SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
ประวัติศาสตร์สากล
เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
จัดทาโดย
นายรัฐธรรมนูญ เกตุมอญ เลขที่ 2
นายศิวกร ภู่เพชร เลขที่ 4
นายอัครวัฒน์ นราจารุภา เลขที่ 11
นางสาวชนิสรา ความเพียร เลขที่ 17
นายคาคม คาทา เลขที่ 30
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5.1
เสนอ
อาจารย์เตือนใจ ไชยศิลป์
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่
■ ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่เริ่มตั้งแต่ปีที่ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส
( Christopher Columbus ) ค้นพบโลกใหม่หรือทวีปอเมริกา และสิ้นสุดลงในปีที่
สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง ยุโรปสมัยใหม่ เป็นสมัยแห่งการฟื้นฟูอารยธรรมกรีก-
โรมัน และมีการพัฒนาทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปะ
วิทยาการ เป็นยุคที่มีอารยธรรมเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก และแพร่ไปยังดินแดนต่างๆ
ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองของยุโรปในช่วง
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
■ 1.การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ( Renaissances ) ทาให้ยุโรปกลายเป็นสังคมแห่งการ
เรียนรู้
■ 2.การสารวจเส้นทางเดินเรือ โดยมุ่งหมายทางการค้าและการเผยแผ่คริสต์ศาสนา
■ 3.การเกิดชนชั้นกลาง (พ่อค้า) เข้ามาควบคุมเศรษฐกิจแทนพวกขุนนางในระบบฟิวดัล
และสนับสนุนกษัตริย์ ในด้านการปกครอง ทาให้ฐานะกษัตริย์เข้มแข็ง
■ 4.ความก้าวหน้าทางด้านการพิมพ์ มีการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ได้สาเร็จ ทาให้มีการ
พิมพ์หนังสือเผยแพร่ความรู้และวิทยาการใหม่ๆออกไปอย่างรวดเร็ว
สมัยใหม่ช่วงแรก (คริสต์ศตวรรษที่ 15-18)
มีเหตุการณ์สาคัญดังนี้
■ 1.การฟื้นฟูศิลปวิทยาการของกรีกและโรมัน ( Renaissances ) นาความรู้วิธีคิด
ใช้ปัญญาและเหตุผลตามแบบอย่างนักปราชญ์ชาวกรีก ให้ความสาคัญกับคุณค่าความ
เป็นมนุษย์ หรือเป็นลักษณะยุคมนุษย์นิยม
■ 2.การปฏิรูปศาสนา เกิดการแบ่งแยกศาสนจักรเป็น 2 นิกายใหญ่ๆ คือ
2.1.นิกายโรมันคาทอริก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มีพระสันตะปาปา ( Pope ) เป็น
ประมุข
2.2.นิกายโปรแตสแตนท์ แบ่งเป็นนิกายย่อยๆอีกหลายนิกาย นับถือในประเทศ
ต่างๆ เช่น นิกายอังกฤษ ( Church of England ) และนิกายลูเธอร์ ( Lutheranism )
ในเยอรมนี
■ 3.การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
3.1.ยุโรปเข้าสู่ยุคการสารวจเส้นทางเดินเรือ
ยุคกลาง มีการค้าระหว่างยุโรปกับเอเชีย ผ่านทางทะเลเมดิเตอร์เรเนี่ยนและ
ตะวันออกกลาง โดยอิตาลีได้เปรียบประเทศอื่น สามารถควบคุมเส้นทางการค้าเกือบ
ทั้งหมด ทาให้อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน ฮอลันดา พยายามทาลายการผูกขาดนี้
ประจวบกับชาวยุโรปส่วนหนึ่ง เบื่อชีวิตที่อยู่ภายใต้อิทธิพลมืดของสันตะปาปา จึงคิดอพยพ
ไปตายเอาดาบหน้าเพื่ออิสระในการนับถือศาสนา เป็นเหตุหนึ่งในการออกสารวจแสวงหา
เส้นทางการเดินเรือใหม่ และเส้นทางการค้าทางบกของชาวยุโรปกับตะวันออก ตกอยู่ในมือ
ของพ่อค้าชาวมุสลิม ทาให้ชาวยุโรปต้องการหาเส้นทางการค้าใหม่ก็คือ ค้าขายทางทะเล
เท่านั้น การติดต่อของชาวยุโรปและโลกตะวันออกจากการค้า ทาให้ชาวยุโรปมีโอกาสสัมผัส
กับอารยธรรมของโลกตะวันออก วิชาความรู้ต่างๆของกรีกและมุสลิม หลั่งไหลมาสู่สังคม
ตะวันตก ทาให้ปัญญาชนเริ่มทบทวนและตรวจสอบความรู้ของตน ตลอดจนเกิดการท้าทาย
คาสอนศาสนาที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาในสมัยกลางถึงเรื่องโลกแบน ความรู้ทางภูมิศาสตร์
และแผนที่ของปโตเลมี (Ptolemy) นักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ที่แสดงให้
เห็นดินแดนที่กว้างใหญ่ ความต้องการสารวจเส้นทาง โดยเฉพาะทางเรือ จึงเพิ่มขึ้น
■ 3.2.การค้นพบดินแดนทางตะวันออกของชาติตะวันตก
ยุคนี้ได้ชื่อว่ายุคแห่งการค้นพบ ( Age of Discovery ) การค้นพบดินแดน
ต่างๆทาให้ ฮอลันดา อังกฤษ และต่อมาฝรั่งเศส เข้ามาสร้างอิทธิพลครอบครอง
ดินแดนทางตะวันออก และทาให้เกิด ลัทธิจักรวรรดินิยม
■ บาร์โธโลมิว ไดแอส ชาวโปรตุเกสสามารถเดินเรือเลียบทวีปแอฟริกาจนเข้าแหลม
กู๊ดโฮม ได้สาเร็จใน ค.ศ.1488
■ วาสโก ดา กามา ใช้เส้นทางของไดแอส จนถึงเอเชีย และสามารถขึ้นฝั่งที่เมือง
คาลิกัต ของอินเดียและสามารถซื้อเครื่องเทศโดยตรงจากอินเดีย นากลับไปขายใน
ยุโรปได้กาไรมากมาย
บาร์โธโลมิว ไดแอส วาสโก ดา กามา
■ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ชาวอิตาลีรับใช้กษัตริย์สเปนในการสารวจเส้นทางเดินเรือ
ไปประเทศจีน เป็นผู้ค้นพบทวีปอเมริกา และเป็นผู้เชื่อว่าโลกมีสัณฐานกลม ไม่แบน
ตามคาสอนของคริสต์ศาสนา ในสมัยกลาง
■ เฟอร์ดินานด์ มาเจลแลน ชาวโปรตุเกส รับอาสากษัตริย์สเปน หาเส้นทาง
เดินเรือมายังตะวันออกจนสามารถเข้าฟิลิปปินส์แต่เขาถูกชาวพื้นเมืองฆ่าตาย แต่
ลูกเรือสามารถนาเรือกลับมาสเปนได้
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส
เฟอร์ดินานด์ มาเจ
ลแลน
4. การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
ปัญญาชนชาวตะวันตกให้ความสนใจศึกษาค้นคว้าจนเกิดความรู้และความ
เจริญก้าวหน้าในศาสตร์แขนงต่างๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ และ
คณิตศาสตร์ และจากการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ของ โยฮัน กูเตนเบอร์ก ชาวเยอรมัน
ทาให้วิทยาการความรู้แพร่หลายอย่างรวดเร็ว
ปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ เกิดจากแนวความคิดที่สาคัญ
2 ประการ คือ
1. แนวคิดมนุษยนิยม ( Humanism ) ซึ่งได้รับมาจากหลักปรัชญาของชาว
กรีกโดยสอนให้มนุษย์มีความเชื่อมั่นในความสามารถของมนุษย์ สติปัญญาของ
มนุษย์สามารถนามนุษย์ไปสู่การค้นหาความจริงของสรรพสิ่งต่างๆ ในโลก
2. แนวคิดในปรัชญาธรรมชาตินิยม ( Naturalism ) สอนให้เชื่อว่าสิ่ง
ต่างๆ ล้วนดาเนินไปตามกฎเกณฑ์ธรรมชาติ ธรรมชาติที่อยู่รอบๆตัวมนุษย์นั้นมี
อิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ จึงเริ่มศึกษาค้นคว้าและทดลอง จนเกิด
องค์ความรู้ใหม่เรียกว่าเป็น ยุคแห่งภูมิธรรม หรือ ยุคแห่งการรู้แจ้ง (The
Enlightenment)
นักวิทยาศาสตร์ที่สาคัญ ได้แก่
■ นิโคลัส โคเปอร์นิคัส ค้นพบทฤษฎีระบบสุริยจักรวาล ที่มีสาระสาคัญคือ ดวง
อาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาลโดยมีโลกและดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ โคจร
โดยรอบ ซึ่งขัดแย้งกับหลักความเชื่อของคริสตจักรอย่างมาก ที่เชื่อว่าโลกเป็น
ศูนย์กลางของจักรวาล ความคิดของโคเปอร์นิคัส เป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติทาง
วิทยาศาสตร์
นิโคลัส โคเปอร์นิคัส
■ กาลิเลโอ ผู้ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์ ( Telescope ) ทาให้ความรู้เรื่องระบบสุ
ริยจักรวาลชัดเจนยิ่งขึ้น
■ เซอร์ไอแซค นิวตัน ผู้ค้นพบ 2 ทฤษฎีคือ กฎแรงดึงดูดของจักรวาล และกฎ
แห่งความโน้มถ่วง
กาลิเลโอ เซอร์ไอแซค นิวตัน
สมัยใหม่ช่วงหลัง
(นับแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2)
■ 1. การปฏิวัติอุตสาหกรรม
1.1 เป็นยุคที่เปลี่ยนวิธีการผลิตสินค้าจากใช้แรงงานคนและสัตว์มาใช้
เครื่องจักร
1.2 ประเทศแรกที่บุกเบิกคืออังกฤษโดยอุตสาหกรรมแรกที่มีการปฏิวัติ คือ
อุตสาหกรรม การทอผ้า
เครื่องจักรกลไอน้า ของ เจมส์ วัตต์
การปฏิวัติอุตสาหกรรม เป็นการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในระบบและวิธีการผลิต
คือ เปลี่ยนจากการใช้แรงงานคนและสัตว์มาเป็นเครื่องจักรกลที่สลับซับซ้อน และมี
ประสิทธิภาพมากขึ้น การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรปเริ่มขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่
21 เกิดในประเทศอังกฤษเป็นประเทศแรก โดยในระยะแรกเรียกว่า สมัยแห่งพลังไอ
น้า ซึ่งต่อมาจึงได้เกิดเครื่องจักรไอน้าของเจมส์ วัตต์ขึ้นเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมทั่วไป
การปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่สองประมาณ พ.ศ.2403-2457 เริ่มมีการใช้
แก๊ส น้ามันปิโตรเลียม และไฟฟ้า แทนถ่านหินและไอน้า ซึ่งการใช้พลังงานไฟฟ้าเป็น
พลังงานหลักของอุตสาหกรรม ส่วนการผลิตด้านการเกษตรกรรมก็เปลี่ยนมาเป็นการ
ผลิตสินค้าเฉพาะอย่างเพื่อการค้า
สาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
■ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ จึงเกิดความสนใจที่จะประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ
ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ในการอุตสาหกรรม
■ การสารวจทางทะเลและการแสวงหาอาณานิคม ทาให้มีแหล่งวัตถุดิบและ
ตลาดระบายสินค้า เป็นการกระตุ้นให้การค้าขยายตัว จึงสนับสนุนให้คิดประดิษฐ์
เครื่องจักร
■ ความมั่นคงและเสรีภาพทางการเมืองในยุโรป ทาให้พ่อค้า นายทุน และนัก
อุตสาหกรรม มีสิทธิมีเสียงในการปกครองประเทศ การอุตสาหกรรมจึงได้รับการ
สนับสนุนให้เจริญก้าวหน้า
ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
■ การเพิ่มของจานวนประชากร เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจจาก
เกษตรกรรมมาเป็นอุตสาหกรรม เกิดการขยายตัวของชุมชนเมือง และความเจริญก้าวหน้า
ด้านการแพทย์และสาธารณสุข
■ การขยายตัวของสังคมเมือง เกิดเมืองใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากการอพยพของผู้คนใน
ชนบทเข้ามาทางานในเมือง ทาให้เกิดปัญหาสังคม เกิดอาชีพใหม่ๆ ชนชั้นกลางและพ่อค้า
นายทุนเข้ามามีบทบาทในสังคมมากขึ้น
■ การแสวงหาอาณานิคมและลัทธิจักรวรรดินิยม ประเทศยุโรปที่มีการปฏิวัติการผลิตด้าน
อุตสาหกรรมมีความจาเป็นต้องแสวงหาแหล่งวัตถุดิบป้อนโรงงาน และขยายตลาดระบาย
สินค้า จึงเกิดการแข่งขันแสวงหาอาณานิคมขึ้น
■ มีความเจริญก้าวหน้าต่อไปไม่หยุดยั้ง ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการใช้วัสดุอื่นแทนวัสดุ
ธรรมชาติพลาสติก เช่น พลาสติก อัลลอยไปจนถึงการใช้ระบบคอมพิวเตอร์
■ 2.การเกิดแนวความคิดทางการเมือง และเศรษฐกิจแบบใหม่
การปกครองระบอบประชาธิปไตย มีนักปราชญ์ที่เสนอแนวคิด ดังนี้
■ จอห์น ล๊อค ชาวอังกฤษกล่าวว่า มนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกันและ มีอิสระไม่มี ผู้ใดมีสิทธิ์ที่จะ
ใช้อานาจในการคุกคามชีวิตเสรีภาพและทรัพย์สินของผู้อื่นได้
■ มองเตสกิเออ ชาวฝรั่งเศส ได้เขียนหนังสือเรื่อง เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย ( The Spirit of
Laws ) เสนอความคิดการแบ่งแยกอานาจ คือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ เขาเชื่อว่าหากแยก
อานาจสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจะได้รับการคุ้มครอง แต่ถ้าอานาจทั้ง 3นี้รวมกันอยู่ใน
องค์การเดียวกัน อาจจะทาให้เกิดการกดขี่ประชาชน
จอห์น ล๊อค มองเตสกิเออ
■ วอลแตร์ ชาวฝรั่งเศส เป็นนักคิดและมีผลงานด้านการเขียนมากมายให้ความสาคัญแก่
เสรีภาพในการพูดและการนับถือศาสนา ต่อต้าน ความอยุติธรรมในสังคม แต่ในด้าน
การเมืองไม่เคยแสดงความคิดเห็น อย่างชัดเจน จึงไม่มีทฤษฎีการเมืองที่แน่นอน
■ รุสโซ ชาวฝรั่งเศส ผลงานหนังสือที่สาคัญคือ สัญญาประชาคม ( The Social
Contract ) ข้อความที่จับใจคนเป็นจานวนมากคือ “มนุษย์ทุกคนเกิดมามีอิสระ แต่ทุก
หนทุกแห่งเขาถูกพันธนาการ” รุสโซ เน้นเรื่องเจตจานงร่วมกันของประชาชน (
General Will ) เขาได้รับสมญาว่า “เจ้าทฤษฎีแห่งอานาจอธิปไตย”
วอลแตร์ รุสโซ
3.สงครามโลกครั้งที่ 1
■ 3.1 ปัญหาหลักคือ ลัทธิชาตินิยม และจักรวรรดินิยม เกิดการแย่งชิงผลประโยชน์
ในด้านเศรษฐกิจและการเมือง
■ 3.2 มีการแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายมหาอานาจกลาง
■ 3.3 สงครามครั้งนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ
■ 3.4 เกิดสนธิสัญญาแวร์ซายน์และองค์การสันนิบาตชาติ
4.สงครามโลกครั้งที่ 2
■ 4.1 ปัญหาหลักคือ การละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซายน์ของเยอรมันและการล่มของ
องค์การสันนิบาตชาติ
■ 4.2 มีการแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ
■ 4.3 สงครามครั้งนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ
■ 4.4 เกิดองค์การสหประชาชาติและสงครามเย็น
ศิลปวัฒนธรรมยุโรปสมัยใหม่
สมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ( Renaissances ) เป็นช่วงที่ยุโรปนา
ศิลปกรรมสมัยกรีก-โรมัน กลับมาใช้อีก
■ ด้านประติมากรรม เน้นการแสดงสัดส่วนสรีระร่างกายมนุษย์ ผลงานสาคัญของ
ไมเคิล แอนเจลโล ได้แก่
– รูปสลักเดวิด ( David ) แสดงสัดส่วนและกล้ามเนื้อที่สมส่วนของร่างกาย
– รูปสลักลาปิเอตา ( La Pieta ) เป็นรูปสลักพระมารดา กาลังประคองพระ
เยซูในอ้อมพระหัตถ์ หลังจากที่พระองค์สิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนแล้ว ผลงาน
แสดงให้เห็นถึงความนุ่มนวล อ่อนไหว
รูปสลักเดวิด
รูปสลัก ลาปิเอตา La Pieta
ด้านจิตรกรรม เป็นงานแสดงถึงความนุ่มนวล ละเมียดละไมแฝงไว้ซึ่งอารมณ์
ความรู้สึกของมนุษย์ มีการใช้สีและเงาให้เกิดแสงสว่าง ศิลปินที่มีชื่อเสียง เช่น
■ เลโอนาร์โด ดาวินชี
– ภาพอาหารมื้อสุดท้ายของพระเยซู ( The Last Supper )
– ภาพโมนาลิซา ( Mona Lisa )
■ ราฟาเอล
– ภาพพระแม่ พระบุตร แสดงความรักของแม่ที่มีต่อบุตร
The Last Supper
Mona Lisa
■ วรรณกรรม ที่เป็นบทละครรับอิทธิพลของบทละครกรีก โดยนักประพันธ์ที่มีชื่อ
เช่น
– วิลเลียม เชกสเปียร์ ได้แก่ โรมิโอและจูเลียต , เวนิสวานิส , คิงเลียร์ ,
แมคเบท , ฝันคืนกลางฤดูร้อน ซึ่งบทละครเหล่านี้จะสะท้อนให้เห็นถึงอารมณ์
อุปนิสัย และการตัดสินใจของมนุษย์ในภาวการณ์ต่างๆกัน
– เซอร์ทอมัส มอร์ ได้แก่ ยูโทเปีย ที่กล่าวถึงเมืองในอุดมคติที่ปราศจากความ
เลวร้าย
โรมิโอและจูเลียต
■ ศิลปะแบบบารอค
– สถาปัตยกรรม ได้แก่ พระราชวังแวร์ซายส์ ของฝรั่งเศส , แท่นบูชาในโบสถ์
เซนต์ปีเตอร์ ในกรุงโรม
– ดนตรี เป็นวงดนตรีแบบออร์เคสตร้า ( Orchestra ) โดยใช้ผู้เล่นและเครื่อง
ดนตรีมากชิ้น
แท่นบูชาในโบสถ์เซนต์ปีเตอร์
■ ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก
– สถาปัตยกรรม เน้นความสง่างาม สมดุลกลมกลืนได้สัดส่วน
– ประติมากรรม ลอกเลียนแบบประติมากรรมกรีก-โรมัน
– จิตรกรรม เน้นเรื่องเส้นมากกว่าการใช้สี แสดงถึงความสง่างามและยิ่งใหญ่ใน
ความเรียบง่าย เช่น ภาพการตายของมารา ( The Death of Marat ) โดย
ชาก หลุยส์ เดวิด
– ดนตรี นักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงคือ โมสาร์ต ชาวออสเตรีย
The Death of Marat
ศิลปะแบบโรแมนติก หรือจินตนิยม ( Romanticism )
เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นศิลปะที่ให้ความสาคัญกับอารมณ์
ความรู้สึก และธรรมชาติ โดยลดความเชื่อในเรื่องเหตุและระเบียบแบบแผน รวมทั้งให้
ความสาคัญแก่มนุษย์ในฐานะเป็นปัจเจกบุคคลมากกว่าส่วนรวม รวมทั้งแฝงความรู้สึก
ชาตินิยมไว้ด้วย
ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเกิดศิลปะแบบโรแมนติก คือ การเปลี่ยนแปลงทาง
การเมือง เศรษฐกิจและสังคมในสมัยนั้น โดยเฉพาะความคิดแบบเสรีประชาธิปไตย ซึ่งเป็น
สาเหตุหนึ่งที่นาไปสู่การปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 และการปฏิวัติอุตสาหกรรมใน
ยุโรปส่งผลให้โลกทัศน์ของชาวยุโรปเปลี่ยนแปลงไป ต่างผ่อนคลายการยึดมั่นในระเบียบ
กฎเกณฑ์ของสมัยคลาสสิก ละทิ้งสมัยแห่งเหตุผล แต่กลับแสดงออกอย่างเสรีทางด้าน
อารมณ์ ความรู้สึกและความต้องการของตน แม้จะไม่มีเหตุผลหรือไม่มีจริงก็ตาม
■ สถาปัตยกรรม นารูปแบบในอดีตมาดัดแปลง โดยได้รับอิทธิพลจากแบบโกธิก
■ ประติมากรรม เน้นการแสดงอารมณ์ความรู้สึก เช่น
– รูปปั้นนูนสูง มาเซเลส ประดับฐานอนุสาวรีย์ประตูชัย ในกรุงปารีส
– รูปปั้นสัตว์ มักเป็นรูปสัตว์ป่าสองตัวต่อสู้กัน
■ จิตรกรรม ใช้ สี เส้น แรเงา รุนแรงมุ่งให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ เช่น
– ภาพ “อิสรภาพนาประชาชน” ( Liberty Leading the People )
– ภาพ “แพของเมดูซา” ( Raft of Medusa )
■ ดนตรี มีจุดมุ่งหมายที่จะเร้าความรู้สึกทางจิตใจ เช่นความรู้สึกชาตินิยม นักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง
คือ เบโทเฟน ซึ่งแต่งเพลง “ซิมโฟนีหมายเลข 9” และ ปีเตอร์ อิลยิช ไชคอฟสกี ซึ่งแต่งเพลง
“ซิมโฟนีหมายเลข 6” เป็นเพลงประกอบบัลเลต์เรื่อง Swan Lake
รูปปั้นนูนสูง มาเซเลส บน
ประตูชัยในกรุงปารีส
ภาพ "อิสรภาพนาประชาชน"
ศิลปวัฒนธรรมแบบสัจนิยม
ความหมายของศิลปวัฒนธรรมแบบสัจนิยม
■ ศิลปะแบบสัจนิยม (Realism) เป็นศิลปะที่สะท้อนความจริงที่เกิดขึ้นในสังคมอย่าง
ตรงไปตรงมา ไม่เน้นความรู้สึก อารมณ์ และจินตนาการของศิลปิน แต่มุ่งเสนอความ
จริงตามหลักวิทยาศาสตร์ เช่น สะท้อนสภาพความเป็นอยู่อย่างแร้นแค้นของชนชั้น
กรรมชีพ เป็นต้น
■ แนวทางของศิลปะแบบสัจนิยม มุ่งต่อต้านศิลปะแบบโรแมนติกที่มิได้ให้ความสาคัญต่อ
สภาพที่เป็นจริงของสังคม เป็นกระบวนการทางศิลปะที่เกิดขึ้นในช่วงตอนปลาย
คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ทาให้งานสร้างสรรค์ศิลปะมีประโยชน์และรับใช้มนุษย์
โดยตรงมากขึ้น
1. งานวรรณกรรม แนวสัจนิยมมีดังนี้
■ ผลงานของชาร์ลส์ ดิกแกนส์ (Charles Dickens) ชาวอังกฤษ ในเรื่อง "โอลิเวอร์ ทวิสต์" (Oliver
Twist) สะท้อนถึงชีวิตของเด็กในสังคมอุตสาหกรรม งานเขียนอื่นๆ เป็นการวิพากษ์วิจารณ์ความเลวร้าย
ของสังคมและความเอารัดเอาเปรียบของนายทุน เป็นต้น
■ ลิโอ ตอลสตอย (Leo Tolstoy) นักเขียนชาวรัสเซีย ผลงานที่ยิ่งใหญ่ คือ "สงครามและสันติภาพ"
(War and Peace)
■ งานเขียนประเภทสัจสังคม (Social Realism) เป็นงานวรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลของลัทธิมาร์กซ์ มุ่ง
สะท้อนปัญหาสังคม การต่อสู้ทางชนชั้นระหว่างนายทุนกับกรรมกร ชี้นาถึงสาเหตุของปัญหาและแนว
ทางแก้ไขตามวิธีของมาร์กซิสม์ นวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในแนวนี้ คือ "แม่" (Mother) ผลงานของ
แมกซิม กอร์กี (Maxim Gorky) นักเขียนชาวรัสเซีย
■ ศิลปะนาฎกรรม การละครแบบสัจนิยมมุ่งสะท้อนสภาพสังคมตามความเป็นจริง เน้นให้ผู้แสดงเล่นอย่าง
สมจริงตามธรรมชาติ ไม่แสดงอารมณ์มากนัก เศร้าอย่างรุนแรงแบบโรแมนติก เป็นละครแบบร้อยแก้ว
ตัวละครใช้บทเจรจาด้วยภาษาที่สมจริงตามฐานะของตัวละคร ไม่ใช่ภาษากวีร้อยกรองเหมือนแต่ก่อน
2. ด้านจิตรกรรม จิตกรแนวสัจนิยมไม่นิยมเขียนภาพด้วยจินตนาการเหมือน
อย่างพวกโรแมนติก แต่จะเขียนภาพจากสิ่งที่พบเห็น เช่น ภาพชีวิตของคนยากจนใน
เมืองใหญ่ การใช้ชีวิตหรูหราของชนชาติกลาง ต่อมาภาพวาดมีลักษณะให้ความสาคัญ
กับแสง สี และเงามากกว่าเส้น นิยมวาดทิวทัศน์ตามธรรมชาติ เรียกว่า “ศิลปะ
แบบอิมเพรสชันนิสม์”
บรรณานุกรม
■ kulrada Akkrathaveechote.2558. ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่. [Online].
Available: https://prezi.com/irf6j_zhnr01/copy-of/ .เข้าถึงเมื่อวันที่ 10 กันยายน
2560

More Related Content

What's hot

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือWarodom Techasrisutee
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปPannaray Kaewmarueang
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่Pannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาfuangfaa
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ปฏิวัติฝรั่งเศส
ปฏิวัติฝรั่งเศส ปฏิวัติฝรั่งเศส
ปฏิวัติฝรั่งเศส Thongkum Virut
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าsripai52
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 

What's hot (20)

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรปผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศยุโรป
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
ปฏิวัติฝรั่งเศส
ปฏิวัติฝรั่งเศส ปฏิวัติฝรั่งเศส
ปฏิวัติฝรั่งเศส
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
การคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้าการคำนวณกระจกเว้า
การคำนวณกระจกเว้า
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 

Similar to ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป

ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์Nattanicha Kanjai
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่Phudittt
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองNatthachai Nimnual
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชียJitjaree Lertwilaiwittaya
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 

Similar to ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป (7)

ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
 
บทที่ 1.pdf
บทที่ 1.pdfบทที่ 1.pdf
บทที่ 1.pdf
 
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
6.1 6.3 อเมริกา-แอฟริกา-เอเชีย
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 

ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป

  • 1. ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป จัดทาโดย นายรัฐธรรมนูญ เกตุมอญ เลขที่ 2 นายศิวกร ภู่เพชร เลขที่ 4 นายอัครวัฒน์ นราจารุภา เลขที่ 11 นางสาวชนิสรา ความเพียร เลขที่ 17 นายคาคม คาทา เลขที่ 30 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่5.1 เสนอ อาจารย์เตือนใจ ไชยศิลป์ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
  • 2. ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ ■ ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่เริ่มตั้งแต่ปีที่ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ( Christopher Columbus ) ค้นพบโลกใหม่หรือทวีปอเมริกา และสิ้นสุดลงในปีที่ สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง ยุโรปสมัยใหม่ เป็นสมัยแห่งการฟื้นฟูอารยธรรมกรีก- โรมัน และมีการพัฒนาทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปะ วิทยาการ เป็นยุคที่มีอารยธรรมเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก และแพร่ไปยังดินแดนต่างๆ
  • 3. ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดความเจริญรุ่งเรืองของยุโรปในช่วง ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ■ 1.การฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ( Renaissances ) ทาให้ยุโรปกลายเป็นสังคมแห่งการ เรียนรู้ ■ 2.การสารวจเส้นทางเดินเรือ โดยมุ่งหมายทางการค้าและการเผยแผ่คริสต์ศาสนา ■ 3.การเกิดชนชั้นกลาง (พ่อค้า) เข้ามาควบคุมเศรษฐกิจแทนพวกขุนนางในระบบฟิวดัล และสนับสนุนกษัตริย์ ในด้านการปกครอง ทาให้ฐานะกษัตริย์เข้มแข็ง ■ 4.ความก้าวหน้าทางด้านการพิมพ์ มีการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ได้สาเร็จ ทาให้มีการ พิมพ์หนังสือเผยแพร่ความรู้และวิทยาการใหม่ๆออกไปอย่างรวดเร็ว
  • 4.
  • 5. สมัยใหม่ช่วงแรก (คริสต์ศตวรรษที่ 15-18) มีเหตุการณ์สาคัญดังนี้ ■ 1.การฟื้นฟูศิลปวิทยาการของกรีกและโรมัน ( Renaissances ) นาความรู้วิธีคิด ใช้ปัญญาและเหตุผลตามแบบอย่างนักปราชญ์ชาวกรีก ให้ความสาคัญกับคุณค่าความ เป็นมนุษย์ หรือเป็นลักษณะยุคมนุษย์นิยม ■ 2.การปฏิรูปศาสนา เกิดการแบ่งแยกศาสนจักรเป็น 2 นิกายใหญ่ๆ คือ 2.1.นิกายโรมันคาทอริก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มีพระสันตะปาปา ( Pope ) เป็น ประมุข 2.2.นิกายโปรแตสแตนท์ แบ่งเป็นนิกายย่อยๆอีกหลายนิกาย นับถือในประเทศ ต่างๆ เช่น นิกายอังกฤษ ( Church of England ) และนิกายลูเธอร์ ( Lutheranism ) ในเยอรมนี
  • 6.
  • 7. ■ 3.การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก 3.1.ยุโรปเข้าสู่ยุคการสารวจเส้นทางเดินเรือ ยุคกลาง มีการค้าระหว่างยุโรปกับเอเชีย ผ่านทางทะเลเมดิเตอร์เรเนี่ยนและ ตะวันออกกลาง โดยอิตาลีได้เปรียบประเทศอื่น สามารถควบคุมเส้นทางการค้าเกือบ ทั้งหมด ทาให้อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน ฮอลันดา พยายามทาลายการผูกขาดนี้ ประจวบกับชาวยุโรปส่วนหนึ่ง เบื่อชีวิตที่อยู่ภายใต้อิทธิพลมืดของสันตะปาปา จึงคิดอพยพ ไปตายเอาดาบหน้าเพื่ออิสระในการนับถือศาสนา เป็นเหตุหนึ่งในการออกสารวจแสวงหา เส้นทางการเดินเรือใหม่ และเส้นทางการค้าทางบกของชาวยุโรปกับตะวันออก ตกอยู่ในมือ ของพ่อค้าชาวมุสลิม ทาให้ชาวยุโรปต้องการหาเส้นทางการค้าใหม่ก็คือ ค้าขายทางทะเล เท่านั้น การติดต่อของชาวยุโรปและโลกตะวันออกจากการค้า ทาให้ชาวยุโรปมีโอกาสสัมผัส กับอารยธรรมของโลกตะวันออก วิชาความรู้ต่างๆของกรีกและมุสลิม หลั่งไหลมาสู่สังคม ตะวันตก ทาให้ปัญญาชนเริ่มทบทวนและตรวจสอบความรู้ของตน ตลอดจนเกิดการท้าทาย คาสอนศาสนาที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาในสมัยกลางถึงเรื่องโลกแบน ความรู้ทางภูมิศาสตร์ และแผนที่ของปโตเลมี (Ptolemy) นักดาราศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาวกรีก ที่แสดงให้ เห็นดินแดนที่กว้างใหญ่ ความต้องการสารวจเส้นทาง โดยเฉพาะทางเรือ จึงเพิ่มขึ้น
  • 8. ■ 3.2.การค้นพบดินแดนทางตะวันออกของชาติตะวันตก ยุคนี้ได้ชื่อว่ายุคแห่งการค้นพบ ( Age of Discovery ) การค้นพบดินแดน ต่างๆทาให้ ฮอลันดา อังกฤษ และต่อมาฝรั่งเศส เข้ามาสร้างอิทธิพลครอบครอง ดินแดนทางตะวันออก และทาให้เกิด ลัทธิจักรวรรดินิยม
  • 9. ■ บาร์โธโลมิว ไดแอส ชาวโปรตุเกสสามารถเดินเรือเลียบทวีปแอฟริกาจนเข้าแหลม กู๊ดโฮม ได้สาเร็จใน ค.ศ.1488 ■ วาสโก ดา กามา ใช้เส้นทางของไดแอส จนถึงเอเชีย และสามารถขึ้นฝั่งที่เมือง คาลิกัต ของอินเดียและสามารถซื้อเครื่องเทศโดยตรงจากอินเดีย นากลับไปขายใน ยุโรปได้กาไรมากมาย บาร์โธโลมิว ไดแอส วาสโก ดา กามา
  • 10. ■ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ชาวอิตาลีรับใช้กษัตริย์สเปนในการสารวจเส้นทางเดินเรือ ไปประเทศจีน เป็นผู้ค้นพบทวีปอเมริกา และเป็นผู้เชื่อว่าโลกมีสัณฐานกลม ไม่แบน ตามคาสอนของคริสต์ศาสนา ในสมัยกลาง ■ เฟอร์ดินานด์ มาเจลแลน ชาวโปรตุเกส รับอาสากษัตริย์สเปน หาเส้นทาง เดินเรือมายังตะวันออกจนสามารถเข้าฟิลิปปินส์แต่เขาถูกชาวพื้นเมืองฆ่าตาย แต่ ลูกเรือสามารถนาเรือกลับมาสเปนได้ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส เฟอร์ดินานด์ มาเจ ลแลน
  • 11. 4. การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์ ปัญญาชนชาวตะวันตกให้ความสนใจศึกษาค้นคว้าจนเกิดความรู้และความ เจริญก้าวหน้าในศาสตร์แขนงต่างๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ และจากการประดิษฐ์แท่นพิมพ์ของ โยฮัน กูเตนเบอร์ก ชาวเยอรมัน ทาให้วิทยาการความรู้แพร่หลายอย่างรวดเร็ว ปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ เกิดจากแนวความคิดที่สาคัญ 2 ประการ คือ
  • 12. 1. แนวคิดมนุษยนิยม ( Humanism ) ซึ่งได้รับมาจากหลักปรัชญาของชาว กรีกโดยสอนให้มนุษย์มีความเชื่อมั่นในความสามารถของมนุษย์ สติปัญญาของ มนุษย์สามารถนามนุษย์ไปสู่การค้นหาความจริงของสรรพสิ่งต่างๆ ในโลก 2. แนวคิดในปรัชญาธรรมชาตินิยม ( Naturalism ) สอนให้เชื่อว่าสิ่ง ต่างๆ ล้วนดาเนินไปตามกฎเกณฑ์ธรรมชาติ ธรรมชาติที่อยู่รอบๆตัวมนุษย์นั้นมี อิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ จึงเริ่มศึกษาค้นคว้าและทดลอง จนเกิด องค์ความรู้ใหม่เรียกว่าเป็น ยุคแห่งภูมิธรรม หรือ ยุคแห่งการรู้แจ้ง (The Enlightenment)
  • 13. นักวิทยาศาสตร์ที่สาคัญ ได้แก่ ■ นิโคลัส โคเปอร์นิคัส ค้นพบทฤษฎีระบบสุริยจักรวาล ที่มีสาระสาคัญคือ ดวง อาทิตย์เป็นศูนย์กลางของจักรวาลโดยมีโลกและดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ โคจร โดยรอบ ซึ่งขัดแย้งกับหลักความเชื่อของคริสตจักรอย่างมาก ที่เชื่อว่าโลกเป็น ศูนย์กลางของจักรวาล ความคิดของโคเปอร์นิคัส เป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติทาง วิทยาศาสตร์ นิโคลัส โคเปอร์นิคัส
  • 14. ■ กาลิเลโอ ผู้ประดิษฐ์กล้องโทรทัศน์ ( Telescope ) ทาให้ความรู้เรื่องระบบสุ ริยจักรวาลชัดเจนยิ่งขึ้น ■ เซอร์ไอแซค นิวตัน ผู้ค้นพบ 2 ทฤษฎีคือ กฎแรงดึงดูดของจักรวาล และกฎ แห่งความโน้มถ่วง กาลิเลโอ เซอร์ไอแซค นิวตัน
  • 15. สมัยใหม่ช่วงหลัง (นับแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2) ■ 1. การปฏิวัติอุตสาหกรรม 1.1 เป็นยุคที่เปลี่ยนวิธีการผลิตสินค้าจากใช้แรงงานคนและสัตว์มาใช้ เครื่องจักร 1.2 ประเทศแรกที่บุกเบิกคืออังกฤษโดยอุตสาหกรรมแรกที่มีการปฏิวัติ คือ อุตสาหกรรม การทอผ้า เครื่องจักรกลไอน้า ของ เจมส์ วัตต์
  • 16. การปฏิวัติอุตสาหกรรม เป็นการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในระบบและวิธีการผลิต คือ เปลี่ยนจากการใช้แรงงานคนและสัตว์มาเป็นเครื่องจักรกลที่สลับซับซ้อน และมี ประสิทธิภาพมากขึ้น การปฏิวัติอุตสาหกรรมในยุโรปเริ่มขึ้นประมาณพุทธศตวรรษที่ 21 เกิดในประเทศอังกฤษเป็นประเทศแรก โดยในระยะแรกเรียกว่า สมัยแห่งพลังไอ น้า ซึ่งต่อมาจึงได้เกิดเครื่องจักรไอน้าของเจมส์ วัตต์ขึ้นเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมทั่วไป การปฏิวัติอุตสาหกรรมในระยะที่สองประมาณ พ.ศ.2403-2457 เริ่มมีการใช้ แก๊ส น้ามันปิโตรเลียม และไฟฟ้า แทนถ่านหินและไอน้า ซึ่งการใช้พลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานหลักของอุตสาหกรรม ส่วนการผลิตด้านการเกษตรกรรมก็เปลี่ยนมาเป็นการ ผลิตสินค้าเฉพาะอย่างเพื่อการค้า
  • 17. สาเหตุของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ■ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ จึงเกิดความสนใจที่จะประดิษฐ์คิดค้นเครื่องมือ ทางวิทยาศาสตร์ เพื่อใช้ในการอุตสาหกรรม ■ การสารวจทางทะเลและการแสวงหาอาณานิคม ทาให้มีแหล่งวัตถุดิบและ ตลาดระบายสินค้า เป็นการกระตุ้นให้การค้าขยายตัว จึงสนับสนุนให้คิดประดิษฐ์ เครื่องจักร ■ ความมั่นคงและเสรีภาพทางการเมืองในยุโรป ทาให้พ่อค้า นายทุน และนัก อุตสาหกรรม มีสิทธิมีเสียงในการปกครองประเทศ การอุตสาหกรรมจึงได้รับการ สนับสนุนให้เจริญก้าวหน้า
  • 18. ผลของการปฏิวัติอุตสาหกรรม ■ การเพิ่มของจานวนประชากร เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจจาก เกษตรกรรมมาเป็นอุตสาหกรรม เกิดการขยายตัวของชุมชนเมือง และความเจริญก้าวหน้า ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ■ การขยายตัวของสังคมเมือง เกิดเมืองใหม่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วจากการอพยพของผู้คนใน ชนบทเข้ามาทางานในเมือง ทาให้เกิดปัญหาสังคม เกิดอาชีพใหม่ๆ ชนชั้นกลางและพ่อค้า นายทุนเข้ามามีบทบาทในสังคมมากขึ้น ■ การแสวงหาอาณานิคมและลัทธิจักรวรรดินิยม ประเทศยุโรปที่มีการปฏิวัติการผลิตด้าน อุตสาหกรรมมีความจาเป็นต้องแสวงหาแหล่งวัตถุดิบป้อนโรงงาน และขยายตลาดระบาย สินค้า จึงเกิดการแข่งขันแสวงหาอาณานิคมขึ้น ■ มีความเจริญก้าวหน้าต่อไปไม่หยุดยั้ง ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 มีการใช้วัสดุอื่นแทนวัสดุ ธรรมชาติพลาสติก เช่น พลาสติก อัลลอยไปจนถึงการใช้ระบบคอมพิวเตอร์
  • 19. ■ 2.การเกิดแนวความคิดทางการเมือง และเศรษฐกิจแบบใหม่ การปกครองระบอบประชาธิปไตย มีนักปราชญ์ที่เสนอแนวคิด ดังนี้ ■ จอห์น ล๊อค ชาวอังกฤษกล่าวว่า มนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกันและ มีอิสระไม่มี ผู้ใดมีสิทธิ์ที่จะ ใช้อานาจในการคุกคามชีวิตเสรีภาพและทรัพย์สินของผู้อื่นได้ ■ มองเตสกิเออ ชาวฝรั่งเศส ได้เขียนหนังสือเรื่อง เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย ( The Spirit of Laws ) เสนอความคิดการแบ่งแยกอานาจ คือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ เขาเชื่อว่าหากแยก อานาจสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจะได้รับการคุ้มครอง แต่ถ้าอานาจทั้ง 3นี้รวมกันอยู่ใน องค์การเดียวกัน อาจจะทาให้เกิดการกดขี่ประชาชน จอห์น ล๊อค มองเตสกิเออ
  • 20. ■ วอลแตร์ ชาวฝรั่งเศส เป็นนักคิดและมีผลงานด้านการเขียนมากมายให้ความสาคัญแก่ เสรีภาพในการพูดและการนับถือศาสนา ต่อต้าน ความอยุติธรรมในสังคม แต่ในด้าน การเมืองไม่เคยแสดงความคิดเห็น อย่างชัดเจน จึงไม่มีทฤษฎีการเมืองที่แน่นอน ■ รุสโซ ชาวฝรั่งเศส ผลงานหนังสือที่สาคัญคือ สัญญาประชาคม ( The Social Contract ) ข้อความที่จับใจคนเป็นจานวนมากคือ “มนุษย์ทุกคนเกิดมามีอิสระ แต่ทุก หนทุกแห่งเขาถูกพันธนาการ” รุสโซ เน้นเรื่องเจตจานงร่วมกันของประชาชน ( General Will ) เขาได้รับสมญาว่า “เจ้าทฤษฎีแห่งอานาจอธิปไตย” วอลแตร์ รุสโซ
  • 21. 3.สงครามโลกครั้งที่ 1 ■ 3.1 ปัญหาหลักคือ ลัทธิชาตินิยม และจักรวรรดินิยม เกิดการแย่งชิงผลประโยชน์ ในด้านเศรษฐกิจและการเมือง ■ 3.2 มีการแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายมหาอานาจกลาง ■ 3.3 สงครามครั้งนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ ■ 3.4 เกิดสนธิสัญญาแวร์ซายน์และองค์การสันนิบาตชาติ
  • 22. 4.สงครามโลกครั้งที่ 2 ■ 4.1 ปัญหาหลักคือ การละเมิดสนธิสัญญาแวร์ซายน์ของเยอรมันและการล่มของ องค์การสันนิบาตชาติ ■ 4.2 มีการแบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายสัมพันธมิตรและฝ่ายอักษะ ■ 4.3 สงครามครั้งนี้ ฝ่ายสัมพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ ■ 4.4 เกิดองค์การสหประชาชาติและสงครามเย็น
  • 23. ศิลปวัฒนธรรมยุโรปสมัยใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ( Renaissances ) เป็นช่วงที่ยุโรปนา ศิลปกรรมสมัยกรีก-โรมัน กลับมาใช้อีก ■ ด้านประติมากรรม เน้นการแสดงสัดส่วนสรีระร่างกายมนุษย์ ผลงานสาคัญของ ไมเคิล แอนเจลโล ได้แก่ – รูปสลักเดวิด ( David ) แสดงสัดส่วนและกล้ามเนื้อที่สมส่วนของร่างกาย – รูปสลักลาปิเอตา ( La Pieta ) เป็นรูปสลักพระมารดา กาลังประคองพระ เยซูในอ้อมพระหัตถ์ หลังจากที่พระองค์สิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนแล้ว ผลงาน แสดงให้เห็นถึงความนุ่มนวล อ่อนไหว
  • 25. ด้านจิตรกรรม เป็นงานแสดงถึงความนุ่มนวล ละเมียดละไมแฝงไว้ซึ่งอารมณ์ ความรู้สึกของมนุษย์ มีการใช้สีและเงาให้เกิดแสงสว่าง ศิลปินที่มีชื่อเสียง เช่น ■ เลโอนาร์โด ดาวินชี – ภาพอาหารมื้อสุดท้ายของพระเยซู ( The Last Supper ) – ภาพโมนาลิซา ( Mona Lisa ) ■ ราฟาเอล – ภาพพระแม่ พระบุตร แสดงความรักของแม่ที่มีต่อบุตร The Last Supper Mona Lisa
  • 26. ■ วรรณกรรม ที่เป็นบทละครรับอิทธิพลของบทละครกรีก โดยนักประพันธ์ที่มีชื่อ เช่น – วิลเลียม เชกสเปียร์ ได้แก่ โรมิโอและจูเลียต , เวนิสวานิส , คิงเลียร์ , แมคเบท , ฝันคืนกลางฤดูร้อน ซึ่งบทละครเหล่านี้จะสะท้อนให้เห็นถึงอารมณ์ อุปนิสัย และการตัดสินใจของมนุษย์ในภาวการณ์ต่างๆกัน – เซอร์ทอมัส มอร์ ได้แก่ ยูโทเปีย ที่กล่าวถึงเมืองในอุดมคติที่ปราศจากความ เลวร้าย โรมิโอและจูเลียต
  • 27. ■ ศิลปะแบบบารอค – สถาปัตยกรรม ได้แก่ พระราชวังแวร์ซายส์ ของฝรั่งเศส , แท่นบูชาในโบสถ์ เซนต์ปีเตอร์ ในกรุงโรม – ดนตรี เป็นวงดนตรีแบบออร์เคสตร้า ( Orchestra ) โดยใช้ผู้เล่นและเครื่อง ดนตรีมากชิ้น แท่นบูชาในโบสถ์เซนต์ปีเตอร์
  • 28. ■ ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก – สถาปัตยกรรม เน้นความสง่างาม สมดุลกลมกลืนได้สัดส่วน – ประติมากรรม ลอกเลียนแบบประติมากรรมกรีก-โรมัน – จิตรกรรม เน้นเรื่องเส้นมากกว่าการใช้สี แสดงถึงความสง่างามและยิ่งใหญ่ใน ความเรียบง่าย เช่น ภาพการตายของมารา ( The Death of Marat ) โดย ชาก หลุยส์ เดวิด – ดนตรี นักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงคือ โมสาร์ต ชาวออสเตรีย The Death of Marat
  • 29. ศิลปะแบบโรแมนติก หรือจินตนิยม ( Romanticism ) เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นศิลปะที่ให้ความสาคัญกับอารมณ์ ความรู้สึก และธรรมชาติ โดยลดความเชื่อในเรื่องเหตุและระเบียบแบบแผน รวมทั้งให้ ความสาคัญแก่มนุษย์ในฐานะเป็นปัจเจกบุคคลมากกว่าส่วนรวม รวมทั้งแฝงความรู้สึก ชาตินิยมไว้ด้วย ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเกิดศิลปะแบบโรแมนติก คือ การเปลี่ยนแปลงทาง การเมือง เศรษฐกิจและสังคมในสมัยนั้น โดยเฉพาะความคิดแบบเสรีประชาธิปไตย ซึ่งเป็น สาเหตุหนึ่งที่นาไปสู่การปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 และการปฏิวัติอุตสาหกรรมใน ยุโรปส่งผลให้โลกทัศน์ของชาวยุโรปเปลี่ยนแปลงไป ต่างผ่อนคลายการยึดมั่นในระเบียบ กฎเกณฑ์ของสมัยคลาสสิก ละทิ้งสมัยแห่งเหตุผล แต่กลับแสดงออกอย่างเสรีทางด้าน อารมณ์ ความรู้สึกและความต้องการของตน แม้จะไม่มีเหตุผลหรือไม่มีจริงก็ตาม
  • 30. ■ สถาปัตยกรรม นารูปแบบในอดีตมาดัดแปลง โดยได้รับอิทธิพลจากแบบโกธิก ■ ประติมากรรม เน้นการแสดงอารมณ์ความรู้สึก เช่น – รูปปั้นนูนสูง มาเซเลส ประดับฐานอนุสาวรีย์ประตูชัย ในกรุงปารีส – รูปปั้นสัตว์ มักเป็นรูปสัตว์ป่าสองตัวต่อสู้กัน ■ จิตรกรรม ใช้ สี เส้น แรเงา รุนแรงมุ่งให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ เช่น – ภาพ “อิสรภาพนาประชาชน” ( Liberty Leading the People ) – ภาพ “แพของเมดูซา” ( Raft of Medusa ) ■ ดนตรี มีจุดมุ่งหมายที่จะเร้าความรู้สึกทางจิตใจ เช่นความรู้สึกชาตินิยม นักแต่งเพลงที่มีชื่อเสียง คือ เบโทเฟน ซึ่งแต่งเพลง “ซิมโฟนีหมายเลข 9” และ ปีเตอร์ อิลยิช ไชคอฟสกี ซึ่งแต่งเพลง “ซิมโฟนีหมายเลข 6” เป็นเพลงประกอบบัลเลต์เรื่อง Swan Lake
  • 32. ศิลปวัฒนธรรมแบบสัจนิยม ความหมายของศิลปวัฒนธรรมแบบสัจนิยม ■ ศิลปะแบบสัจนิยม (Realism) เป็นศิลปะที่สะท้อนความจริงที่เกิดขึ้นในสังคมอย่าง ตรงไปตรงมา ไม่เน้นความรู้สึก อารมณ์ และจินตนาการของศิลปิน แต่มุ่งเสนอความ จริงตามหลักวิทยาศาสตร์ เช่น สะท้อนสภาพความเป็นอยู่อย่างแร้นแค้นของชนชั้น กรรมชีพ เป็นต้น ■ แนวทางของศิลปะแบบสัจนิยม มุ่งต่อต้านศิลปะแบบโรแมนติกที่มิได้ให้ความสาคัญต่อ สภาพที่เป็นจริงของสังคม เป็นกระบวนการทางศิลปะที่เกิดขึ้นในช่วงตอนปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ทาให้งานสร้างสรรค์ศิลปะมีประโยชน์และรับใช้มนุษย์ โดยตรงมากขึ้น
  • 33. 1. งานวรรณกรรม แนวสัจนิยมมีดังนี้ ■ ผลงานของชาร์ลส์ ดิกแกนส์ (Charles Dickens) ชาวอังกฤษ ในเรื่อง "โอลิเวอร์ ทวิสต์" (Oliver Twist) สะท้อนถึงชีวิตของเด็กในสังคมอุตสาหกรรม งานเขียนอื่นๆ เป็นการวิพากษ์วิจารณ์ความเลวร้าย ของสังคมและความเอารัดเอาเปรียบของนายทุน เป็นต้น ■ ลิโอ ตอลสตอย (Leo Tolstoy) นักเขียนชาวรัสเซีย ผลงานที่ยิ่งใหญ่ คือ "สงครามและสันติภาพ" (War and Peace) ■ งานเขียนประเภทสัจสังคม (Social Realism) เป็นงานวรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลของลัทธิมาร์กซ์ มุ่ง สะท้อนปัญหาสังคม การต่อสู้ทางชนชั้นระหว่างนายทุนกับกรรมกร ชี้นาถึงสาเหตุของปัญหาและแนว ทางแก้ไขตามวิธีของมาร์กซิสม์ นวนิยายที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในแนวนี้ คือ "แม่" (Mother) ผลงานของ แมกซิม กอร์กี (Maxim Gorky) นักเขียนชาวรัสเซีย ■ ศิลปะนาฎกรรม การละครแบบสัจนิยมมุ่งสะท้อนสภาพสังคมตามความเป็นจริง เน้นให้ผู้แสดงเล่นอย่าง สมจริงตามธรรมชาติ ไม่แสดงอารมณ์มากนัก เศร้าอย่างรุนแรงแบบโรแมนติก เป็นละครแบบร้อยแก้ว ตัวละครใช้บทเจรจาด้วยภาษาที่สมจริงตามฐานะของตัวละคร ไม่ใช่ภาษากวีร้อยกรองเหมือนแต่ก่อน
  • 34. 2. ด้านจิตรกรรม จิตกรแนวสัจนิยมไม่นิยมเขียนภาพด้วยจินตนาการเหมือน อย่างพวกโรแมนติก แต่จะเขียนภาพจากสิ่งที่พบเห็น เช่น ภาพชีวิตของคนยากจนใน เมืองใหญ่ การใช้ชีวิตหรูหราของชนชาติกลาง ต่อมาภาพวาดมีลักษณะให้ความสาคัญ กับแสง สี และเงามากกว่าเส้น นิยมวาดทิวทัศน์ตามธรรมชาติ เรียกว่า “ศิลปะ แบบอิมเพรสชันนิสม์”
  • 35. บรรณานุกรม ■ kulrada Akkrathaveechote.2558. ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่. [Online]. Available: https://prezi.com/irf6j_zhnr01/copy-of/ .เข้าถึงเมื่อวันที่ 10 กันยายน 2560