามจุดประสงค์เท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าผู้เรียนไม่ใส่ใจและไม่ชอบเรียน
วิชาภาษาไทย โดยเฉพาะหลักภาษาไทย มักจะพบปัญหาในการสอนหลักภาษา ปัญหาเหล่านี้
อาจมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น เนื้อหาหลักภาษายาก วิธีสอนไม่น่าสนใจขาดความสนุก
ความเพลิดเพลินในการเรียนหลักภาษา ขาดสื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจ นักเรียนไม่
อยากเรียนเพราะเห็นว่าเป็นภาษาของตน ถือว่าไม่ต้องเรียนหลักเกณฑ์ก็ใช้ภาษาได้ดี เป็นต้น
นอกจากนี้สุจริต เพียรชอบและสายใจ อินทรัมพรรย์ (อ้างในสมศักดิ์ ทองบ่อ,
2549 : 3-4) ได้ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการสอนหลักภาษาพอสรุปได้ดังนี้
(1) ครูชอบสอนหลักภาษาไทยน้อยกว่าสาระอื่นๆ ในวิชาภาษาไทยด้วยกัน
(2) ครูมีความคิดเห็นว่าหลักภาษาไทยสอนยาก
(3) อุปกรณ์และตําราที่ใช้ประกอบการสอนมีไม่เพียงพอ
(4) ครูใช้วิธีสอนแบบเดิม คืออธิบายแล้วบอกให้นักเรียนจด ไม่ค่อยได้ทากิจกรรม
ประกอบการสอนหลักภาษาไทย
4
(5) ครูเกิดความท้อแท้ใจ เพราะไม่ได้รับการยกย่องจากผู้บริหาร เพื่อนครู และนักเรียน
(6) เนื้อหาที่ปรากฏในหลักสูตรและแบบเรียนมีความซ้าซ้อนกันในทุกระดับชั้น ทาให้
เกิดการซ้าซากน่าเบื่อหน่าย
(7) เนื้อหาหลักภาษาไทยยากและไม่ค่อยเป็นประโยชน์ต่อการใช้ภาษาในชีวิตประจาวัน
ของนักเรียน
(8) นักเรียนมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาไทย และไม่ชอบเรียนหลักภาษาไทย
(9) นักเรียนมีความคิดเห็นว่า เนื้อหาที่เรียนในวิชาหลักภาษาไทยยาก เรียนยาก ไม่สนุก
และไม่น่าสนใจ
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักภาษาไทยประสบปัญหาหลายประการ โดยเฉพาะ
โรงเรียนในชนบทผู้เรียนขาดหนังสือ ตาราเรียน และอุปกรณ์การเรียนการสอนโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งสื่อที่มีคุณภาพ นอกจากนี้ปัญหาที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ความพร้อมและความแตกต่าง
ระหว่างบุคคลของผู้เรียน ซึ่งเป็นปัญหาที่ครูผู้สอนจะต้องจัดบทเรียนให้มีความเหมาะสมและ
สอดคล้องกับความมุ่งหมายของหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึงต้องคานึงถึง
ความพร้อมของผู้เรียน โดยการสารวจความรู้พื้นฐาน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้
ตามสภาพความพร้อมและพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ
สภาพการจัดการเรียนการสอนหลักภาษาไทย ขาดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกคิดหาคาตอบ
ด้วยตัวเอง ครูมักจะบอกจดแล้วให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัด ผู้เรียนเบื่อหน่ายเพราะขาดกิจกรรม
ที่เร้าใจ ขาดสื่อการเรียนการสอนผู้เรียนไม่มีโอกาสได้เรียนรู้ด้วยเอ ผู้เรียนขาดปฏิสัมพันธ์ต่อกัน
เพราะต่างคนต่างเรียน ผู้เรียนที่มีความพร้อมก็พอจะทาแบบฝึกหัดได้ แต่ผู้เรียนที่ขาดความพร้อม
ก็ทาไม่ได้ บางคนอาจจะไม่ทาเลย บางคนก็ลอกของคนอื่น ไม่ได้ก่อให้เกิดการเรียนรู้
ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจึงต่า ผู้เรียนขาดพื้นฐานความรู้ในการเรียนเนื้อหาที่สูงขึ้น
ผู้เรียนไม่เข้าใจเนื้อหา จึงทาให้ผู้เรียนขาดความกระตือรือร้นในการเรียน เพราะกิจกรรมการเรียน
การสอนและสื่อการเรียนการสอนไม่น่าสนใจ ผู้เรียนจึงมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเรียน
หลักภาษาไทย
จะเห็นได้ว่าปัญหาการเรียนการสอนหลักภาษาไทยนั้น เกิดจากขาดสื่อการเรียน
การสอน ครูเป็นผู้กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดเอาเนื้อหาเป็นหลัก โดยไม่ได้
คานึงถึงความพร้อมและความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน บทบาทสาคัญในกิจกรรม
การเรียนการสอนอยู่ที่ครู ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ทั้งที่ความเป็นจริง
5
การเรียนหลักภาษาไทยต้องอาศัยทักษะการฝึกฝน การร่วมมือกันเรียนรู้ระหว่างผู้เรียน ต้องให้
ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนต่อผู้เรียน และระหว่าง
ผู้เรียนต่อผู้สอน ครูต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าและ
เรียนรู้ด้วยตัวเอง ใช้กระบวนการกลุ่มในการเรียนรู้ช่วยเหลือเกื้อกูลกันเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี
ต่อกัน และต้องสร้างสื่อการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง บนพื้นฐาน
ความแตกต่างระหว่างบุคคลและศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน
การแก้ปัญหาการเรียนการสอนหลักภาษาไทยต้อง ให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของ
หลักภาษา ทาให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจที่จะเรียนหลักภาษาไทย ซึ่งกระทาได้โดยการเพิ่ม
ประสิทธิภาพในจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักภาษา คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ เรียนรู้ตาม
ความสามารถและคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน และผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี
ต่อกัน ด้วยการได้ร่วมกันเรียนรู้ช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างผู้เรียนที่เรียนเก่ง ปานกลางและอ่อน
ฉะนั้นครูต้องสร้างสื่อการเรียนการสอนที่เร้าความสนใจของผู้เรียนให้อยากเรียนรู้ และหาเทคนิค
รูปแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้มีบทบาทในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
จากความต้องการแก้ปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยเห็นว่า ชุดการเรียน น่าจะแก้ปัญหาดังกล่าวได้
เพราะชุดการเรียนเป็นนวัตกรรมการศึกษาอย่างหนึ่ง ที่สามารถจัดเนื้อหาสาระการเรียนรู้
ให้ไปตามลาดับความยากง่าย แบ่งเป็นชุด ๆ ให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และ
ใช้กระบวนการกลุ่มให้เรียนรู้แบบร่วมมือ สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประโยชน์ของชุดการเรียน ช่วยให้ผู้เรียนสนใจบทเรียนมากยิ่งขึ้น ตอบสนอง
ความต้องการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนได้รับความรู้
แนวเดียวกัน ส่งเสริมกระบวนการกลุ่ม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ฝึกแก้ปัญหา
การฝึกให้มีทักษะการทางานกลุ่ม เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ครูสามารถวัดผลประเมินผล
ผู้เรียนได้ตรงตามหลักสูตร และแก้ปัญหาการขาดหนังสือ ตาราเรียนได้ เพราะในชุดการเรียน
จะมีเนื้อหา กิจกรรมฝึกทักษะ คาถามและคาตอบ ให้นักเรียนได้ตรวจสอบผลการเรียนรู้ได้
ด้วยตนเอง
จากปัญหาการจัดการเรียนการสอนดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้วางแนวการจัดการเรียน
การสอนและจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสําคัญ โดยมุ่งให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้
จากการปฏิบัติจริง ด้วยวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย จากสื่อการเรียนรู้ที่ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกัน
6
พัฒนาขึ้นมาเอง ตามความเหมาะสม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ การวัดผลและ
ประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน และวัดความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ ความคิด ด้านทักษะกระบวนการ และ
ด้านคุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน ใช้วิธีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลาย เน้นการปฏิบัติ
ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง
ควบคู่ไปในกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยประเมินพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม
ชิ้นงานควบคู่ไปกับการทดสอบ โดยผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประเมินเพื่อให้
ได้ข้อมูลที่สะท้อนให้เห็นผลสัมฤทธิ์ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนแต่ละคนทราบ
ความก้าวหน้า ความสําเร็จและคุณภาพของตนเอง ครูผู้สอนเข้าใจความต้องการของผู้เรียนและ
ให้ระดับคะแนนหรือจัดกลุ่มผู้เรียน รวมทั้งประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ
ตนเองได้ และเพื่อพัฒนาการเรียนหลักภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพ
จากความเป็นมาและปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดวางแผน ออกแบบจัดการเรียนรู้
ที่สนองความต้องการข้างต้น จึงสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิคกลุ่มช่วยเหลือ
การเรียนรายบุคคล หรือ TAI (Team Assisted Individualization) เป็นแนวทางในการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อนําไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
โรงเรียนประชาบํารุง อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.1 เพื่อหาประสิทธิภาพของ ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการใช้นวัตกรรม
ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2.3 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการใช้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2.4 ศึกษาระดับคุณภาพของผู้เรียนจากการประเมินตามสภาพจริง ด้วยการใช้
ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
7
3. สมมุติฐานของการวิจัย
3.1 คุณภาพของนวัตกรรม ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดีขึ้นไป มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์กําหนด 80/80 และมี
ค่าดัชนีประสิทธิผลไม่น้อยกว่า 0.50
3.2 เมื่อใช้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย จัดกิจกรรมการเรียนรู้นักเรียนแล้ว
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
3.3 ผู้เรียนมีความคิดเห็นต่อการใช้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย อยู่ในระดับ
มากขึ้นไป
3.4 ระดับคุณภาพของผู้เรียนจากการประเมินตามสภาพจริงด้วยการใช้ ชุดการเรียน
เรื่อง เสียงในภาษาไทย อยู่ในระดับดีขึ้นไป
4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
4.1 ได้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มี
ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 และมีค่าดัชนีประสิทธิผลไม่น้อยกว่า 0.50
4.2 ได้ทราบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จัด
กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4.3 ได้ทราบความคิดเห็นของนักเรียนต่อการใช้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4.4 ได้ทราบระดับคุณภาพของผู้เรียนจากการประเมินตามสภาพจริง ด้วยการใช้
ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
4.5 ใช้เป็นข้อมูล และแนวทางการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ประเภท ชุดการเรียน
4.6 ใช้เป็นข้อมูล และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เสียงในภาษาไทย
5. ขอบเขตของการวิจัย
5.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาวิเคราะห์จากสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สาระที่ 4
หลักการใช้ภาษา มาตรฐาน ท 4.1 : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็น
สมบัติของชาติ ในเรื่อง เสียงในภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วยอวัยวะในการออกเสียง เสียงสระ
8
พยัญชนะ วรรณยุกต์และการประสมเสียงเป็นพยางค์และคา โดยกาหนดชุดการเรียน เรื่อง
เสียงในภาษาไทย มีเนื้อหาสาระ คือ
5.1.1 ระบบเสียงและอวัยวะในการเกิดเสียงในภาษา
5.1.2 เสียงสระ
5.1.3 เสียงพยัญชนะ
5.1.4 เสียงวรรณยุกต์
5.1.5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคํา
5.2 ประชากรที่ศึกษา นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียน
ประชาบํารุง จํานวน 42 คน
5.3 ตัวแปรที่ศึกษา
5.3.1 ตัวแปรต้น
ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
5.3.2 ตัวแปรตาม
1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
2) ความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดัวย ชุดการเรียน เรื่อง
เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3) ระดับคุณภาพของผู้เรียน จากการประเมินตามสภาพจริง
6. ข้อตกลงเบื้องต้นในการวิจัย
6.1 เครื่องมือที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีจํานวน 30 ข้อ
6.2 แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย
ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย เป็นระดับความรู้สึกของนักเรียน
6.3 ระดับคุณภาพ ของนักเรียน เป็นระดับคะแนนที่ประเมินจากสภาพจริงโดยตรวจ
ชิ้นงาน และพฤติกรรมในการร่วมกิจกรรมของนักเรียน คะแนนที่นําไปวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ
เป็นคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนรายบุคคล
6.4 กลุ่มประชากรที่ร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่มประชากรทั้งหมด ไม่ได้แยกเป็นกลุ่มทดลอง
9
7. คานิยามศัพท์เฉพาะ
7.1 ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย หมายถึง สื่อการเรียนรู้ที่ผู้สอนสร้างขึ้นเพื่อ
ใช้เป็นสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย ชุดการเรียน 5 ชุด คือ
1) ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษา
2) เสียงสระ
3) เสียงพยัญชนะ
4) เสียงวรรณยุกต์
5) การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคํา
7.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิคกลุ่มช่วยเหลือ
การเรียนรายบุคคล หรือ TAI (Team Assisted Individualization) หมายถึง การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ให้นักเรียนรวมกลุ่มกันปฏิบัติกิจกรรม สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยเหลือกัน นักเรียนมี
ปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทําให้เกิดผลดีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีทักษะการอยู่ร่วมกันทาง
สังคม ช่วยกันดาเนินกิจกรรมไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือได้งาน ความรู้สึกและความสัมพันธ์ที่
ดีระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
7.3 นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียน
ประชาบํารุง จํานวน 42 คน
7.4 ความคิดเห็น หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ด้วยชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทยโดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นจํานวน 15 รายการ
ระดับความรู้สึก 5 ระดับ
7.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เป็นคะแนนสอบด้วยแบบทดสอบ เรื่อง
เสียงในภาษาไทย วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียน
ประชาบํารุง
7.6 ระดับคุณภาพของนักเรียนเป็นคะแนนที่ได้จากแบบประเมินตามสภาพจริง 3 ด้าน
คือด้านทักษะกระบวนการ ประเมินจากการร่วมกิจกรรมกลุ่ม ด้านคุณธรรมจริยธรรม ประเมิน
จากการสังเกตพฤติกรรมและคุณลักษณะในการร่วมกิจกรรมกลุ่ม ด้านความรู้ความคิดประเมิน
จากการตรวจผลงานบัตรคําถามกิจกรรม
10
8. กรอบแนวคิดสาหรับการศึกษาวิจัย
การพัฒนาชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ผู้วิจัยได้นําแนวคิดและทฤษฎีที่ได้จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง มาสร้างกรอบแนวคิด
สําหรับการวิจัยดังต่อไปนี้
8.1 การปฏิรูปการเรียนรู้ตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนสําคัญที่สุด จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ เน้นความรู้คู่คุณธรรม ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง
ตามความถนัดและความสนใจ เรียนรู้จากการปฏิบัติกิจกรรมและวิธีการเรียนที่หลากหลาย
ประเมินผลจากพัฒนาการของผู้เรียน และวัดความก้าวหน้าของผู้เรียนทั้งด้านความรู้ความคิด
ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณธรรม จริยธรรม ประเมินผลจากสภาพจริง โดยการสังเกต
พฤติกรรม ชิ้นงานควบคู่ไปกับการทดสอบ
8.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบต่างๆ ที่นํามาบูรณาการ
เข้าด้วยกันเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้
8.2.1 แนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
8.2.2 การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียน
8.2.3 การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคกลุ่มช่วยสอนเป็นรายบุคคล TAI
(Team Assisted Individualization)
8.2.4 การประเมินผลตามสภาพจริง
8.3 ดําเนินการสร้างชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าในเรื่อง ธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
11
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยมีรายละเอียด
ตามลําดับดังนี้
1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
2. หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง เสียงในภาษาไทย
4. แนวคิด ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับชุดการเรียน
5. แนวคิด ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับการสอนแบบร่วมมือ
6. แนวคิด ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน
7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ผู้วิจัยได้ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเป็นแนวทางในการวิจัยพอสรุปได้ดังนี้
1.1 ความสาคัญของภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติไทย เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมทาให้เกิดความเป็น
เอกภาพและแสดงความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ใช้ในการประกอบกิจธุระ
การงานและดารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือใน
การเรียนรู้ ค้นหาประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ ความคิด
วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจ
เป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาไทยด้านต่าง ๆ โดยบันทึกไว้เป็นวรรณคดีและวรรณกรรม ภาษาไทย
จึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ เพื่ออนุรักษ์และสืบสานให้อยู่คู่ชาติไทย
1.2 ธรรมชาติของภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นเครื่องมือใช้สื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันและตรงตาม จุดมุ่งหมาย
ไม่ว่าจะเป็นการแสดงความคิด ความต้องการและความรู้สึก คาในภาษาไทยย่อมประกอบด้วย
12
เสียง รูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และความหมาย ส่วนประโยคเป็นการเรียงคาตามหลักเกณฑ์
ของภาษา และประโยคหลายประโยคเรียงกันเป็นข้อความ นอกจากนั้นคาในภาษาไทยยังมี
เสียงหนักเบา มีระดับของภาษา ซึ่งต้องใช้ให้เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล ภาษาย่อมมี
การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ตามสภาพวัฒนธรรมของกลุ่มคน ตามสภาพของสังคมและ
เศรษฐกิจ การใช้ภาษาเป็นทักษะที่ผู้ใช้ต้องฝึกฝนให้เกิดความชานาญ ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน
การเขียน การพูด การฟัง และการดูสื่อต่าง ๆ รวมทั้งต้องใช้ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา
เพื่อสื่อสารให้เกิดประสิทธิภาพและใช้อย่างคล่องแคล่ว มีวิจารณญาณและมีคุณธรรม
1.3 วิสัยทัศน์การเรียนการสอนภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของคนในชาติ เพื่อการสื่อสารทาความเข้าใจกันและใช้ภาษา
ในการประกอบกิจการงานทั้งส่วนตนและส่วนร่วม เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ การบันทึก
เรื่องราวจากอดีตถึงปัจจุบัน และเป็นวัฒนธรรมของชาติ ดังนั้นการเรียนภาษาไทย จึงต้อง
เรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะอย่างถูกต้อง เหมาะสมในการสื่อสาร เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
แสวงหาความรู้และประสบการณ์ เรียนรู้ในฐานะเป็นวัฒนธรรมทางภาษาให้เกิดความชื่นชม
ซาบซึ้ง และภูมิใจในภาษาไทย โดยเฉพาะคุณค่าของวรรณคดี และภูมิปัญญาทางภาษาของ
บรรพบุรุษที่ได้สร้างสรรค์ไว้ อันเป็นส่วนเสริมสร้างความงดงามในชีวิต
การเรียนรู้ภาษาไทยต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดสร้างสรรค์ คิดวิพากษ์วิจารณ์
คิดตัดสินใจแก้ปัญหา และวินิจฉัยอย่างมีเหตุผล ใช้ภาษาอย่างมีเหตุผล ใช้ในทางสร้างสรรค์
และใช้ภาษาอย่างสละสลวยงดงาม ช่วยเสริมบุคลิกภาพของผู้ใช้ภาษาให้สง่างาม
ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
การอ่านและการฟังเป็นทักษะของการรับรู้เรื่องราว ความรู้และประสบการณ์ ส่วนการพูด
และการเขียนเป็นทักษะของการแสดงออกด้วยการแสดงความคิด ความเห็น ความรู้และประสบการณ์
การเรียนภาษาไทยต้องเรียนเพื่อการสื่อสารให้สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างพินิจพิเคราะห์
สามารถเลือกใช้คาเรียบเรียงความคิด ความรู้ และใช้ภาษาได้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ ได้ตรง
ตามความหมายและถูกต้องตามกาลเทศะ บุคคล และมีประสิทธิภาพ
ภาษาไทยเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ส่วนที่เป็นศาสตร์คือ เนื้อหาสาระ กฎเกณฑ์ทางภาษา
ผู้ใช้ภาษาจะต้องเรียนรู้และใช้ภาษาให้ถูกต้อง ส่วนที่เป็นศิลป์ คือวรรณคดีและวรรณกรรม
เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีคุณค่า การเรียนภาษาไทยจึงต้องเรียนวรรณคดี วรรณกรรม
ภูมิปัญญาทางภาษาที่ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราว
13
ของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษาในบทประพันธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองประเภท
ต่างๆ เพื่อให้เกิดความซาบซึ้ง ภาคภูมิใจ และตระหนักในการสืบทอดอนุรักษ์ภาษาไทย
นอกจากนี้เพื่อให้ทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสื่อสารสนเทศประเภทต่าง ๆ
โดยเฉพาะสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้เรียนต้องมีความคิดในการพัฒนาภาษาไทยเพื่อรองรับ
การเปลี่ยนแปลงของภาษาในอนาคต
1.4 คุณภาพของผู้เรียน
1.4.1 คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ผู้เรียนต้องมี
ความรู้ ความสามารถดังนี้
1) สามารถใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างดี
2) สามารถอ่าน เขียน ฟัง ดู และพูด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3) มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผลและคิดเป็นระบบ
4) มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้และใช้ภาษาใน
การพัฒนาตน และสร้างสรรค์งานอาชีพ
5) ตระหนักในวัฒนธรรมการใช้ภาษาและความเป็นไทย ภูมิใจและ
ชื่นชมในวรรณคดีและวรรณกรรมซึ่งเป็นภูมิปัญญาของคนไทย
5) สามารถนาทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล
7) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และสร้างความสามัคคีในความเป็นชาติไทย
8) มีคุณธรรมจริยธรรม มีวิสัยทัศน์ โลกทัศน์ที่กว้างไกลและลึกซึ้ง
1.4.2 คุณภาพของผู้เรียนภาษาไทยเมื่อจบช่วงชั้นที่ 3 มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3
ดังต่อไปนี้
1) สามารถอ่านอย่างมีสมรรถภาพและอ่านได้เร็วยิ่งขึ้น
2) เข้าใจวงคําศัพท์ที่กว้างขึ้น สํานวนและโวหารที่ลึกซึ้ง
แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ประเมินค่าเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล
3) เลือกอ่านหนังสือและสื่อสารสนเทศ
4) เขียนเรียงความ ย่อความ และจดหมาย เขียนอธิบาย ชี้แจง
รายงาน เขียนแสดงความคิดเห็น แสดงการโต้แย้ง และเขียนเชิงสร้างสรรค์
5) สามารถสรุปความ จับประเด็นสําคัญ วิเคราะห์ วินิจฉัยข้อเท็จจริง
ข้อคิดเห็น และจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู
14
6) รู้จักเลือกใช้ภาษาเรียบเรียงข้อความได้อย่างประณีต จัดลําดับ
ความคิดขั้นตอนในการนําเสนอตามรูปแบบของงานเขียนประเภทต่าง ๆ
7) พูดนําเสนอความรู้ ความคิด การวิเคราะห์ และการประเมิน
เรื่องราวต่าง ๆ พูดเชิญชวน อวยพร และพูดในโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
8) เข้าใจธรรมชาติของภาษาและการนําภาษาต่างประเทศมาใช้
ในภาษาไทย
9) สามารถใช้ภาษาแสดงความคิดเห็น สร้างความเข้าใจ โน้มน้าวใจ
ปฏิเสธ เจรจาต่อรอง ด้วยภาษาและกิริยาท่าทางที่สุภาพ
10)ใช้ทักษะทางภาษาในการแสวงหาความรู้ การทํางาน และใช้อย่าง
สร้างสรรค์เป็นประโยชน์
11) ใช้หลักการพินิจคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม พิจารณา
วรรณคดีและวรรณกรรมให้เห็นคุณค่าและนําประโยชน์ไปใช้ในชีวิต
12) สามารถแต่งกาพย์ กลอน และโคลง
13) สามารถร้องเล่นหรือถ่ายทอดเพลงพื้นบ้านและบทกล่อมเด็ก
ในท้องถิ่น
14) มีมารยาทการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด และมีนิสัย
รักการอ่าน การเขียน
1.5 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย กาหนดไว้ดังนี้
สาระที่ 1 : การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 :ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้
ตัดสินใจ แก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
สาระที่ 2 : การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 : ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ
ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน
การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
สาระที่ 3 : การฟัง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท 3.1 : สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูด
แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
15
สาระที่ 4 : หลักการใช้ภาษา
มาตรฐาน ท 4.1 : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็น
สมบัติของชาติ
มาตรฐาน ท 4.2 : สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้าง
ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และ
ชีวิตประจาวัน
สาระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 : เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและ
วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
1.6 กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้สอนจะต้องดาเนินการ
ดังนี้
1.6.1. เลือกรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนต้องเลือกรูปแบบ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และเหมาะสมกับผู้เรียน
1.6.2. คิดค้นเทคนิคกลวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถคิดค้น
รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ และนามาใช้ให้เหมาะสม
1.6.3. จัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยคานึงถึงสภาพ
และลักษณะของผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติตามกระบวนการเรียนรู้อย่างมีความสุข ดังนี้
1) การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ให้รู้
วิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักวิธีการวางแผน คิดวิเคราะห์ ประเมินผลการปฏิบัติงานได้ด้วย
ตนเอง และฝึกการเป็นผู้นาและผู้ตาม ลักษณะของโครงงาน เป็นเรื่องของการศึกษา ค้นคว้า
ทดลอง ตรวจสอบ สมมติฐาน โดยอาศัยการศึกษา วิเคราะห์ ใช้ทักษะกระบวนการ
2) การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ เป็นวิธีการ
ที่จะช่วยให้การดาเนินงานเป็นกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ได้ผลงาน ความรู้สึกและ
ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมงาน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้าร่วม
ในกิจกรรมการเรียนยึดกลุ่มเป็นแหล่งความรู้ที่สาคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ปรึกษาหารือ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ช่วยให้เกิดการเรียนรู้พฤติกรรมของตนเองและผู้อื่น
16
ผู้เรียนค้นหาคาตอบได้ด้วยตนเองจนสามารถนาความรู้ ความเข้าใจจากการปฏิบัติงานไปใช้ใน
ชีวิตประจาวันและอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุข
3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิด มีวิธีการหลากหลาย
วิธีการหนึ่งคือ การใช้คาถาม การตั้งคาถาม โดยใช้หมวกความคิด 6 ใบ เป็นการใช้คาถามอย่าง
สร้างสรรค์
4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
เพื่อให้ผู้เรียนมีสมรรถภาพในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ด้วยการ
จัดกิจกรรมในห้องเรียน ในโรงเรียนและในชุมชน เช่น การเล่าเรื่อง การอภิปราย การวิจารณ์
การโต้วาที การคัดลายมือ การเขียนเรียงความ การทําโครงงาน การประกวด การอ่าน
การศึกษาค้นคว้า การแข่งขันตอบคําถาม การอ่านทํานองเสนาะ
5) การพัฒนาการเรียนรู้หลักการใช้ภาษา จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจธรรมชาติ
ของภาษาและวัฒนธรรมการใช้ภาษาไทย เกิดความตระหนักว่าภาษามีความสาคัญและมีพลัง
กิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้หลักการทางภาษา จาเป็นต้องจัดควบคู่และสัมพันธ์กับกิจกรรม
พัฒนาทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารทุกกิจกรรม
6) การพัฒนาการเรียนรู้วรรณคดีและวรรณกรรม ให้เห็นถึงวิถีชีวิต
ของคนไทยในยุคสมัยต่างๆ และเป็นการปลูกฝังเกิดความซาบซึ้งในสุนทรียภาพของภาษาไทย
เพื่อประโยชน์ในการดารงชีวิต เน้นให้ผู้เรียนใช้ทักษะภาษาเพื่อเรียนรู้เนื้อหาสาระด้วยการอ่าน
พิจารณา วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าวรรณกรรมและวรรณคดีอย่างมีเหตุผล มีการนาเสนอ
ความเข้าใจ ความซาบซึ้ง ข้อคิดและประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนี้จะเกิดผลทาให้ผู้เรียน
มีนิสัยรักการอ่านและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นแนวทางในการผลิตผลงานเพื่อพัฒนา
ตนเองและสังคม
7) การพัฒนาการเรียนรู้ภูมิปัญญาทางภาษาช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจวิถีชีวิต และ
ศิลปะการใช้ภาษาของคนในท้องถิ่น เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาทางภาษา
วิธีการที่กล่าวมานี้ ผู้สอนสามารถนามาปรับใช้ให้เหมาะสม โดยใช้เทคนิค วิธีการ
อย่างหลากหลายที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนและเรียน
อย่างมีความสุข ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพความพร้อมของผู้เรียนและธรรมชาติของสาระการเรียนรู้
ที่เรียน เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้
1.7 การวัดผลประเมินผล
17
การวัดผลและประเมินการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้สอนต้องเข้าใจหลักการของการเรียนรู้
ภาษา เพื่อเป็นพื้นฐานในการวัดผลประเมินผล มีหลักการสาคัญ ดังนี้
1.7.1 หลักการเรียนรู้ภาษา
1) ทักษะทางภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน ดู มีความสาคัญเท่า ๆ กัน
และทักษะเหล่านี้มีความเกี่ยวเนื่องกัน และความก้าวหน้าของทักษะหนึ่ง จะมีผลต่อพัฒนาการ
ทักษะอื่น ๆ
2) ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษา เช่นเดียวกับ
ทักษะการคิด ทักษะทางสังคม เมื่อผู้เรียนมีโอกาสใช้ภาษาตามความต้องการที่แท้จริงของตนเอง
และในสภาพการณ์จริงทั้งในบริบททางวิชาการในห้องเรียน และชุมชนที่กว้างออกไป
3) ผู้เรียนต้องเรียนรู้การใช้ภาษาพูด ภาษาเขียนอย่างถูกต้อง ด้วย
การฝึกฝน มิใช่การเรียนรู้กฎเกณฑ์ทางภาษาแต่อย่างเดียว การเรียนการใช้ภาษาที่ประกอบด้วย
ไวยากรณ์ การสะกดคา และเครื่องหมายต่าง ๆ จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้น เมื่อผู้เรียนได้พัฒนาทักษะ
ทางภาษาของตน
4) ผู้เรียนทุกคนต้องผ่านขั้นตอนการพัฒนาทางภาษาเช่นเดียวกัน
แต่จะต่างกันในจังหวะก้าว และวิธีการเรียนรู้ของแต่ละคน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
5) ภาษา และวัฒนธรรม มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด หลักสูตร
ที่ให้ความสาคัญ ให้ความเคารพ และเห็นคุณค่าของเชื้อชาติ วัฒนธรรม ภูมิหลังทางภาษา
และความหลากหลายของภาษาจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับตนเอง และกระตุ้น
ให้ผู้เรียนเรียนรู้
1.7.2 หลักการของการประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ
1) การประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพจะต้องส่งเสริม
การเรียนรู้ของผู้เรียน
2) การประเมินผลจะต้องใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย
3) การประเมินผลจะต้องมีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้และยุติธรรม
1.7.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลผลการเรียนของผู้เรียน
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกนามาใช้ในการประเมินโดยทั่วไป เช่น การสังเกต
การตรวจงานหรือผลงาน การทดสอบความรู้ การตรวจสอบการปฏิบัติและการแสดงออกอย่างไร
ก็ตามมีการนาเสนอแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยพิจารณาจากเป้ าประสงค์ของการประเมิน
18
ที่เฉพาะเจาะจงในรายละเอียด เพื่อข้อมูลที่ได้จะสามารถนามาใช้ประโยชน์ต่อการปรับปรุง
พัฒนากระบวนการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง ดังนี้
1) การให้ตอบแบบทดสอบ ทั้งในลักษณะที่เป็นแบบเลือกคาตอบ
ได้แก่ ข้อสอบแบบเลือกตอบ ถูก – ผิด และข้อสอบชนิดให้ผู้สอบสร้างคาตอบ ได้แก่
เติมข้อความในช่องว่าง คาตอบสั้นเป็นประโยค เป็นข้อความ เป็นแผนภูมิ
2) การดูจากผลงาน เช่น เรียงความ รายงานการวิจัย บันทึกประจาวัน
รายงานการทดลอง บทละคร บทร้อยกรอง แฟ้มผลงาน เป็นต้น ผลงานจะเป็นสิ่งแสดงให้เห็น
การนาความรู้และทักษะไปใช้ในการปฏิบัติงานของผู้เรียน
3) สังเกตการปฏิบัติ สังเกตการนาทักษะและความรู้ไปใช้โดยตรงใน
สถานการณ์ที่ให้ปฏิบัติจริง วิธีการนี้ถูกนาไปใช้อย่างกว้างขวางในการประเมิน การปฏิบัติที่มี
ระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การร้องเพลง ดนตรี พลศึกษา การโต้วาที การกล่าวสุนทรพจน์
ละครเวที
4) สังเกตกระบวนการ วิธีการนี้จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้
กระบวนการคิดของผู้เรียนมากกว่าที่จะดูผลงาน หรือการปฏิบัติ ซึ่งจะทาให้กระบวนการคิด
ที่ผู้เรียนใช้วิธีการที่พบว่าครูผู้สอนใช้อยู่เป็นประจาในกระบวนการเรียนการสอน คือ การให้
นักเรียนคิดดัง ๆ การตั้งคาถามให้นักเรียนตอบ โดยครูจะเป็นผู้สังเกตวิธีการคิดของผู้เรียน
วิธีการเช่นนี้เป็นกระบวนการที่จะให้ข้อมูลเพื่อการวินิจฉัย และเป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน
โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเหมาะกับการประเมินพัฒนาการด้านคุณธรรม
จริยธรรม และลักษณะนิสัย (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 1 - 22)
สรุปได้ว่า หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต้องการสอนภาษาเพื่อใช้เป็น
เครื่องมือในการสื่อสาร ใช้ภาษาไทยในการแสวงหาความรู้ เพื่อนาความรู้มาพัฒนาตนเอง
สอนภาษาไทยในด้านกฎเกณฑ์ทางภาษาเพื่อให้ใช้ภาษาได้ถูกต้อง สละสลวย และเน้นให้ศึกษา
วรรณกรรมและวรรณคดีเพื่อให้เข้าใจสภาพสังคมและวัฒนธรรมรวมถึงภูมิปัญญาทางภาษา
โดยวิธีการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และคานึงศักยภาพและความแตกต่างระหว่างบุคคล
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยสื่อนวัตกรรมอย่างหลากหลาย และวัดผลประเมินผลจากแหล่งข้อมูล
หลากหลายตามสภาพจริงเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและความแตกต่างระหว่าง
บุคคล
19
2. หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการรู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ มุ่งให้
ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง จากการปฏิบัติกิจกรรมและวิธีการเรียนที่หลากหลาย เรียนรู้จากสื่อ
รู้วิธีการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้ และประเมินตนเอง
โดยครูผู้สอนเปลี่ยนบทบาทจากการบอก บรรยาย เป็นการวางแผนจัดกิจกรรม แนะแนวทาง
วิธีการเรียนรู้ ให้หลักการและสร้างสื่อการเรียนรู้ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม จนผู้เรียน
ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง การจัดการเรียนรู้ควรคํานึงถึงความสําคัญในเรื่องต่อไปนี้
2.1 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
2.1.1 การเรียนรู้อย่างมีความสุข จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในบรรยากาศ
ที่เป็นอิสระแต่มีระเบียบวินัยในตนเอง ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งเสริมผู้เรียน
ให้ประสบความสําเร็จตามศักยภาพของตน เกิดความภาคภูมิใจอันเกิดจากความสําเร็จ เรียนรู้
จากสื่อที่เหมาะสม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนด้วยกันเอง
มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
2.1.2 การเรียนรู้แบบองค์รวม บูรณาการสาระการเรียนรู้และ
กระบวนการเรียนรู้เข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ลึกซึ้งครอบคลุมปัญหา และ
มีความหมายต่อการดํารงชีวิต
2.1.3 การเรียนรู้ต้องปรับวัฒนธรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนต้องมีลีลา
การเรียนรู้ของตนเอง มีอิสระในการเรียน มีความรับผิดชอบสูง มีวินัยในตนเอง มีความพยายาม
และมุ่งมั่นต่อความสําเร็จ มีคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งครูต้องปลูกฝังและสร้างให้เกิดแก่ผู้เรียน
ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนรู้
2.1.4 การเรียนรู้จากการคิดและการปฏิบัติจริง เรียนรู้โดยการประมวลข้อมูล
ความรู้จากประสบการณ์ต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ มาสรุปสร้างเป็นองค์ความรู้
ด้วยตนเอง
2.1.5 การเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น การเรียนรู้ที่มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น
ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อมูล ความคิด ทําให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
เป็นการปลูกฝังคุณธรรมการอยู่ร่วมกัน ทําให้เกิดการพัฒนาทักษะทางสังคม
2.1.6 การเรียนรู้โดยมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนและผลงาน เปิดโอกาสให้
ผู้เรียนร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนรู้ ปฏิบัติกิจกรรม และสร้างชิ้นงานร่วมกัน ผู้เรียน
20
จะเกิดการเรียนรู้ทักษะกระบวนการ และการทํางานร่วมกัน รู้บทบาทหน้าที่และความ
รับผิดชอบต่อส่วนร่วม
2.1.7 การเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ลีลาการเรียนรู้และ
ความถนัดของแต่ละคนทําให้ผู้เรียนค้นพบความสามารถ ความถนัดของตน เพื่อพัฒนา
ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
2.2 คุณลักษณะและบทบาทของผู้สอนต่อการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
2.2.1 คุณลักษณะของผู้สอน
1) มีความรู้ความเข้าใจในการจัดหลักสูตรโดยเฉพาะกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาไทย
2) มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาภาษาไทยเป็นอย่างดี
3) ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้ดี เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น
4) มีความริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
5) เป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้ทันสมัย
ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ
6) มีความสามารถในการวัดผลและประเมินผล การเรียนภาษาไทย
หลายรูปแบบ ตามหลักการวัดผลและประเมินผล
7) มีความรู้ความเข้าใจด้านจิตวิทยา เข้าใจลักษณะธรรมชาติและ
ความต้องการของผู้เรียนเป็นอย่างดี
8) มีคุณลักษณะของครูดีที่พึงประสงค์ ได้แก่ ใจดี ยิ้มแย้มแจ่มใส
มีอารมณ์ขัน พูดจาไพเราะ มีเมตตา ขยัน อดทน เอาใจใส่ผู้เรียนอย่างทั่วถึง มีเวลาให้ผู้เรียน
เข้าพบและปรึกษาหารือ มีความเป็นมิตร มีความยุติธรรม ใจกว้างยอมรับความคิดเห็น
ของผู้เรียน และไวต่อความคิด ความรู้สึกของผู้เรียนและมีคุณธรรม
9) เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความประพฤติ และมีบุคลิกภาพที่สง่างาม
2.2.2 บทบาทหน้าที่ของผู้สอน
1) ทําหน้าที่พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยร่วมกับ
คณะครูในกลุ่ม โดยทําหน้าที่ 4 ประการ คือ พัฒนาหลักสูตร ใช้หลักสูตร วิจัยและประเมิน
หลักสูตรและปรับปรุงหลักสูตร
2) จัดบรรยากาศและกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนอย่างมีความสุข
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย
การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย

More Related Content

Similar to การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย

Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1pui003
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1kanwan0429
 

Similar to การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย (20)

Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

การพัฒนาชุดการเรียนเรื่อง เสียงในภาษาไทย

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนา 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มีความมุ่งหมายในการจัดการศึกษา ตามมาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถ อยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างมีความสุข (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542 : 7) แนวการจัดการศึกษา ในมาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542 : 13) และมาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียน ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการดังต่อไปนี้ (1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างผู้เรียน (2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ ความรู้มาใช้เพื่อป้ องกันและแก้ไขปัญหา (3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็น ทําเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง (4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้งปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อมสื่อการเรียน และ อํานวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อ การเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่างๆ (6) จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542 : 14) และมาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดย พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรียน
  • 2. 2 การร่วมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไป ในกระบวนการเรียนการสอนตามความเหมาะสม ของแต่ละระดับและรูปแบบของการศึกษา จากการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ดังที่กล่าวมานี้ พอจะสรุปได้ว่า การจัดการศึกษาต้องถือว่าผู้เรียนสําคัญที่สุด จัดเนื้อหาและกิจกรรมตาม ความสนใจ ความถนัดและคํานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล บูรณาการกระบวนการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ คุณธรรม ค่านิยม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ โดยจัดบรรยากาศและสื่อการเรียน ที่ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดได้เวลา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีทั้งความรู้ ทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การนําความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการดําเนินชีวิตจริงของผู้เรียน จัดกิจกรรมให้ผู้เรียน ได้ฝึกปฏิบัติจริง คิดเป็น ทําเป็น รักการอ่าน ใฝ่เรียนรู้ และจัดการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริง อย่างหลากหลายเพื่อพัฒนาผู้เรียน ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอน จากพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ทําให้มีการพัฒนาหลักสูตร เพื่อใช้จัดการศึกษาของชาติ จึงเกิดหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็น หลักสูตรแกนกลางที่มีกรอบและแนวทางในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียน โดยกําหนดสาระ การเรียนรู้ออกเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยถูกกําหนดให้เป็น 1 ใน 8 กลุ่มสาระ การเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซึ่งสอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 23 (4) พอสรุปความได้ว่า การจัดการศึกษาต้องเน้นความสําคัญความรู้ด้านคณิตศาสตร์และด้านภาษา เน้นการใช้ภาษา อย่างถูกต้อง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542 : 13) จะเห็นได้ว่า พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ให้ความสําคัญต่อความรู้ด้านภาษา และการใช้ภาษาไทย ในส่วนของ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยยังให้ ความสําคัญของการสอนภาษาไทย จะต้องเน้นการรักษาภาษาไทยในฐานะเป็นวัฒนธรรม และ ถ่ายทอดวัฒนธรรมที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์ในรูปของหลักภาษา ซึ่งเป็นกฎเกณฑ์การใช้ภาษา วรรณคดี และวรรณกรรม ผู้เรียนจะต้องมีทักษะการใช้ภาษาได้ถูกต้องสละสลวย ตามหลักภาษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 1) หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กล่าวถึงธรรมชาติของภาษาไทยไว้ว่า ภาษาไทย เป็นเครื่องมือการสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันและตรงตามจุดมุ่งหมายในการแสดง ความคิด ความรู้สึก และความต้องการ คําในภาษาไทยย่อมประกอบด้วยเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ (กระทรวงศึกษาธิการ,2544 : 7) และภาษาไทยมีคุณสมบัติ 3 ประการ คือ
  • 3. 3 ประการแรก คําที่ใช้พูดประกอบเสียงและความหมาย มีการใช้ถ้อยคําที่เป็นระบบมีระเบียบ และมีแบบแผนที่เป็นกฎเกณฑ์ทางภาษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 13) นอกจากนี้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กําหนดวิสัยทัศน์การเรียนการสอน ภาษาไทยที่เกี่ยวกับหลักภาษาพอจะสรุปได้ว่า ภาษาไทยเป็นวิชาทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิด ความชํานาญ สามารถเลือกใช้คําเรียบเรียงความคิด ความรู้ให้ชัดเจน ใช้ภาษาได้ถูกต้อง ตามหลักภาษาใช้ถ้อยคําตรงตามความหมาย ผู้เรียนจะต้องเรียนรู้หลักภาษาและใช้ให้ถูกต้อง ตามกฎเกณฑ์ทางภาษาหรือหลักการใช้ภาษา (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 9) จากการศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ในส่วนของ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย พอสรุปความได้ว่า หลักสูตรให้ความสําคัญกับการเรียนรู้ ภาษาไทย ในเรื่องกฎเกณฑ์ทางภาษาหรือหลักภาษา คําในภาษา เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ อยู่มากพอสมควรเพราะถือว่าสิ่งเหล่านี้เป็นพื้นฐานสําคัญในการใช้ภาษา ในฐานะที่เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ ภาษาไทยจึงมีความสําคัญ ผู้เรียนจําเป็นต้องตระหนักถึงความสําคัญของภาษาไทยต้องทําความเข้าใจและศึกษาหลักเกณฑ์ ทางภาษาและฝึกฝนให้มีทักษะ ฟัง พูด อ่านและเขียนภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพเพื่อนําไปใช้ ในการสื่อสาร การเรียนรู้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 7) เห็นได้ว่าภาษาไทยเป็นวิชาที่มีความสาคัญต่อผู้เรียน แต่จากประสบการณ์ การจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยของผู้วิจัยในฐานะครูสอนวิชาภาษาไทย พบว่ายังไม่ ประสบผลสาเร็จตามจุดประสงค์เท่าที่ควร ทั้งนี้อาจเป็นเพราะว่าผู้เรียนไม่ใส่ใจและไม่ชอบเรียน วิชาภาษาไทย โดยเฉพาะหลักภาษาไทย มักจะพบปัญหาในการสอนหลักภาษา ปัญหาเหล่านี้ อาจมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น เนื้อหาหลักภาษายาก วิธีสอนไม่น่าสนใจขาดความสนุก ความเพลิดเพลินในการเรียนหลักภาษา ขาดสื่อการเรียนการสอนที่น่าสนใจ นักเรียนไม่ อยากเรียนเพราะเห็นว่าเป็นภาษาของตน ถือว่าไม่ต้องเรียนหลักเกณฑ์ก็ใช้ภาษาได้ดี เป็นต้น นอกจากนี้สุจริต เพียรชอบและสายใจ อินทรัมพรรย์ (อ้างในสมศักดิ์ ทองบ่อ, 2549 : 3-4) ได้ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการสอนหลักภาษาพอสรุปได้ดังนี้ (1) ครูชอบสอนหลักภาษาไทยน้อยกว่าสาระอื่นๆ ในวิชาภาษาไทยด้วยกัน (2) ครูมีความคิดเห็นว่าหลักภาษาไทยสอนยาก (3) อุปกรณ์และตําราที่ใช้ประกอบการสอนมีไม่เพียงพอ (4) ครูใช้วิธีสอนแบบเดิม คืออธิบายแล้วบอกให้นักเรียนจด ไม่ค่อยได้ทากิจกรรม ประกอบการสอนหลักภาษาไทย
  • 4. 4 (5) ครูเกิดความท้อแท้ใจ เพราะไม่ได้รับการยกย่องจากผู้บริหาร เพื่อนครู และนักเรียน (6) เนื้อหาที่ปรากฏในหลักสูตรและแบบเรียนมีความซ้าซ้อนกันในทุกระดับชั้น ทาให้ เกิดการซ้าซากน่าเบื่อหน่าย (7) เนื้อหาหลักภาษาไทยยากและไม่ค่อยเป็นประโยชน์ต่อการใช้ภาษาในชีวิตประจาวัน ของนักเรียน (8) นักเรียนมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อวิชาภาษาไทย และไม่ชอบเรียนหลักภาษาไทย (9) นักเรียนมีความคิดเห็นว่า เนื้อหาที่เรียนในวิชาหลักภาษาไทยยาก เรียนยาก ไม่สนุก และไม่น่าสนใจ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักภาษาไทยประสบปัญหาหลายประการ โดยเฉพาะ โรงเรียนในชนบทผู้เรียนขาดหนังสือ ตาราเรียน และอุปกรณ์การเรียนการสอนโดยเฉพาะ อย่างยิ่งสื่อที่มีคุณภาพ นอกจากนี้ปัญหาที่สาคัญอีกอย่างหนึ่งคือ ความพร้อมและความแตกต่าง ระหว่างบุคคลของผู้เรียน ซึ่งเป็นปัญหาที่ครูผู้สอนจะต้องจัดบทเรียนให้มีความเหมาะสมและ สอดคล้องกับความมุ่งหมายของหลักสูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนจึงต้องคานึงถึง ความพร้อมของผู้เรียน โดยการสารวจความรู้พื้นฐาน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ตามสภาพความพร้อมและพัฒนาผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ สภาพการจัดการเรียนการสอนหลักภาษาไทย ขาดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้ฝึกคิดหาคาตอบ ด้วยตัวเอง ครูมักจะบอกจดแล้วให้ผู้เรียนทาแบบฝึกหัด ผู้เรียนเบื่อหน่ายเพราะขาดกิจกรรม ที่เร้าใจ ขาดสื่อการเรียนการสอนผู้เรียนไม่มีโอกาสได้เรียนรู้ด้วยเอ ผู้เรียนขาดปฏิสัมพันธ์ต่อกัน เพราะต่างคนต่างเรียน ผู้เรียนที่มีความพร้อมก็พอจะทาแบบฝึกหัดได้ แต่ผู้เรียนที่ขาดความพร้อม ก็ทาไม่ได้ บางคนอาจจะไม่ทาเลย บางคนก็ลอกของคนอื่น ไม่ได้ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ผลการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจึงต่า ผู้เรียนขาดพื้นฐานความรู้ในการเรียนเนื้อหาที่สูงขึ้น ผู้เรียนไม่เข้าใจเนื้อหา จึงทาให้ผู้เรียนขาดความกระตือรือร้นในการเรียน เพราะกิจกรรมการเรียน การสอนและสื่อการเรียนการสอนไม่น่าสนใจ ผู้เรียนจึงมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเรียน หลักภาษาไทย จะเห็นได้ว่าปัญหาการเรียนการสอนหลักภาษาไทยนั้น เกิดจากขาดสื่อการเรียน การสอน ครูเป็นผู้กาหนดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยยึดเอาเนื้อหาเป็นหลัก โดยไม่ได้ คานึงถึงความพร้อมและความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน บทบาทสาคัญในกิจกรรม การเรียนการสอนอยู่ที่ครู ผู้เรียนไม่มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ทั้งที่ความเป็นจริง
  • 5. 5 การเรียนหลักภาษาไทยต้องอาศัยทักษะการฝึกฝน การร่วมมือกันเรียนรู้ระหว่างผู้เรียน ต้องให้ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนต่อผู้เรียน และระหว่าง ผู้เรียนต่อผู้สอน ครูต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าและ เรียนรู้ด้วยตัวเอง ใช้กระบวนการกลุ่มในการเรียนรู้ช่วยเหลือเกื้อกูลกันเพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดี ต่อกัน และต้องสร้างสื่อการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง บนพื้นฐาน ความแตกต่างระหว่างบุคคลและศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน การแก้ปัญหาการเรียนการสอนหลักภาษาไทยต้อง ให้ผู้เรียนเห็นความสาคัญของ หลักภาษา ทาให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจที่จะเรียนหลักภาษาไทย ซึ่งกระทาได้โดยการเพิ่ม ประสิทธิภาพในจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหลักภาษา คือ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ เรียนรู้ตาม ความสามารถและคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน และผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดี ต่อกัน ด้วยการได้ร่วมกันเรียนรู้ช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างผู้เรียนที่เรียนเก่ง ปานกลางและอ่อน ฉะนั้นครูต้องสร้างสื่อการเรียนการสอนที่เร้าความสนใจของผู้เรียนให้อยากเรียนรู้ และหาเทคนิค รูปแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้มีบทบาทในการเรียนรู้ด้วยตนเอง จากความต้องการแก้ปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยเห็นว่า ชุดการเรียน น่าจะแก้ปัญหาดังกล่าวได้ เพราะชุดการเรียนเป็นนวัตกรรมการศึกษาอย่างหนึ่ง ที่สามารถจัดเนื้อหาสาระการเรียนรู้ ให้ไปตามลาดับความยากง่าย แบ่งเป็นชุด ๆ ให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง และ ใช้กระบวนการกลุ่มให้เรียนรู้แบบร่วมมือ สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประโยชน์ของชุดการเรียน ช่วยให้ผู้เรียนสนใจบทเรียนมากยิ่งขึ้น ตอบสนอง ความต้องการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนได้รับความรู้ แนวเดียวกัน ส่งเสริมกระบวนการกลุ่ม เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ฝึกแก้ปัญหา การฝึกให้มีทักษะการทางานกลุ่ม เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ครูสามารถวัดผลประเมินผล ผู้เรียนได้ตรงตามหลักสูตร และแก้ปัญหาการขาดหนังสือ ตาราเรียนได้ เพราะในชุดการเรียน จะมีเนื้อหา กิจกรรมฝึกทักษะ คาถามและคาตอบ ให้นักเรียนได้ตรวจสอบผลการเรียนรู้ได้ ด้วยตนเอง จากปัญหาการจัดการเรียนการสอนดังกล่าว ผู้วิจัยจึงได้วางแนวการจัดการเรียน การสอนและจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นสําคัญ โดยมุ่งให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้ จากการปฏิบัติจริง ด้วยวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย จากสื่อการเรียนรู้ที่ผู้เรียนและผู้สอนร่วมกัน
  • 6. 6 พัฒนาขึ้นมาเอง ตามความเหมาะสม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ การวัดผลและ ประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนา คุณภาพผู้เรียน และวัดความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ ความคิด ด้านทักษะกระบวนการ และ ด้านคุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน ใช้วิธีการวัดผลและประเมินผลที่หลากหลาย เน้นการปฏิบัติ ให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ดําเนินการอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปในกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน โดยประเมินพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม ชิ้นงานควบคู่ไปกับการทดสอบ โดยผู้เรียน ผู้สอน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการประเมินเพื่อให้ ได้ข้อมูลที่สะท้อนให้เห็นผลสัมฤทธิ์ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้เรียนแต่ละคนทราบ ความก้าวหน้า ความสําเร็จและคุณภาพของตนเอง ครูผู้สอนเข้าใจความต้องการของผู้เรียนและ ให้ระดับคะแนนหรือจัดกลุ่มผู้เรียน รวมทั้งประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของ ตนเองได้ และเพื่อพัฒนาการเรียนหลักภาษาไทยให้มีประสิทธิภาพ จากความเป็นมาและปัญหาดังกล่าว ผู้วิจัยจึงมีแนวคิดวางแผน ออกแบบจัดการเรียนรู้ ที่สนองความต้องการข้างต้น จึงสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้วิธีการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิคกลุ่มช่วยเหลือ การเรียนรายบุคคล หรือ TAI (Team Assisted Individualization) เป็นแนวทางในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อนําไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในวิชาภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนประชาบํารุง อําเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 2.1 เพื่อหาประสิทธิภาพของ ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยการใช้นวัตกรรม ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2.3 เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนต่อการใช้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2.4 ศึกษาระดับคุณภาพของผู้เรียนจากการประเมินตามสภาพจริง ด้วยการใช้ ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 7. 7 3. สมมุติฐานของการวิจัย 3.1 คุณภาพของนวัตกรรม ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 อยู่ในระดับดีขึ้นไป มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์กําหนด 80/80 และมี ค่าดัชนีประสิทธิผลไม่น้อยกว่า 0.50 3.2 เมื่อใช้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย จัดกิจกรรมการเรียนรู้นักเรียนแล้ว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3.3 ผู้เรียนมีความคิดเห็นต่อการใช้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย อยู่ในระดับ มากขึ้นไป 3.4 ระดับคุณภาพของผู้เรียนจากการประเมินตามสภาพจริงด้วยการใช้ ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย อยู่ในระดับดีขึ้นไป 4. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4.1 ได้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 80/80 และมีค่าดัชนีประสิทธิผลไม่น้อยกว่า 0.50 4.2 ได้ทราบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จัด กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.3 ได้ทราบความคิดเห็นของนักเรียนต่อการใช้ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.4 ได้ทราบระดับคุณภาพของผู้เรียนจากการประเมินตามสภาพจริง ด้วยการใช้ ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4.5 ใช้เป็นข้อมูล และแนวทางการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ประเภท ชุดการเรียน 4.6 ใช้เป็นข้อมูล และแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง เสียงในภาษาไทย 5. ขอบเขตของการวิจัย 5.1 ขอบเขตด้านเนื้อหา ศึกษาวิเคราะห์จากสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษา มาตรฐาน ท 4.1 : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว้เป็น สมบัติของชาติ ในเรื่อง เสียงในภาษาไทย ซึ่งประกอบด้วยอวัยวะในการออกเสียง เสียงสระ
  • 8. 8 พยัญชนะ วรรณยุกต์และการประสมเสียงเป็นพยางค์และคา โดยกาหนดชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย มีเนื้อหาสาระ คือ 5.1.1 ระบบเสียงและอวัยวะในการเกิดเสียงในภาษา 5.1.2 เสียงสระ 5.1.3 เสียงพยัญชนะ 5.1.4 เสียงวรรณยุกต์ 5.1.5 การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคํา 5.2 ประชากรที่ศึกษา นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียน ประชาบํารุง จํานวน 42 คน 5.3 ตัวแปรที่ศึกษา 5.3.1 ตัวแปรต้น ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 5.3.2 ตัวแปรตาม 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 2) ความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ดัวย ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3) ระดับคุณภาพของผู้เรียน จากการประเมินตามสภาพจริง 6. ข้อตกลงเบื้องต้นในการวิจัย 6.1 เครื่องมือที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนมีจํานวน 30 ข้อ 6.2 แบบประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วย ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย เป็นระดับความรู้สึกของนักเรียน 6.3 ระดับคุณภาพ ของนักเรียน เป็นระดับคะแนนที่ประเมินจากสภาพจริงโดยตรวจ ชิ้นงาน และพฤติกรรมในการร่วมกิจกรรมของนักเรียน คะแนนที่นําไปวิเคราะห์หาค่าทางสถิติ เป็นคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนรายบุคคล 6.4 กลุ่มประชากรที่ร่วมกิจกรรมเป็นกลุ่มประชากรทั้งหมด ไม่ได้แยกเป็นกลุ่มทดลอง
  • 9. 9 7. คานิยามศัพท์เฉพาะ 7.1 ชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย หมายถึง สื่อการเรียนรู้ที่ผู้สอนสร้างขึ้นเพื่อ ใช้เป็นสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบด้วย ชุดการเรียน 5 ชุด คือ 1) ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษา 2) เสียงสระ 3) เสียงพยัญชนะ 4) เสียงวรรณยุกต์ 5) การประกอบเสียงเป็นพยางค์และคํา 7.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยวิธีการเรียนแบบร่วมมือ เทคนิคกลุ่มช่วยเหลือ การเรียนรายบุคคล หรือ TAI (Team Assisted Individualization) หมายถึง การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ให้นักเรียนรวมกลุ่มกันปฏิบัติกิจกรรม สมาชิกทุกคนในกลุ่มช่วยเหลือกัน นักเรียนมี ปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทําให้เกิดผลดีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และมีทักษะการอยู่ร่วมกันทาง สังคม ช่วยกันดาเนินกิจกรรมไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือได้งาน ความรู้สึกและความสัมพันธ์ที่ ดีระหว่างสมาชิกในกลุ่ม 7.3 นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียน ประชาบํารุง จํานวน 42 คน 7.4 ความคิดเห็น หมายถึง ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้วยชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทยโดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นจํานวน 15 รายการ ระดับความรู้สึก 5 ระดับ 7.5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เป็นคะแนนสอบด้วยแบบทดสอบ เรื่อง เสียงในภาษาไทย วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2552 โรงเรียน ประชาบํารุง 7.6 ระดับคุณภาพของนักเรียนเป็นคะแนนที่ได้จากแบบประเมินตามสภาพจริง 3 ด้าน คือด้านทักษะกระบวนการ ประเมินจากการร่วมกิจกรรมกลุ่ม ด้านคุณธรรมจริยธรรม ประเมิน จากการสังเกตพฤติกรรมและคุณลักษณะในการร่วมกิจกรรมกลุ่ม ด้านความรู้ความคิดประเมิน จากการตรวจผลงานบัตรคําถามกิจกรรม
  • 10. 10 8. กรอบแนวคิดสาหรับการศึกษาวิจัย การพัฒนาชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยได้นําแนวคิดและทฤษฎีที่ได้จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง มาสร้างกรอบแนวคิด สําหรับการวิจัยดังต่อไปนี้ 8.1 การปฏิรูปการเรียนรู้ตามแนวพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ยึดหลักว่าผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนสําคัญที่สุด จัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศักยภาพ เน้นความรู้คู่คุณธรรม ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความถนัดและความสนใจ เรียนรู้จากการปฏิบัติกิจกรรมและวิธีการเรียนที่หลากหลาย ประเมินผลจากพัฒนาการของผู้เรียน และวัดความก้าวหน้าของผู้เรียนทั้งด้านความรู้ความคิด ด้านทักษะกระบวนการ และด้านคุณธรรม จริยธรรม ประเมินผลจากสภาพจริง โดยการสังเกต พฤติกรรม ชิ้นงานควบคู่ไปกับการทดสอบ 8.2 ทฤษฎีการเรียนรู้ และแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบต่างๆ ที่นํามาบูรณาการ เข้าด้วยกันเพื่อจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้ 8.2.1 แนวการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 8.2.2 การจัดการเรียนรู้ด้วยชุดการเรียน 8.2.3 การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิคกลุ่มช่วยสอนเป็นรายบุคคล TAI (Team Assisted Individualization) 8.2.4 การประเมินผลตามสภาพจริง 8.3 ดําเนินการสร้างชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าในเรื่อง ธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย
  • 11. 11 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดการเรียน เรื่อง เสียงในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยมีรายละเอียด ตามลําดับดังนี้ 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 2. หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 3. เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง เสียงในภาษาไทย 4. แนวคิด ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับชุดการเรียน 5. แนวคิด ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับการสอนแบบร่วมมือ 6. แนวคิด ทฤษฎีและหลักการเกี่ยวกับการวัดและประเมินผลการเรียน 7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้วิจัยได้ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อเป็นแนวทางในการวิจัยพอสรุปได้ดังนี้ 1.1 ความสาคัญของภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติไทย เป็นสมบัติทางวัฒนธรรมทาให้เกิดความเป็น เอกภาพและแสดงความเป็นไทยเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ใช้ในการประกอบกิจธุระ การงานและดารงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธิปไตยได้อย่างสันติสุข และเป็นเครื่องมือใน การเรียนรู้ ค้นหาประสบการณ์จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้ ความคิด วิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี ใช้ในการพัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจ เป็นสื่อแสดงภูมิปัญญาไทยด้านต่าง ๆ โดยบันทึกไว้เป็นวรรณคดีและวรรณกรรม ภาษาไทย จึงเป็นสมบัติของชาติที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ เพื่ออนุรักษ์และสืบสานให้อยู่คู่ชาติไทย 1.2 ธรรมชาติของภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเครื่องมือใช้สื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันและตรงตาม จุดมุ่งหมาย ไม่ว่าจะเป็นการแสดงความคิด ความต้องการและความรู้สึก คาในภาษาไทยย่อมประกอบด้วย
  • 12. 12 เสียง รูปพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และความหมาย ส่วนประโยคเป็นการเรียงคาตามหลักเกณฑ์ ของภาษา และประโยคหลายประโยคเรียงกันเป็นข้อความ นอกจากนั้นคาในภาษาไทยยังมี เสียงหนักเบา มีระดับของภาษา ซึ่งต้องใช้ให้เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล ภาษาย่อมมี การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ตามสภาพวัฒนธรรมของกลุ่มคน ตามสภาพของสังคมและ เศรษฐกิจ การใช้ภาษาเป็นทักษะที่ผู้ใช้ต้องฝึกฝนให้เกิดความชานาญ ไม่ว่าจะเป็นการอ่าน การเขียน การพูด การฟัง และการดูสื่อต่าง ๆ รวมทั้งต้องใช้ให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ทางภาษา เพื่อสื่อสารให้เกิดประสิทธิภาพและใช้อย่างคล่องแคล่ว มีวิจารณญาณและมีคุณธรรม 1.3 วิสัยทัศน์การเรียนการสอนภาษาไทย ภาษาไทยเป็นเครื่องมือของคนในชาติ เพื่อการสื่อสารทาความเข้าใจกันและใช้ภาษา ในการประกอบกิจการงานทั้งส่วนตนและส่วนร่วม เป็นเครื่องมือการเรียนรู้ การบันทึก เรื่องราวจากอดีตถึงปัจจุบัน และเป็นวัฒนธรรมของชาติ ดังนั้นการเรียนภาษาไทย จึงต้อง เรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะอย่างถูกต้อง เหมาะสมในการสื่อสาร เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ แสวงหาความรู้และประสบการณ์ เรียนรู้ในฐานะเป็นวัฒนธรรมทางภาษาให้เกิดความชื่นชม ซาบซึ้ง และภูมิใจในภาษาไทย โดยเฉพาะคุณค่าของวรรณคดี และภูมิปัญญาทางภาษาของ บรรพบุรุษที่ได้สร้างสรรค์ไว้ อันเป็นส่วนเสริมสร้างความงดงามในชีวิต การเรียนรู้ภาษาไทยต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิดสร้างสรรค์ คิดวิพากษ์วิจารณ์ คิดตัดสินใจแก้ปัญหา และวินิจฉัยอย่างมีเหตุผล ใช้ภาษาอย่างมีเหตุผล ใช้ในทางสร้างสรรค์ และใช้ภาษาอย่างสละสลวยงดงาม ช่วยเสริมบุคลิกภาพของผู้ใช้ภาษาให้สง่างาม ภาษาไทยเป็นทักษะที่ต้องฝึกฝนจนเกิดความชานาญในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร การอ่านและการฟังเป็นทักษะของการรับรู้เรื่องราว ความรู้และประสบการณ์ ส่วนการพูด และการเขียนเป็นทักษะของการแสดงออกด้วยการแสดงความคิด ความเห็น ความรู้และประสบการณ์ การเรียนภาษาไทยต้องเรียนเพื่อการสื่อสารให้สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้อย่างพินิจพิเคราะห์ สามารถเลือกใช้คาเรียบเรียงความคิด ความรู้ และใช้ภาษาได้ถูกต้องตามกฎเกณฑ์ ได้ตรง ตามความหมายและถูกต้องตามกาลเทศะ บุคคล และมีประสิทธิภาพ ภาษาไทยเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ส่วนที่เป็นศาสตร์คือ เนื้อหาสาระ กฎเกณฑ์ทางภาษา ผู้ใช้ภาษาจะต้องเรียนรู้และใช้ภาษาให้ถูกต้อง ส่วนที่เป็นศิลป์ คือวรรณคดีและวรรณกรรม เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีคุณค่า การเรียนภาษาไทยจึงต้องเรียนวรรณคดี วรรณกรรม ภูมิปัญญาทางภาษาที่ถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ค่านิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราว
  • 13. 13 ของสังคมในอดีต และความงดงามของภาษาในบทประพันธ์ทั้งร้อยแก้วและร้อยกรองประเภท ต่างๆ เพื่อให้เกิดความซาบซึ้ง ภาคภูมิใจ และตระหนักในการสืบทอดอนุรักษ์ภาษาไทย นอกจากนี้เพื่อให้ทันต่อความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและสื่อสารสนเทศประเภทต่าง ๆ โดยเฉพาะสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ผู้เรียนต้องมีความคิดในการพัฒนาภาษาไทยเพื่อรองรับ การเปลี่ยนแปลงของภาษาในอนาคต 1.4 คุณภาพของผู้เรียน 1.4.1 คุณภาพผู้เรียนเมื่อจบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ผู้เรียนต้องมี ความรู้ ความสามารถดังนี้ 1) สามารถใช้ภาษาสื่อสารได้อย่างดี 2) สามารถอ่าน เขียน ฟัง ดู และพูด ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผลและคิดเป็นระบบ 4) มีนิสัยรักการอ่าน การเขียน การแสวงหาความรู้และใช้ภาษาใน การพัฒนาตน และสร้างสรรค์งานอาชีพ 5) ตระหนักในวัฒนธรรมการใช้ภาษาและความเป็นไทย ภูมิใจและ ชื่นชมในวรรณคดีและวรรณกรรมซึ่งเป็นภูมิปัญญาของคนไทย 5) สามารถนาทักษะทางภาษามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมี ประสิทธิภาพและถูกต้องตามกาลเทศะและบุคคล 7) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และสร้างความสามัคคีในความเป็นชาติไทย 8) มีคุณธรรมจริยธรรม มีวิสัยทัศน์ โลกทัศน์ที่กว้างไกลและลึกซึ้ง 1.4.2 คุณภาพของผู้เรียนภาษาไทยเมื่อจบช่วงชั้นที่ 3 มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 3 ดังต่อไปนี้ 1) สามารถอ่านอย่างมีสมรรถภาพและอ่านได้เร็วยิ่งขึ้น 2) เข้าใจวงคําศัพท์ที่กว้างขึ้น สํานวนและโวหารที่ลึกซึ้ง แสดงความคิดเห็นเชิงวิเคราะห์ ประเมินค่าเรื่องที่อ่านอย่างมีเหตุผล 3) เลือกอ่านหนังสือและสื่อสารสนเทศ 4) เขียนเรียงความ ย่อความ และจดหมาย เขียนอธิบาย ชี้แจง รายงาน เขียนแสดงความคิดเห็น แสดงการโต้แย้ง และเขียนเชิงสร้างสรรค์ 5) สามารถสรุปความ จับประเด็นสําคัญ วิเคราะห์ วินิจฉัยข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น และจุดประสงค์ของเรื่องที่ฟังและดู
  • 14. 14 6) รู้จักเลือกใช้ภาษาเรียบเรียงข้อความได้อย่างประณีต จัดลําดับ ความคิดขั้นตอนในการนําเสนอตามรูปแบบของงานเขียนประเภทต่าง ๆ 7) พูดนําเสนอความรู้ ความคิด การวิเคราะห์ และการประเมิน เรื่องราวต่าง ๆ พูดเชิญชวน อวยพร และพูดในโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 8) เข้าใจธรรมชาติของภาษาและการนําภาษาต่างประเทศมาใช้ ในภาษาไทย 9) สามารถใช้ภาษาแสดงความคิดเห็น สร้างความเข้าใจ โน้มน้าวใจ ปฏิเสธ เจรจาต่อรอง ด้วยภาษาและกิริยาท่าทางที่สุภาพ 10)ใช้ทักษะทางภาษาในการแสวงหาความรู้ การทํางาน และใช้อย่าง สร้างสรรค์เป็นประโยชน์ 11) ใช้หลักการพินิจคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม พิจารณา วรรณคดีและวรรณกรรมให้เห็นคุณค่าและนําประโยชน์ไปใช้ในชีวิต 12) สามารถแต่งกาพย์ กลอน และโคลง 13) สามารถร้องเล่นหรือถ่ายทอดเพลงพื้นบ้านและบทกล่อมเด็ก ในท้องถิ่น 14) มีมารยาทการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด และมีนิสัย รักการอ่าน การเขียน 1.5 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย กาหนดไว้ดังนี้ สาระที่ 1 : การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 :ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดไปใช้ ตัดสินใจ แก้ปัญหาและสร้างวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน สาระที่ 2 : การเขียน มาตรฐาน ท 2.1 : ใช้กระบวนการเขียน เขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงาน การศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ สาระที่ 3 : การฟัง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 : สามารถเลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูด แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
  • 15. 15 สาระที่ 4 : หลักการใช้ภาษา มาตรฐาน ท 4.1 : เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็น สมบัติของชาติ มาตรฐาน ท 4.2 : สามารถใช้ภาษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้าง ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรม อาชีพ สังคม และ ชีวิตประจาวัน สาระที่ 5 : วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 : เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและ วรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง 1.6 กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้สอนจะต้องดาเนินการ ดังนี้ 1.6.1. เลือกรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนต้องเลือกรูปแบบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย และเหมาะสมกับผู้เรียน 1.6.2. คิดค้นเทคนิคกลวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ผู้สอนสามารถคิดค้น รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ และนามาใช้ให้เหมาะสม 1.6.3. จัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรียนรู้โดยคานึงถึงสภาพ และลักษณะของผู้เรียน เน้นให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติตามกระบวนการเรียนรู้อย่างมีความสุข ดังนี้ 1) การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริง ให้รู้ วิธีการแก้ปัญหาด้วยตนเอง รู้จักวิธีการวางแผน คิดวิเคราะห์ ประเมินผลการปฏิบัติงานได้ด้วย ตนเอง และฝึกการเป็นผู้นาและผู้ตาม ลักษณะของโครงงาน เป็นเรื่องของการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง ตรวจสอบ สมมติฐาน โดยอาศัยการศึกษา วิเคราะห์ ใช้ทักษะกระบวนการ 2) การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ เป็นวิธีการ ที่จะช่วยให้การดาเนินงานเป็นกลุ่มเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ ได้ผลงาน ความรู้สึกและ ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ร่วมงาน เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้าร่วม ในกิจกรรมการเรียนยึดกลุ่มเป็นแหล่งความรู้ที่สาคัญ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ปรึกษาหารือ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ช่วยให้เกิดการเรียนรู้พฤติกรรมของตนเองและผู้อื่น
  • 16. 16 ผู้เรียนค้นหาคาตอบได้ด้วยตนเองจนสามารถนาความรู้ ความเข้าใจจากการปฏิบัติงานไปใช้ใน ชีวิตประจาวันและอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุข 3) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความคิด มีวิธีการหลากหลาย วิธีการหนึ่งคือ การใช้คาถาม การตั้งคาถาม โดยใช้หมวกความคิด 6 ใบ เป็นการใช้คาถามอย่าง สร้างสรรค์ 4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เพื่อให้ผู้เรียนมีสมรรถภาพในการใช้ภาษาทั้งการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ด้วยการ จัดกิจกรรมในห้องเรียน ในโรงเรียนและในชุมชน เช่น การเล่าเรื่อง การอภิปราย การวิจารณ์ การโต้วาที การคัดลายมือ การเขียนเรียงความ การทําโครงงาน การประกวด การอ่าน การศึกษาค้นคว้า การแข่งขันตอบคําถาม การอ่านทํานองเสนาะ 5) การพัฒนาการเรียนรู้หลักการใช้ภาษา จะทาให้ผู้เรียนเข้าใจธรรมชาติ ของภาษาและวัฒนธรรมการใช้ภาษาไทย เกิดความตระหนักว่าภาษามีความสาคัญและมีพลัง กิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้หลักการทางภาษา จาเป็นต้องจัดควบคู่และสัมพันธ์กับกิจกรรม พัฒนาทักษะการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารทุกกิจกรรม 6) การพัฒนาการเรียนรู้วรรณคดีและวรรณกรรม ให้เห็นถึงวิถีชีวิต ของคนไทยในยุคสมัยต่างๆ และเป็นการปลูกฝังเกิดความซาบซึ้งในสุนทรียภาพของภาษาไทย เพื่อประโยชน์ในการดารงชีวิต เน้นให้ผู้เรียนใช้ทักษะภาษาเพื่อเรียนรู้เนื้อหาสาระด้วยการอ่าน พิจารณา วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าวรรณกรรมและวรรณคดีอย่างมีเหตุผล มีการนาเสนอ ความเข้าใจ ความซาบซึ้ง ข้อคิดและประโยชน์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งนี้จะเกิดผลทาให้ผู้เรียน มีนิสัยรักการอ่านและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นแนวทางในการผลิตผลงานเพื่อพัฒนา ตนเองและสังคม 7) การพัฒนาการเรียนรู้ภูมิปัญญาทางภาษาช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจวิถีชีวิต และ ศิลปะการใช้ภาษาของคนในท้องถิ่น เพื่ออนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาทางภาษา วิธีการที่กล่าวมานี้ ผู้สอนสามารถนามาปรับใช้ให้เหมาะสม โดยใช้เทคนิค วิธีการ อย่างหลากหลายที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนและเรียน อย่างมีความสุข ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพความพร้อมของผู้เรียนและธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ ที่เรียน เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ 1.7 การวัดผลประเมินผล
  • 17. 17 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้ภาษาไทย ผู้สอนต้องเข้าใจหลักการของการเรียนรู้ ภาษา เพื่อเป็นพื้นฐานในการวัดผลประเมินผล มีหลักการสาคัญ ดังนี้ 1.7.1 หลักการเรียนรู้ภาษา 1) ทักษะทางภาษา ฟัง พูด อ่าน เขียน ดู มีความสาคัญเท่า ๆ กัน และทักษะเหล่านี้มีความเกี่ยวเนื่องกัน และความก้าวหน้าของทักษะหนึ่ง จะมีผลต่อพัฒนาการ ทักษะอื่น ๆ 2) ผู้เรียนต้องได้รับการพัฒนาความสามารถทางภาษา เช่นเดียวกับ ทักษะการคิด ทักษะทางสังคม เมื่อผู้เรียนมีโอกาสใช้ภาษาตามความต้องการที่แท้จริงของตนเอง และในสภาพการณ์จริงทั้งในบริบททางวิชาการในห้องเรียน และชุมชนที่กว้างออกไป 3) ผู้เรียนต้องเรียนรู้การใช้ภาษาพูด ภาษาเขียนอย่างถูกต้อง ด้วย การฝึกฝน มิใช่การเรียนรู้กฎเกณฑ์ทางภาษาแต่อย่างเดียว การเรียนการใช้ภาษาที่ประกอบด้วย ไวยากรณ์ การสะกดคา และเครื่องหมายต่าง ๆ จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้น เมื่อผู้เรียนได้พัฒนาทักษะ ทางภาษาของตน 4) ผู้เรียนทุกคนต้องผ่านขั้นตอนการพัฒนาทางภาษาเช่นเดียวกัน แต่จะต่างกันในจังหวะก้าว และวิธีการเรียนรู้ของแต่ละคน โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง บุคคล 5) ภาษา และวัฒนธรรม มีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด หลักสูตร ที่ให้ความสาคัญ ให้ความเคารพ และเห็นคุณค่าของเชื้อชาติ วัฒนธรรม ภูมิหลังทางภาษา และความหลากหลายของภาษาจะช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้สึกที่ดีเกี่ยวกับตนเอง และกระตุ้น ให้ผู้เรียนเรียนรู้ 1.7.2 หลักการของการประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ 1) การประเมินผลในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพจะต้องส่งเสริม การเรียนรู้ของผู้เรียน 2) การประเมินผลจะต้องใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย 3) การประเมินผลจะต้องมีความเที่ยงตรง เชื่อถือได้และยุติธรรม 1.7.3 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลผลการเรียนของผู้เรียน วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ถูกนามาใช้ในการประเมินโดยทั่วไป เช่น การสังเกต การตรวจงานหรือผลงาน การทดสอบความรู้ การตรวจสอบการปฏิบัติและการแสดงออกอย่างไร ก็ตามมีการนาเสนอแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยพิจารณาจากเป้ าประสงค์ของการประเมิน
  • 18. 18 ที่เฉพาะเจาะจงในรายละเอียด เพื่อข้อมูลที่ได้จะสามารถนามาใช้ประโยชน์ต่อการปรับปรุง พัฒนากระบวนการเรียนรู้ได้อย่างแท้จริง ดังนี้ 1) การให้ตอบแบบทดสอบ ทั้งในลักษณะที่เป็นแบบเลือกคาตอบ ได้แก่ ข้อสอบแบบเลือกตอบ ถูก – ผิด และข้อสอบชนิดให้ผู้สอบสร้างคาตอบ ได้แก่ เติมข้อความในช่องว่าง คาตอบสั้นเป็นประโยค เป็นข้อความ เป็นแผนภูมิ 2) การดูจากผลงาน เช่น เรียงความ รายงานการวิจัย บันทึกประจาวัน รายงานการทดลอง บทละคร บทร้อยกรอง แฟ้มผลงาน เป็นต้น ผลงานจะเป็นสิ่งแสดงให้เห็น การนาความรู้และทักษะไปใช้ในการปฏิบัติงานของผู้เรียน 3) สังเกตการปฏิบัติ สังเกตการนาทักษะและความรู้ไปใช้โดยตรงใน สถานการณ์ที่ให้ปฏิบัติจริง วิธีการนี้ถูกนาไปใช้อย่างกว้างขวางในการประเมิน การปฏิบัติที่มี ระเบียบ ข้อบังคับ เช่น การร้องเพลง ดนตรี พลศึกษา การโต้วาที การกล่าวสุนทรพจน์ ละครเวที 4) สังเกตกระบวนการ วิธีการนี้จะให้ข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการเรียนรู้ กระบวนการคิดของผู้เรียนมากกว่าที่จะดูผลงาน หรือการปฏิบัติ ซึ่งจะทาให้กระบวนการคิด ที่ผู้เรียนใช้วิธีการที่พบว่าครูผู้สอนใช้อยู่เป็นประจาในกระบวนการเรียนการสอน คือ การให้ นักเรียนคิดดัง ๆ การตั้งคาถามให้นักเรียนตอบ โดยครูจะเป็นผู้สังเกตวิธีการคิดของผู้เรียน วิธีการเช่นนี้เป็นกระบวนการที่จะให้ข้อมูลเพื่อการวินิจฉัย และเป็นข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเหมาะกับการประเมินพัฒนาการด้านคุณธรรม จริยธรรม และลักษณะนิสัย (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544 : 1 - 22) สรุปได้ว่า หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ต้องการสอนภาษาเพื่อใช้เป็น เครื่องมือในการสื่อสาร ใช้ภาษาไทยในการแสวงหาความรู้ เพื่อนาความรู้มาพัฒนาตนเอง สอนภาษาไทยในด้านกฎเกณฑ์ทางภาษาเพื่อให้ใช้ภาษาได้ถูกต้อง สละสลวย และเน้นให้ศึกษา วรรณกรรมและวรรณคดีเพื่อให้เข้าใจสภาพสังคมและวัฒนธรรมรวมถึงภูมิปัญญาทางภาษา โดยวิธีการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และคานึงศักยภาพและความแตกต่างระหว่างบุคคล จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยสื่อนวัตกรรมอย่างหลากหลาย และวัดผลประเมินผลจากแหล่งข้อมูล หลากหลายตามสภาพจริงเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพและความแตกต่างระหว่าง บุคคล
  • 19. 19 2. หลักการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย การจัดกิจกรรมการรู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ มุ่งให้ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง จากการปฏิบัติกิจกรรมและวิธีการเรียนที่หลากหลาย เรียนรู้จากสื่อ รู้วิธีการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง ส่งเสริมให้ผู้เรียนสรุปองค์ความรู้ และประเมินตนเอง โดยครูผู้สอนเปลี่ยนบทบาทจากการบอก บรรยาย เป็นการวางแผนจัดกิจกรรม แนะแนวทาง วิธีการเรียนรู้ ให้หลักการและสร้างสื่อการเรียนรู้ให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรม จนผู้เรียน ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง การจัดการเรียนรู้ควรคํานึงถึงความสําคัญในเรื่องต่อไปนี้ 2.1 การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 2.1.1 การเรียนรู้อย่างมีความสุข จัดกิจกรรมการเรียนการสอนในบรรยากาศ ที่เป็นอิสระแต่มีระเบียบวินัยในตนเอง ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งเสริมผู้เรียน ให้ประสบความสําเร็จตามศักยภาพของตน เกิดความภาคภูมิใจอันเกิดจากความสําเร็จ เรียนรู้ จากสื่อที่เหมาะสม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ผู้สอนกับผู้เรียน และผู้เรียนด้วยกันเอง มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน 2.1.2 การเรียนรู้แบบองค์รวม บูรณาการสาระการเรียนรู้และ กระบวนการเรียนรู้เข้าด้วยกัน เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ลึกซึ้งครอบคลุมปัญหา และ มีความหมายต่อการดํารงชีวิต 2.1.3 การเรียนรู้ต้องปรับวัฒนธรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ผู้เรียนต้องมีลีลา การเรียนรู้ของตนเอง มีอิสระในการเรียน มีความรับผิดชอบสูง มีวินัยในตนเอง มีความพยายาม และมุ่งมั่นต่อความสําเร็จ มีคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งครูต้องปลูกฝังและสร้างให้เกิดแก่ผู้เรียน ควบคู่ไปกับกระบวนการเรียนรู้ 2.1.4 การเรียนรู้จากการคิดและการปฏิบัติจริง เรียนรู้โดยการประมวลข้อมูล ความรู้จากประสบการณ์ต่างๆ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ มาสรุปสร้างเป็นองค์ความรู้ ด้วยตนเอง 2.1.5 การเรียนรู้ร่วมกับบุคคลอื่น การเรียนรู้ที่มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ด้วยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ข้อมูล ความคิด ทําให้เกิดการเรียนรู้ที่หลากหลาย ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เป็นการปลูกฝังคุณธรรมการอยู่ร่วมกัน ทําให้เกิดการพัฒนาทักษะทางสังคม 2.1.6 การเรียนรู้โดยมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนและผลงาน เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนร่วมกันวางแผนการจัดการเรียนรู้ ปฏิบัติกิจกรรม และสร้างชิ้นงานร่วมกัน ผู้เรียน
  • 20. 20 จะเกิดการเรียนรู้ทักษะกระบวนการ และการทํางานร่วมกัน รู้บทบาทหน้าที่และความ รับผิดชอบต่อส่วนร่วม 2.1.7 การเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้ เป็นการเรียนรู้ลีลาการเรียนรู้และ ความถนัดของแต่ละคนทําให้ผู้เรียนค้นพบความสามารถ ความถนัดของตน เพื่อพัฒนา ให้เกิดประโยชน์ต่อไป 2.2 คุณลักษณะและบทบาทของผู้สอนต่อการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย 2.2.1 คุณลักษณะของผู้สอน 1) มีความรู้ความเข้าใจในการจัดหลักสูตรโดยเฉพาะกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย 2) มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหาภาษาไทยเป็นอย่างดี 3) ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้ดี เป็นแบบอย่างแก่ผู้อื่น 4) มีความริเริ่มสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 5) เป็นผู้ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองให้ทันสมัย ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ 6) มีความสามารถในการวัดผลและประเมินผล การเรียนภาษาไทย หลายรูปแบบ ตามหลักการวัดผลและประเมินผล 7) มีความรู้ความเข้าใจด้านจิตวิทยา เข้าใจลักษณะธรรมชาติและ ความต้องการของผู้เรียนเป็นอย่างดี 8) มีคุณลักษณะของครูดีที่พึงประสงค์ ได้แก่ ใจดี ยิ้มแย้มแจ่มใส มีอารมณ์ขัน พูดจาไพเราะ มีเมตตา ขยัน อดทน เอาใจใส่ผู้เรียนอย่างทั่วถึง มีเวลาให้ผู้เรียน เข้าพบและปรึกษาหารือ มีความเป็นมิตร มีความยุติธรรม ใจกว้างยอมรับความคิดเห็น ของผู้เรียน และไวต่อความคิด ความรู้สึกของผู้เรียนและมีคุณธรรม 9) เป็นแบบอย่างที่ดีด้านความประพฤติ และมีบุคลิกภาพที่สง่างาม 2.2.2 บทบาทหน้าที่ของผู้สอน 1) ทําหน้าที่พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยร่วมกับ คณะครูในกลุ่ม โดยทําหน้าที่ 4 ประการ คือ พัฒนาหลักสูตร ใช้หลักสูตร วิจัยและประเมิน หลักสูตรและปรับปรุงหลักสูตร 2) จัดบรรยากาศและกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเรียนอย่างมีความสุข