SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
LOGO
กรอบการนาเสนอ
 โลกาภิวัตน์คืออะไร
 เศรษฐกิจใหม่
 The World is Flat
 การเชื่อมโยง 3 ประการ
 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
 แนวทางในการเผชิญโลกาภิวัตน์
โลกเปลี่ยนแปลง
4
การยุติลงของสงครามเย็น
การเกิดของกระแสโลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์ (Globalization )
เป็นคําที่เกิดมาก่อนหน้าทศวรรษ 1990
เริ่มต้นจากนักวิจารณ์ด้านวัฒนธรรมชาวแคนาดา Marshall McLuhan
(1964) ที่เขากล่าวถึงหมู่บ้านโลก (global village) ซึ่งหมายถึง
 โลกยุคใหม่ที่ตั้งอยู่บนฐานของเทคโนโลยี อันนําไปสู่ความเปลี่ยนแปลงที่เร่ง
เร็วขึ้นในทุกระดับของสังคมมนุษย์
เริ่มเป็นที่นิยมใช้ในแวดวงวิชาการและสื่อสารมวลชน เมื่อต้นทศวรรษ
1990
ครอบคลุมทั้งด้านการเมือง เศรษฐศาสตร์ วัฒนธรรมและเทคโนโลยีการ
สื่อสาร รวมทั้งยังมีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อของคนจํานวนมากในยุค
สมัยใหม่ ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
โลกาภิวัตน์คืออะไร
คือปรากฏการณ์ที่หลอมรวมความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรม ที่เกิดขึ้นในทุกมุมส่วนของโลก ให้มีความเป็น
อันหนึ่งอันเดียวกันและใกล้ชิดกันมากขึ้นตามแบบอย่างโลกตะวัน
ตก อย่างที่ไม่เคยปรากฏขึ้นมาก่อน เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในพื้นที่
ห่างไกลและข้ามพรมแดนรัฐ สามารถถูกรับรู้ได้ทันที่ ทําให้โลกมี
ลักษณะเป็นหมู่บ้านโลก โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เป็นตัวช่วยสนับสนุน
ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
เศรษฐกิจใหม่
 เป็นระบบการผลิตที่อาศัยปัจจัยสําคัญ คือ ความรู้ และข้อมูล กําไร
อันเกิดจากการสร้างความรู้ใหม่ และรู้ข้อมูลใหม่ประสมกับการ
จัดการที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น ทุน สําคัญของเศรษฐกิจใหมจึงไม่ใช่
เครื่องจักรหรือวัตถุดิบ แต่เป็น “คน” หรือทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้
ความสามารถ
 เป็น นวัตกรรมใหม่ของธุรกิจในระบบเศรษฐกิจที่มีโครงสร้าง
พื้นฐานด้านข้อมูลข่าวสารเป็นรากฐานสําคัญ โดยเป็นการรวมกันของ
ธุรกิจในภาคคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และสาระความรู้ อันหนึ่งของ
โลกาภิวัตน์ กล่าวคือ ความรู้เป็นทรัพยากรที่สําคัญในองค์กร
ท่ามกลางการติดต่อสื่อสารของโลกที่ไร้ขีดจํากัด7
Feasibility: The Shrinking Globe
1500 -1840 1850 - 1930 1950s 1960s
Best average speed of
horse-drawn coaches
and sailing ships, 10
mph.
Steam locomotives
average 65 mph.
Steamships average
36 mph.
Propeller
aircraft
300 - 400
mph.
Jet
passenger
aircraft,
500 - 700
mph.
The World is Flat (1)
(1) Globalization-1.0 เริ่มจากปี ค.ศ. 1942 มีกลไกการเปลี่ยนแปลงคือประเทศ
ตะวันตก เช่น สเปนและอังกฤษ เป็นต้น ที่เดินทางแสวงหาอาณานิคม ทําให้
โลกเสมือนลดขนาดลงจากขนาดใหญ่เป็นขนาดกลาง
(2) Globalization-2.0 เริ่มจากปี ค.ศ. 1800 โดยกลไกคือบริษัทข้ามชาติที่แสวงหา
ตลาดและแรงงานในโลกตะวันออก ทําให้โลกเสมือนลดจากขนาดกลางเป็น
ขนาดเล็ก
(3) Globalization-3.0 เริ่มจากปี ค.ศ. 2000 ที่เทคโนโลยีสารสนเทศทําให้โลก
เสมือนลดจากขนาดเล็กเป็นขนาดจิ๋ว โดยกลไกคือคนทุกคนและทุกกลุ่มที่
สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี (plug and play) และร่วมในกระแสโลกาภิวัตน์นี้ได้
โดยไม่จํากัดเฉพาะชาวโลกตะวันตกอีกต่อไป
9
The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
The World is Flat (2)
10 เหตุการณ์ที่ทาให้โลกแบน
1. 11/9/89 The wall came down and Windows came up. วันที่ 9
พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 (11/9) กําแพงเบอร์ลินถูกทําลาย ซึ่งเป็น
สัญลักษณ์ของการเริ่มโลกไร้พรมแดน และหลังจากนั้นอีก 5 เดือน
โปรแกรม Windows 3.0 เริ่มวางตลาด
10
The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
The World is Flat (3)
2. 8/9/95 People to people connectivity วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1995
บริษัท Netscape เข้าเป็นบริษัทมหาชน ซึ่งทําให้เกิดสิ่งสําคัญ 3 เรื่อง
2.1) มี Browser ที่ทําให้การใช้Internet เกิดเป็นที่นิยมทั่วโลก
2.2) ทําให้มีมาตรฐานที่การติดต่อสื่อสารและเชื่อมโยงกันระหว่างผู้ใช้
คอมพิวเตอร์ระบบต่าง ๆ เกิดขึ้นได้
2.3) เกิดกระแส Dot-Com boom จนเกิดการลงทุนในการวางสาย Fiber
Optic มูลค่าประมาณ 1 ล้านล้านเหรียญ ซึ่งทําให้เกิดการสื่อสารได้ทั่ว
โลกโดยต้นทุนการส่งเอกสาร เพลง หรือข้อมูลลดลงอย่างมหาศาล
11
The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
The World is Flat (4)
3. Work Flow Software (Application to Application Connectivity)
การที่มีมาตรฐานและการเชื่อมโยงให้เกิดการสื่อสารกันได้ระหว่างผู้ที่
ใช้คอมพิวเตอร์ต่างกันและโปรแกรมต่างกันได้ทําให้เกิดการแปลี่ยน
แปลงในกระบวนการทํางาน (work flow) อย่างมาก การแบ่งปัน
ความรู้และการร่วมงานกันเกิดขึ้นระหว่างคนที่อยู่ต่างสถานที่ ต่าง
เวลา ต่างงานกัน อย่างไม่เคยเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์
12
The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
The World is Flat (5)
4. Open-sourcing เช่นการเปิดให้ใช้โปรแกรม Linux ฟรีแก่คนทั่วไป
ทําให้เกิดรูปแบบใหม่ของการสร้างสรรค์(new industrial model of
creation) และการร่วมทํางาน เช่น นักศึกษาอายุ 19 ปีของมหาวิทยาลัย
Stanford ประเทศสหรัฐอเมริการ่วมกับนักศึกษาอายุ 24 ปี ในประเทศ
New Zealand พัฒนาโปรแกรม Firefox Web Browser โดยไม่เคยพบ
ตัวกันเลย และโปรแกรมได้มีผู้download ไปใช้แล้วกว่า 10 ล้านคน
13
The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
The World is Flat (6)
5. Outsourcing เป็นรูปแบบใหม่ของการร่วมกันในกระบวนการทํางาน
โดยกิจกรรมต่าง ๆ ของบริษัท สามารถแยกออกไปทํานอกบริษัทในที่
อื่นได้
6. Offshoring การที่จีนเข้าร่วม WTO กระตุ้นการย้ายฐานการผลิตหรือ
แยกกิจกรรมต่าง ๆ ของบริษัทไปต่างประเทศ (Offshoring) ที่มีต้นทุน
ถูกกว่ามากขึ้น
14
The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
The World is Flat (7)
7. Supply Chaining การบริหารห่วงโซ่อุปทานในปัจจุบันทําได้อย่างมี
ประสิทธิภาพมาก บริษัท Wal-Mart ซื้อของจากประเทศจีนเป็นมูลค่า
อันดับที่ 8 เมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้าของจีน (มากกว่าการส่งออกของ
จีนไปแคนนาดา หรือ ออสเตรเลีย)
15
The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
The World is Flat (8)
8. Insourcing คือการที่บริษัทเข้าไปทํางานต่าง ๆ ในบริษัทอื่น
เช่น UPS ซึ่งขณะนี้รับทํางาน logistics ให้กับหลายบริษัท การ
ดูแลและให้บริการแก่ลูกค้าซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ของ
Toshiba หรือการให้บริการลูกค้าสั่งซื้อรองเท้าทาง nike.com
นั้นจะดําเนินการโดย UPS ตั้งแต่การตอบโทรศัพท์ซ่อมของ
ห่อของ ส่งของจนถึงการเก็บเงิน
16
The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
The World is Flat (9)
9. In-forming เราสามารถหาข้อมูลให้ตัวเองได้อย่างง่ายดายจาก Internet
และ search engine เช่น Google
10. The Steroids Wireless and Voice over the Internet เป็นเครื่องมือ
ที่เหมือนยาชูกําลังที่จะทําให้การร่วมงานในรูปแบบต่างๆ ทําได้โดยมี
ประสิทธิภาพมาก เนื่องจากเราจะสามารถเชื่อมต่อกับใครก็ได้ที่ไหน
ก็ได้ด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย
17
The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
The World is Flat (9)
18
The World is Flat:
A Brief History of the
Twenty-First Century
โดย Thomas L. Friedman
ก่อให้เกิดการเชื่อมโยง 3 ประการ (1)
1. กระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงประสานกันทางเศรษฐกิจระหว่างนานา
ประเทศ : ส่งผลให้มีการไหลเวียนของสินค้า บริการ เงินทุน ผู้คน และทรัพยากรที่
ข้ามพ้นกําแพงรัฐชาติ การปฏิสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ เชื่อมโยงกันจนเป็นอาณาบริเวณที่
กว้างขวาง โดยโลกเศรษฐกิจจะไม่มีพรมแดนในลักษณะที่สอดคล้องกับการแบ่งเขต
เกี่ยวข้องกับ ดินแดนหรืออาณาเขต ซึ่งเป็นเรื่องของรัฐ (State) แต่เป็นเขตแดนทาง
เศรษฐกิจ และรูปแบบการผลิตแบบห่วงโซ่ข้ามชาติก็เป็นที่แพร่หลาย เมื่อสินค้าชิ้นเดียว
แต่มีส่วนประกอบต่างๆ ที่ถูกผลิตขึ้นในหลายๆ ประเทศ บางครั้งก็รู้จักกันในนาม
'Mcdonaldization' จุดประสงค์หลักสําคัญเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ของ บริษท์โตโยต้า ใช้เทคโนโลยีและการพัฒนา
จากประเทศญี่ปุ่น อาศัยการชิ้นส่วนเช่น ล้อ ตัวถัง จากประเทศจีน แต่กลับนําไปประกอบ
เป็นตัวรถยนต์ในประเทศไทยแทน เป็นต้น
20
ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
ก่อให้เกิดการเชื่อมโยง 3 ประการ (3)
2.กระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงประสานทางแนวความคิด ความเชื่อ และ
อุดมการณ์ อาทิ ความเป็นประชาธิปไตย (Democratization หรือ กระบวนการทําให้
เป็นประชาธิปไตย) สิทธิมนุษยชน (Human right) การจัดการปกครองที่ดี (Good
Governance) การค้าเสรี (Free Trade) ตลอดจน วัฒนธรรมความทันสมัยแบบตะวันตก
เป็นต้น ในฐานะอุดมการณ์หลักแห่งยุคสมัยที่ถูกแผ่ขยายไปทั่วโลก ซึ่งผู้คนโดยทั่วไป
เรียกกันอย่างเต็มปากเต็มคําว่า "ยุคโลกาภิวัตน์"โดยคิดและอุดมการณ์เหล่านี้ มีผลอย่าง
มากต่อการจัดการปกครองทางการเมืองและสังคมของประเทศต่างๆทั่วโลกใน ปัจจุบัน
21
ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
ก่อให้เกิดการเชื่อมโยง 3 ประการ (2)
3.กระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงประสานโลกให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นับตั้งแต่การล่มสลายของระบบ
สังคมนิยมในสหภาพโซเวียต สหรัฐฯได้เข้ามาจัดระเบียบโลก (The New World Order)
หลังยุคสงครามเย็นสิ้นสุด โดยสหรัฐฯ มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาและริเริ่มเทคโนโลยี
สารสนเทศใหม่ๆ พร้อมกันกับเผยแพร่เทคโนโลยีออกไปโดยรวดเร็วไปพร้อมกับ
วัฒนธรรมแบบอเมริกัน เช่น โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมที่สามารถรายงานข่าวสาร สาระจาก
พื้นที่หนึ่งของโลก ให้กระจายไปทั่วโลกได้ทันที่ ผ่าน CNN, BBC อินเตอร์เน็ตที่ถ่ายทอง
ความคิด ความเชื่อผ่านทางเว็บไซด์ต่างๆร่วมถึงการเผยแพร่วัฒนธรรมอเมริกันผ่านสื่อ
เช่น ในรูปแบบภาพยนตร์ผ่าน Hollywood ในรูปแบบแฟชั่น ดนตรีเพลงผ่าน โทรทัศน์
ช่อง MTV เป็นต้น
22
ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
Globalisation
Globalization could involve all these things!
สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (1)
1. ความกระชับแน่นระหว่างเวลากับสถานที่ (Time Space
Compression): ทั้งนี้เนื่องมาจากนวัตกรรมทางด้าน
โทรคมนาคมสื่อสารและข่าวสารสมัยใหม่ ทําให้โลกมีขนาด
เล็กลง ส่วนต่าง ๆ โดยเชื่อมต่อทําให้ข้อมูลข่าวสารสามารถ
ไหลเวียนไปมายังส่วนต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น
25
ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (2)
2. การสลายเส้นแบ่งและการลากเส้นแบ่งใหม่
(Deterritorialization/Reterritorialization): เมื่อความกระชับแน่นระหว่าง
เวลากับสถานที่เกิดขึ้น ข้อมูลข่าวสารที่ไหลเวียนไปมาในโลก ทําให้โลกเกิด
ความไม่มั่นคง เส้นหรือกรอบต่าง ๆ ที่ได้ถูกขีดเส้นไว้ตั้งแต่ในอดีต ได้ถูกตั้ง
คําถามและนําไปสู่การลากเส้นแบ่งใหม่ ๆ เพิ่มมากขึ้น เช่น การรวมกลุ่มของ
กลุ่มนาซีใหม่ (Neo Nazi) ที่กระจัดกระจายตามที่ต่าง ๆ ในโลก โดยใช้การ
สื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต ให้การแบ่งแยกกลุ่มนาซีใหม่นั้นไม่ได้จํากัดเฉพาะ
คนที่อยู่ในพื้นที่ภูมิศาสตร์เดียวกัน แต่นววัตกรรมของเทคโนโลยีคมนาคม
สื่อสาร ทําให้เกิด การขีดเส้นแบ่งใหม่ตามความชอบหรือความเชื่อในสิ่ง
เดียวกัน
26
ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (3)
3. สังคมความรู้ข่าวสาร (Information and Knowledge Society):
เมื่อข่าวสารข้อมูลไหลเวียนไปมาสะดวกในที่ต่าง ๆ ทําให้ข้อมูล
ข่าวสารต่าง ๆ กลายมาเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดําเนินการในเรื่อง
ต่าง ๆ ทุกเรื่องในชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่ใช้ตั้งแต่ตื่นนอน
ยันนอนหลับ หรือข้อมูลที่ใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจการต่าง ๆ ที่
ดําเนินการ
27
ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า
12 – 16
สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (4)
4. ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมใหม่ (New Social Movement):
การเกิดขึ้นของกระแสโลกาภิวัตน์ได้ส่งผลตามมาคือความขัดแย้งที่
เกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งความขัดแย้งทางด้านการเมือง การ
ปกครอง หรือแม้กระทั่งความขัดแย้งทางสังคม และความขัดแย้ง
เหล่านี้เป็นเรื่องที่ไม่สามารถแก้ไขได้โดยลําพัง เพราะปัญหาต่าง ๆ
มีความสลับซับซ้อน ต้องอาศัยความร่วมมือจากฝ่ายต่าง ๆ โดยใช้
แนวทางสมานฉันท์ทําให้เกิดแนวทางที่เรียกว่าการเมืองภาค
ประชาชนตามมา
28
ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (5)
5. ความเปราะบางทางการเมือง: การก่อการร้ายสากล (Political
Fragility: Transnational Terrorism): การก่อการร้ายและการทํา
สงครามเพื่อต่อต้านการก่อการร้าย ถือได้ว่าเป็นวาระของโลก เพราะ
ข้อมูลข่าวสารที่ไหลเวียนไปมาอย่างรวดเร็วด้วยความรวดเร็วไม่ว่าผู้
ส่งสาร และผู้รับสารจะอยู่ที่ใดในโลก ทําให้กลุ่มก่อการร้ายที่ใช้
ความรุนแรงเป็นอาวุธ อาศัยช่องทางจากความก้าวหน้าในระบบ
โทรคมนาคมสื่อสารทําการเผยแพร่ความรุนแรงที่เกิดอย่างแพร่หลาย
ได้ก่อให้เกิดหวาดกลัวในสังคมทั่วไป และรวมไปถึงการเคลื่อนไหว
ที่อาจก่อให้เกิดความรุนแรงในสังคมไทย
29
ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (6)
6. ความเปราะบางทางเศรษฐกิจ: ทุนนิยม ดอทคอม.คอม (Economic
Fragility: Dot.Com Capitalism): การเกิดขึ้นของนวัตกรรมเทคโนโลยี
สารสนเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งอินเตอร์เน็ต (Internet) ได้ส่งผลให้เกิดการ
พาณิชย์อิเลคทรอนิคส์ (e-Commerce) ตามมา และอินเตอร์เน็ตยังก่อเกิดระบบ
เศรษฐกิจที่เรียกว่า “เศรษฐกิจใหม่” (New Economy) โดยในเศรษฐกิจใหม่นั้น
ผู้ค้าและผู้ซื้อสามารถทําธุรกรรมได้ตลอดเวลาหรือที่เรียกว่า สามารถขายของ
ได้24 ชั่วโมง 7 วัน (24/7) และผู้ค้าสามารถกําหนดกลุ่มของลูกค้าเป้าหมาย
ของตนเองได้(Niche Market) ตามความเฉพาะของกลุ่มลูกค้าและ
ความสามารถของผู้ค้าเอง
30
ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง (1)
1. แนวความคิดในเรื่องของอานาจอธิปไตย: อํานาจอธิปไตยที่เคยมีความเด็ดขาด
เหนืออาณาเขตมาตั้งแต่สนธิสัญญาเวสฟาเลีย เมื่อ ค.ศ.1648 (พ.ศ.2191) สู่
อํานาจอธิปไตยแบบจักรวรรดิข้ามอาณาเขตรัฐชาติ และได้พัฒนาไปสู่อํานาจ
อธิปไตยแบบจักรวรรดิข้ามอาณาเขตรัฐชาติแบบใหม่ในกระโลกาภิวัฒน์อย่าง
ในกรณีของการยึดครองอัฟกานิสถานและอิรักของสหรัฐ ฯ ที่ผ่านมา การใช้
อํานาจอธิปไตยในรูปแบบใหม่ในยุคโลกไร้พรมแดน นี้ทําให้เกิดการท้าทาย
และถูกตั้งคําถามอย่างมาก และสิ่งที่ตามมาคือบทบาทที่สําคัญของอํานาจ
อธิปไตยเหนือดินแดนตามแนวคิดของรัฐชาติได้ถูกลดบทบาทลง แต่องค์กร
เหนือชาติ อย่างเช่น สหประชาชาติกลับมามีบทบาทมาขึ้นในเวทีโลก
31
ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า
12 – 16
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง (2)
2. ระบบรัฐ-ชาติที่ถูกท้าทายโดยกระแสโลกาภิวัฒน์: เมื่อระบบรัฐชาติได้
ถูกท้าทายจากประแสโลกาภิวัฒน์อย่างมาก และในทํานองกลับกัน
การเพิ่มบทบาทของตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state Actors) อย่างเช่น
องค์กรอิสระต่าง ๆ กลับกลายมาเป็นกลุ่มมีที่บทบาทในการ ต่อรอง
ต่อต้าน ขัดขืน และท้าทายอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนของรัฐ และ
นําไปสู่การเคลื่อนไหวเรียกร้องของภาคประชาชนทั่วโลก ซึ่งนําไปสู่
แนวคิดเรื่องประชาสังคมโลกและถือเป็นการถ่วงดุลอํานาจของรัฐชาติ
และจักรวรรดิ
32
ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง (3)
3. การแยกความแตกต่างระหว่างรัฐบาลและการบริหารจัดการ: คําว่ารัฐบาล
(Government) เป็นรูปแบบการบริหารจัดการภาคสาธารณะที่กระทําบน
พื้นฐานของอาณาเขตและพื้นที่ของของประเทศตามแนวคิดในสนธิสัญญา
เวสฟาเลีย ปัจจุบัน การแยกกรอบของการบริหารจัดการนั้นจะต้อง
เปลี่ยนแปลงไป เป็นการบริหารจัดการ (Governance) ในโลกยุคหลัง
สงครามเย็นการบริหารจัดการจะมีการเปลี่ยนแปลงที่ช่วยให้สังคมโลกมี
ดุลยภาพระหว่างอํานาจรัฐ และตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ อยู่ 2 ประการคือ
(1) ความคิดเรื่องการบริหารจัดการระดับโลก
(2) ความคิดในเรื่องของประชาสังคมโลก
33
ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
Source : Dr. Suvit Maesincee - Thailand in the New Global Landscape
แนวทางในการเผชิญโลกภิวัตน์
แนวทางในการเผชิญโลกภิวัตน์ที่มีประสิทธิภาพ
1. ใช้องค์ความรู้อย่างสูงสุด (Maximize Knowledge)
2. ดําเนินการอย่างรวดเร็ว (Rapidity)
3. ควบคุมสภาวะแวดล้อม (Control of the Environment)
4. ปฏิบัติอย่างชาญฉลาด (Brilliance)
37
สรุป
โลกาภิวัตน์ได้เชื่อมโยงหลอมรวมความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรม ของโลกให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และเนื่องจาก
ความจาเริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information
Technology) ได้มีส่วนทาลายพรมแดนระหว่างรัฐ ที่เป็นอุปสรรคขว้าง
กั้น ในความหมายเดิมลงไปอย่างสิ้นเชิง โลกในปัจจุบันจึงเปรียบเหมือน
ถูกย่อทางด้านกาล (Time) เทศะ (Space) และถูกผนวกรวมความคิด
ความเชื่อ ให้เป็นไปในแนวทางที่สอดคล้องกันมากขึ้น จนทาให้สังคม
โลกเล็กลงจนมีขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าหมู่บ้าน ซึ่งใครหลายคนเรียก
ลักษณะเช่นนี้ว่าเป็น "หมู่บ้านโลก" (Global Village)
39
บทส่งท้าย
ขออย่าให้เป็น
“รู้เท่าเขา แต่รู้ไม่ทันเขา”
40
41
คาถาม ?teeranan@rtarf.mi.th
teeranan@nandhakwang.info
http://tortaharn.net
089-8933126

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่nanpapimol
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์Thida Noodaeng
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 

What's hot (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

Similar to Globalization1

World issues
World issuesWorld issues
World issuesTeeranan
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155Teeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 
ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1Duangsuwun Lasadang
 
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...ชัยวัฒน์ ปะสุนะ
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Lao-puphan Pipatsak
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์Jib Dankhunthot
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueSarinee Achavanuntakul
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศChainarong Maharak
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศonthicha1993
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการjansaowapa
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 

Similar to Globalization1 (18)

World issues
World issuesWorld issues
World issues
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1ใบความรู้ สารสนเทศ1
ใบความรู้ สารสนเทศ1
 
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
กิจการกระจายเสียงและโทรทัศน์: การศึกษาพัฒนาการกฎหมายการสื่อสารไทย คริสต์ศตวรร...
 
Social Networking For Organizations
Social Networking For OrganizationsSocial Networking For Organizations
Social Networking For Organizations
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
Aw22
Aw22Aw22
Aw22
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to DialogueThailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
Thailand Internet Governance: from Monologue to Dialogue
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
ใบความรู้ 1 เรื่อง การสื่อสารข้อมูลและพัฒนาการ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Pw7 9
Pw7 9Pw7 9
Pw7 9
 

More from Teeranan

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_Teeranan
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern thTeeranan
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Teeranan
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55Teeranan
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politicsTeeranan
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTeeranan
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Teeranan
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTeeranan
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social networkTeeranan
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailandTeeranan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
Military power
Military powerMilitary power
Military powerTeeranan
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalismTeeranan
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflictTeeranan
 

More from Teeranan (20)

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern th
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politics
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airport
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailand
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflict
 

Globalization1

  • 2. กรอบการนาเสนอ  โลกาภิวัตน์คืออะไร  เศรษฐกิจใหม่  The World is Flat  การเชื่อมโยง 3 ประการ  ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง  แนวทางในการเผชิญโลกาภิวัตน์
  • 3.
  • 5. โลกาภิวัตน์ (Globalization ) เป็นคําที่เกิดมาก่อนหน้าทศวรรษ 1990 เริ่มต้นจากนักวิจารณ์ด้านวัฒนธรรมชาวแคนาดา Marshall McLuhan (1964) ที่เขากล่าวถึงหมู่บ้านโลก (global village) ซึ่งหมายถึง  โลกยุคใหม่ที่ตั้งอยู่บนฐานของเทคโนโลยี อันนําไปสู่ความเปลี่ยนแปลงที่เร่ง เร็วขึ้นในทุกระดับของสังคมมนุษย์ เริ่มเป็นที่นิยมใช้ในแวดวงวิชาการและสื่อสารมวลชน เมื่อต้นทศวรรษ 1990 ครอบคลุมทั้งด้านการเมือง เศรษฐศาสตร์ วัฒนธรรมและเทคโนโลยีการ สื่อสาร รวมทั้งยังมีอิทธิพลต่อความคิด ความเชื่อของคนจํานวนมากในยุค สมัยใหม่ ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
  • 6. โลกาภิวัตน์คืออะไร คือปรากฏการณ์ที่หลอมรวมความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ที่เกิดขึ้นในทุกมุมส่วนของโลก ให้มีความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกันและใกล้ชิดกันมากขึ้นตามแบบอย่างโลกตะวัน ตก อย่างที่ไม่เคยปรากฏขึ้นมาก่อน เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ห่างไกลและข้ามพรมแดนรัฐ สามารถถูกรับรู้ได้ทันที่ ทําให้โลกมี ลักษณะเป็นหมู่บ้านโลก โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เป็นตัวช่วยสนับสนุน ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
  • 7. เศรษฐกิจใหม่  เป็นระบบการผลิตที่อาศัยปัจจัยสําคัญ คือ ความรู้ และข้อมูล กําไร อันเกิดจากการสร้างความรู้ใหม่ และรู้ข้อมูลใหม่ประสมกับการ จัดการที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น ทุน สําคัญของเศรษฐกิจใหมจึงไม่ใช่ เครื่องจักรหรือวัตถุดิบ แต่เป็น “คน” หรือทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ  เป็น นวัตกรรมใหม่ของธุรกิจในระบบเศรษฐกิจที่มีโครงสร้าง พื้นฐานด้านข้อมูลข่าวสารเป็นรากฐานสําคัญ โดยเป็นการรวมกันของ ธุรกิจในภาคคอมพิวเตอร์ การสื่อสาร และสาระความรู้ อันหนึ่งของ โลกาภิวัตน์ กล่าวคือ ความรู้เป็นทรัพยากรที่สําคัญในองค์กร ท่ามกลางการติดต่อสื่อสารของโลกที่ไร้ขีดจํากัด7
  • 8. Feasibility: The Shrinking Globe 1500 -1840 1850 - 1930 1950s 1960s Best average speed of horse-drawn coaches and sailing ships, 10 mph. Steam locomotives average 65 mph. Steamships average 36 mph. Propeller aircraft 300 - 400 mph. Jet passenger aircraft, 500 - 700 mph.
  • 9. The World is Flat (1) (1) Globalization-1.0 เริ่มจากปี ค.ศ. 1942 มีกลไกการเปลี่ยนแปลงคือประเทศ ตะวันตก เช่น สเปนและอังกฤษ เป็นต้น ที่เดินทางแสวงหาอาณานิคม ทําให้ โลกเสมือนลดขนาดลงจากขนาดใหญ่เป็นขนาดกลาง (2) Globalization-2.0 เริ่มจากปี ค.ศ. 1800 โดยกลไกคือบริษัทข้ามชาติที่แสวงหา ตลาดและแรงงานในโลกตะวันออก ทําให้โลกเสมือนลดจากขนาดกลางเป็น ขนาดเล็ก (3) Globalization-3.0 เริ่มจากปี ค.ศ. 2000 ที่เทคโนโลยีสารสนเทศทําให้โลก เสมือนลดจากขนาดเล็กเป็นขนาดจิ๋ว โดยกลไกคือคนทุกคนและทุกกลุ่มที่ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี (plug and play) และร่วมในกระแสโลกาภิวัตน์นี้ได้ โดยไม่จํากัดเฉพาะชาวโลกตะวันตกอีกต่อไป 9 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 10. The World is Flat (2) 10 เหตุการณ์ที่ทาให้โลกแบน 1. 11/9/89 The wall came down and Windows came up. วันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ. 1989 (11/9) กําแพงเบอร์ลินถูกทําลาย ซึ่งเป็น สัญลักษณ์ของการเริ่มโลกไร้พรมแดน และหลังจากนั้นอีก 5 เดือน โปรแกรม Windows 3.0 เริ่มวางตลาด 10 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 11. The World is Flat (3) 2. 8/9/95 People to people connectivity วันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1995 บริษัท Netscape เข้าเป็นบริษัทมหาชน ซึ่งทําให้เกิดสิ่งสําคัญ 3 เรื่อง 2.1) มี Browser ที่ทําให้การใช้Internet เกิดเป็นที่นิยมทั่วโลก 2.2) ทําให้มีมาตรฐานที่การติดต่อสื่อสารและเชื่อมโยงกันระหว่างผู้ใช้ คอมพิวเตอร์ระบบต่าง ๆ เกิดขึ้นได้ 2.3) เกิดกระแส Dot-Com boom จนเกิดการลงทุนในการวางสาย Fiber Optic มูลค่าประมาณ 1 ล้านล้านเหรียญ ซึ่งทําให้เกิดการสื่อสารได้ทั่ว โลกโดยต้นทุนการส่งเอกสาร เพลง หรือข้อมูลลดลงอย่างมหาศาล 11 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 12. The World is Flat (4) 3. Work Flow Software (Application to Application Connectivity) การที่มีมาตรฐานและการเชื่อมโยงให้เกิดการสื่อสารกันได้ระหว่างผู้ที่ ใช้คอมพิวเตอร์ต่างกันและโปรแกรมต่างกันได้ทําให้เกิดการแปลี่ยน แปลงในกระบวนการทํางาน (work flow) อย่างมาก การแบ่งปัน ความรู้และการร่วมงานกันเกิดขึ้นระหว่างคนที่อยู่ต่างสถานที่ ต่าง เวลา ต่างงานกัน อย่างไม่เคยเกิดขึ้นในประวัติศาสตร์ 12 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 13. The World is Flat (5) 4. Open-sourcing เช่นการเปิดให้ใช้โปรแกรม Linux ฟรีแก่คนทั่วไป ทําให้เกิดรูปแบบใหม่ของการสร้างสรรค์(new industrial model of creation) และการร่วมทํางาน เช่น นักศึกษาอายุ 19 ปีของมหาวิทยาลัย Stanford ประเทศสหรัฐอเมริการ่วมกับนักศึกษาอายุ 24 ปี ในประเทศ New Zealand พัฒนาโปรแกรม Firefox Web Browser โดยไม่เคยพบ ตัวกันเลย และโปรแกรมได้มีผู้download ไปใช้แล้วกว่า 10 ล้านคน 13 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 14. The World is Flat (6) 5. Outsourcing เป็นรูปแบบใหม่ของการร่วมกันในกระบวนการทํางาน โดยกิจกรรมต่าง ๆ ของบริษัท สามารถแยกออกไปทํานอกบริษัทในที่ อื่นได้ 6. Offshoring การที่จีนเข้าร่วม WTO กระตุ้นการย้ายฐานการผลิตหรือ แยกกิจกรรมต่าง ๆ ของบริษัทไปต่างประเทศ (Offshoring) ที่มีต้นทุน ถูกกว่ามากขึ้น 14 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 15. The World is Flat (7) 7. Supply Chaining การบริหารห่วงโซ่อุปทานในปัจจุบันทําได้อย่างมี ประสิทธิภาพมาก บริษัท Wal-Mart ซื้อของจากประเทศจีนเป็นมูลค่า อันดับที่ 8 เมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้าของจีน (มากกว่าการส่งออกของ จีนไปแคนนาดา หรือ ออสเตรเลีย) 15 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 16. The World is Flat (8) 8. Insourcing คือการที่บริษัทเข้าไปทํางานต่าง ๆ ในบริษัทอื่น เช่น UPS ซึ่งขณะนี้รับทํางาน logistics ให้กับหลายบริษัท การ ดูแลและให้บริการแก่ลูกค้าซ่อมเครื่องคอมพิวเตอร์ของ Toshiba หรือการให้บริการลูกค้าสั่งซื้อรองเท้าทาง nike.com นั้นจะดําเนินการโดย UPS ตั้งแต่การตอบโทรศัพท์ซ่อมของ ห่อของ ส่งของจนถึงการเก็บเงิน 16 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 17. The World is Flat (9) 9. In-forming เราสามารถหาข้อมูลให้ตัวเองได้อย่างง่ายดายจาก Internet และ search engine เช่น Google 10. The Steroids Wireless and Voice over the Internet เป็นเครื่องมือ ที่เหมือนยาชูกําลังที่จะทําให้การร่วมงานในรูปแบบต่างๆ ทําได้โดยมี ประสิทธิภาพมาก เนื่องจากเราจะสามารถเชื่อมต่อกับใครก็ได้ที่ไหน ก็ได้ด้วยเครื่องมือที่หลากหลาย 17 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 18. The World is Flat (9) 18 The World is Flat: A Brief History of the Twenty-First Century โดย Thomas L. Friedman
  • 19.
  • 20. ก่อให้เกิดการเชื่อมโยง 3 ประการ (1) 1. กระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงประสานกันทางเศรษฐกิจระหว่างนานา ประเทศ : ส่งผลให้มีการไหลเวียนของสินค้า บริการ เงินทุน ผู้คน และทรัพยากรที่ ข้ามพ้นกําแพงรัฐชาติ การปฏิสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ เชื่อมโยงกันจนเป็นอาณาบริเวณที่ กว้างขวาง โดยโลกเศรษฐกิจจะไม่มีพรมแดนในลักษณะที่สอดคล้องกับการแบ่งเขต เกี่ยวข้องกับ ดินแดนหรืออาณาเขต ซึ่งเป็นเรื่องของรัฐ (State) แต่เป็นเขตแดนทาง เศรษฐกิจ และรูปแบบการผลิตแบบห่วงโซ่ข้ามชาติก็เป็นที่แพร่หลาย เมื่อสินค้าชิ้นเดียว แต่มีส่วนประกอบต่างๆ ที่ถูกผลิตขึ้นในหลายๆ ประเทศ บางครั้งก็รู้จักกันในนาม 'Mcdonaldization' จุดประสงค์หลักสําคัญเพื่อลดต้นทุนและเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ของ บริษท์โตโยต้า ใช้เทคโนโลยีและการพัฒนา จากประเทศญี่ปุ่น อาศัยการชิ้นส่วนเช่น ล้อ ตัวถัง จากประเทศจีน แต่กลับนําไปประกอบ เป็นตัวรถยนต์ในประเทศไทยแทน เป็นต้น 20 ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
  • 21. ก่อให้เกิดการเชื่อมโยง 3 ประการ (3) 2.กระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงประสานทางแนวความคิด ความเชื่อ และ อุดมการณ์ อาทิ ความเป็นประชาธิปไตย (Democratization หรือ กระบวนการทําให้ เป็นประชาธิปไตย) สิทธิมนุษยชน (Human right) การจัดการปกครองที่ดี (Good Governance) การค้าเสรี (Free Trade) ตลอดจน วัฒนธรรมความทันสมัยแบบตะวันตก เป็นต้น ในฐานะอุดมการณ์หลักแห่งยุคสมัยที่ถูกแผ่ขยายไปทั่วโลก ซึ่งผู้คนโดยทั่วไป เรียกกันอย่างเต็มปากเต็มคําว่า "ยุคโลกาภิวัตน์"โดยคิดและอุดมการณ์เหล่านี้ มีผลอย่าง มากต่อการจัดการปกครองทางการเมืองและสังคมของประเทศต่างๆทั่วโลกใน ปัจจุบัน 21 ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
  • 22. ก่อให้เกิดการเชื่อมโยง 3 ประการ (2) 3.กระตุ้นให้เกิดการเชื่อมโยงประสานโลกให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ด้วย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นับตั้งแต่การล่มสลายของระบบ สังคมนิยมในสหภาพโซเวียต สหรัฐฯได้เข้ามาจัดระเบียบโลก (The New World Order) หลังยุคสงครามเย็นสิ้นสุด โดยสหรัฐฯ มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาและริเริ่มเทคโนโลยี สารสนเทศใหม่ๆ พร้อมกันกับเผยแพร่เทคโนโลยีออกไปโดยรวดเร็วไปพร้อมกับ วัฒนธรรมแบบอเมริกัน เช่น โทรทัศน์ผ่านดาวเทียมที่สามารถรายงานข่าวสาร สาระจาก พื้นที่หนึ่งของโลก ให้กระจายไปทั่วโลกได้ทันที่ ผ่าน CNN, BBC อินเตอร์เน็ตที่ถ่ายทอง ความคิด ความเชื่อผ่านทางเว็บไซด์ต่างๆร่วมถึงการเผยแพร่วัฒนธรรมอเมริกันผ่านสื่อ เช่น ในรูปแบบภาพยนตร์ผ่าน Hollywood ในรูปแบบแฟชั่น ดนตรีเพลงผ่าน โทรทัศน์ ช่อง MTV เป็นต้น 22 ที่มา : ทวีศักดิ์ ตั้งปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
  • 23.
  • 25. สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (1) 1. ความกระชับแน่นระหว่างเวลากับสถานที่ (Time Space Compression): ทั้งนี้เนื่องมาจากนวัตกรรมทางด้าน โทรคมนาคมสื่อสารและข่าวสารสมัยใหม่ ทําให้โลกมีขนาด เล็กลง ส่วนต่าง ๆ โดยเชื่อมต่อทําให้ข้อมูลข่าวสารสามารถ ไหลเวียนไปมายังส่วนต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็วยิ่งขึ้น 25 ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
  • 26. สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (2) 2. การสลายเส้นแบ่งและการลากเส้นแบ่งใหม่ (Deterritorialization/Reterritorialization): เมื่อความกระชับแน่นระหว่าง เวลากับสถานที่เกิดขึ้น ข้อมูลข่าวสารที่ไหลเวียนไปมาในโลก ทําให้โลกเกิด ความไม่มั่นคง เส้นหรือกรอบต่าง ๆ ที่ได้ถูกขีดเส้นไว้ตั้งแต่ในอดีต ได้ถูกตั้ง คําถามและนําไปสู่การลากเส้นแบ่งใหม่ ๆ เพิ่มมากขึ้น เช่น การรวมกลุ่มของ กลุ่มนาซีใหม่ (Neo Nazi) ที่กระจัดกระจายตามที่ต่าง ๆ ในโลก โดยใช้การ สื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต ให้การแบ่งแยกกลุ่มนาซีใหม่นั้นไม่ได้จํากัดเฉพาะ คนที่อยู่ในพื้นที่ภูมิศาสตร์เดียวกัน แต่นววัตกรรมของเทคโนโลยีคมนาคม สื่อสาร ทําให้เกิด การขีดเส้นแบ่งใหม่ตามความชอบหรือความเชื่อในสิ่ง เดียวกัน 26 ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
  • 27. สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (3) 3. สังคมความรู้ข่าวสาร (Information and Knowledge Society): เมื่อข่าวสารข้อมูลไหลเวียนไปมาสะดวกในที่ต่าง ๆ ทําให้ข้อมูล ข่าวสารต่าง ๆ กลายมาเป็นปัจจัยพื้นฐานในการดําเนินการในเรื่อง ต่าง ๆ ทุกเรื่องในชีวิตประจําวัน ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลที่ใช้ตั้งแต่ตื่นนอน ยันนอนหลับ หรือข้อมูลที่ใช้ประกอบการตัดสินใจในกิจการต่าง ๆ ที่ ดําเนินการ 27 ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
  • 28. สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (4) 4. ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมใหม่ (New Social Movement): การเกิดขึ้นของกระแสโลกาภิวัตน์ได้ส่งผลตามมาคือความขัดแย้งที่ เกิดขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งความขัดแย้งทางด้านการเมือง การ ปกครอง หรือแม้กระทั่งความขัดแย้งทางสังคม และความขัดแย้ง เหล่านี้เป็นเรื่องที่ไม่สามารถแก้ไขได้โดยลําพัง เพราะปัญหาต่าง ๆ มีความสลับซับซ้อน ต้องอาศัยความร่วมมือจากฝ่ายต่าง ๆ โดยใช้ แนวทางสมานฉันท์ทําให้เกิดแนวทางที่เรียกว่าการเมืองภาค ประชาชนตามมา 28 ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
  • 29. สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (5) 5. ความเปราะบางทางการเมือง: การก่อการร้ายสากล (Political Fragility: Transnational Terrorism): การก่อการร้ายและการทํา สงครามเพื่อต่อต้านการก่อการร้าย ถือได้ว่าเป็นวาระของโลก เพราะ ข้อมูลข่าวสารที่ไหลเวียนไปมาอย่างรวดเร็วด้วยความรวดเร็วไม่ว่าผู้ ส่งสาร และผู้รับสารจะอยู่ที่ใดในโลก ทําให้กลุ่มก่อการร้ายที่ใช้ ความรุนแรงเป็นอาวุธ อาศัยช่องทางจากความก้าวหน้าในระบบ โทรคมนาคมสื่อสารทําการเผยแพร่ความรุนแรงที่เกิดอย่างแพร่หลาย ได้ก่อให้เกิดหวาดกลัวในสังคมทั่วไป และรวมไปถึงการเคลื่อนไหว ที่อาจก่อให้เกิดความรุนแรงในสังคมไทย 29 ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
  • 30. สรุปภาพรวมการเปลี่ยนแปลง (6) 6. ความเปราะบางทางเศรษฐกิจ: ทุนนิยม ดอทคอม.คอม (Economic Fragility: Dot.Com Capitalism): การเกิดขึ้นของนวัตกรรมเทคโนโลยี สารสนเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งอินเตอร์เน็ต (Internet) ได้ส่งผลให้เกิดการ พาณิชย์อิเลคทรอนิคส์ (e-Commerce) ตามมา และอินเตอร์เน็ตยังก่อเกิดระบบ เศรษฐกิจที่เรียกว่า “เศรษฐกิจใหม่” (New Economy) โดยในเศรษฐกิจใหม่นั้น ผู้ค้าและผู้ซื้อสามารถทําธุรกรรมได้ตลอดเวลาหรือที่เรียกว่า สามารถขายของ ได้24 ชั่วโมง 7 วัน (24/7) และผู้ค้าสามารถกําหนดกลุ่มของลูกค้าเป้าหมาย ของตนเองได้(Niche Market) ตามความเฉพาะของกลุ่มลูกค้าและ ความสามารถของผู้ค้าเอง 30 ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
  • 31. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง (1) 1. แนวความคิดในเรื่องของอานาจอธิปไตย: อํานาจอธิปไตยที่เคยมีความเด็ดขาด เหนืออาณาเขตมาตั้งแต่สนธิสัญญาเวสฟาเลีย เมื่อ ค.ศ.1648 (พ.ศ.2191) สู่ อํานาจอธิปไตยแบบจักรวรรดิข้ามอาณาเขตรัฐชาติ และได้พัฒนาไปสู่อํานาจ อธิปไตยแบบจักรวรรดิข้ามอาณาเขตรัฐชาติแบบใหม่ในกระโลกาภิวัฒน์อย่าง ในกรณีของการยึดครองอัฟกานิสถานและอิรักของสหรัฐ ฯ ที่ผ่านมา การใช้ อํานาจอธิปไตยในรูปแบบใหม่ในยุคโลกไร้พรมแดน นี้ทําให้เกิดการท้าทาย และถูกตั้งคําถามอย่างมาก และสิ่งที่ตามมาคือบทบาทที่สําคัญของอํานาจ อธิปไตยเหนือดินแดนตามแนวคิดของรัฐชาติได้ถูกลดบทบาทลง แต่องค์กร เหนือชาติ อย่างเช่น สหประชาชาติกลับมามีบทบาทมาขึ้นในเวทีโลก 31 ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
  • 32. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง (2) 2. ระบบรัฐ-ชาติที่ถูกท้าทายโดยกระแสโลกาภิวัฒน์: เมื่อระบบรัฐชาติได้ ถูกท้าทายจากประแสโลกาภิวัฒน์อย่างมาก และในทํานองกลับกัน การเพิ่มบทบาทของตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ (Non-state Actors) อย่างเช่น องค์กรอิสระต่าง ๆ กลับกลายมาเป็นกลุ่มมีที่บทบาทในการ ต่อรอง ต่อต้าน ขัดขืน และท้าทายอํานาจอธิปไตยเหนือดินแดนของรัฐ และ นําไปสู่การเคลื่อนไหวเรียกร้องของภาคประชาชนทั่วโลก ซึ่งนําไปสู่ แนวคิดเรื่องประชาสังคมโลกและถือเป็นการถ่วงดุลอํานาจของรัฐชาติ และจักรวรรดิ 32 ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
  • 33. ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง (3) 3. การแยกความแตกต่างระหว่างรัฐบาลและการบริหารจัดการ: คําว่ารัฐบาล (Government) เป็นรูปแบบการบริหารจัดการภาคสาธารณะที่กระทําบน พื้นฐานของอาณาเขตและพื้นที่ของของประเทศตามแนวคิดในสนธิสัญญา เวสฟาเลีย ปัจจุบัน การแยกกรอบของการบริหารจัดการนั้นจะต้อง เปลี่ยนแปลงไป เป็นการบริหารจัดการ (Governance) ในโลกยุคหลัง สงครามเย็นการบริหารจัดการจะมีการเปลี่ยนแปลงที่ช่วยให้สังคมโลกมี ดุลยภาพระหว่างอํานาจรัฐ และตัวแสดงที่ไม่ใช่รัฐ อยู่ 2 ประการคือ (1) ความคิดเรื่องการบริหารจัดการระดับโลก (2) ความคิดในเรื่องของประชาสังคมโลก 33 ดร.ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร, รัฐ-ชาติกับ[ความไร้]ระเบียบโลกชุดใหม่, สํานักพิมพ์วิภาษา, 2549: หน้า 12 – 16
  • 34.
  • 35. Source : Dr. Suvit Maesincee - Thailand in the New Global Landscape
  • 36.
  • 37. แนวทางในการเผชิญโลกภิวัตน์ แนวทางในการเผชิญโลกภิวัตน์ที่มีประสิทธิภาพ 1. ใช้องค์ความรู้อย่างสูงสุด (Maximize Knowledge) 2. ดําเนินการอย่างรวดเร็ว (Rapidity) 3. ควบคุมสภาวะแวดล้อม (Control of the Environment) 4. ปฏิบัติอย่างชาญฉลาด (Brilliance) 37
  • 38.
  • 39. สรุป โลกาภิวัตน์ได้เชื่อมโยงหลอมรวมความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของโลกให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และเนื่องจาก ความจาเริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) ได้มีส่วนทาลายพรมแดนระหว่างรัฐ ที่เป็นอุปสรรคขว้าง กั้น ในความหมายเดิมลงไปอย่างสิ้นเชิง โลกในปัจจุบันจึงเปรียบเหมือน ถูกย่อทางด้านกาล (Time) เทศะ (Space) และถูกผนวกรวมความคิด ความเชื่อ ให้เป็นไปในแนวทางที่สอดคล้องกันมากขึ้น จนทาให้สังคม โลกเล็กลงจนมีขนาดไม่ใหญ่ไปกว่าหมู่บ้าน ซึ่งใครหลายคนเรียก ลักษณะเช่นนี้ว่าเป็น "หมู่บ้านโลก" (Global Village) 39