SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201
สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.)
ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
บทนา
การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมครั้งนี้
เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติมเพื่อ
สะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเองวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น
เกิดความภาคภูมิใจ เป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการทาความรู้จักสังคมของตน
ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติและความเข้าใจวัฒนธรรม
ประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน
วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์
เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหาคาตอบด้วย
ตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่หลงเชื่อคาพูดของ
ใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทาเป็นอันดับ
แรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก
หลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้
ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐานทุกชิ้นด้วย
จิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอไป แล้วรวบรวม
ข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้อื่น
ตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้
ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วย
1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไรช่วงเวลาใดที่ไหน)
2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม
3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์
4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง
5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 1
การกาหนดหัวเรื่อง
การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไหนให้ชัดเจนในหนังสือเล่มนี้
สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้
1.ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
2.ภูมิปัญญาไทยในท้องถิ่น
3.ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย
4.ภูมิปัญญาในบ้านโนนเจริญ
5.ภูมิปัญญาท้องถิ่นของเรา
6.การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น
เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 1 เรื่อง ภูมิปัญญาในท้องถิ่น โดยให้
เหตุผลว่า เป็นชื่อที่สั้น ชัดเจน เป็นการศึกษาภูมิปัญญาในท้องถิ่นภูมิปัญญาในท้องถิ่น
โดยเฉพาะเรื่องราวในหมู่บ้านโนนเจริญจานวน 5 หมู่บ้าน จาก 11 หมู่บ้าน
ที่ไหน หมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11หมู่บ้านแต่ใน
หนังสือเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 หมู่บ้าน ดังนี้
โนนเจริญ หมู่ที่ 1
โนนเจริญ หมู่ที่ 2
โนนเจริญ หมู่ที่ 3
โนนเจริญ หมู่ที่ 4
โนนเจริญ หมู่ที่ 5
ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 2
การรวบรวมข้อมูล
หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. http://www.tkagri.doae.go.th
2. http://www.panyathai.or.th
3. http://www.thaigoodvieww.com
4. http://www.ipthailand.go.th
5. http://www.th.wikipedia.org
หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
1. นายทา ทาทอง อายุ 74 ปี
2. นายพุด สมพันธ์ อายุ 73 ปี
3. นายณรงค์ จันทร์แก้ว อายุ 66 ปี
4. นายโชติ เข็งนอก อายุ 65ปี
5. นางสังวาล เรียบร้อย อายุ 65 ปี
6. นางจันทร์ศรี คูเมือง อายุ 59ปี
7. นางจันทร์ เศษสุวรรณ อายุ 63 ปี
8. นางกองแก้ว หักประโคน อายุ 52ปี
9. นายจันทร์ บุตรกุล อายุ 68 ปี
10. นายสุรพงษ์ พิลาวุธ อายุ 65 ปี
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 3
ประเมินคุณค่าของหลักฐาน
จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์ นายทา ทาทอง อายุ 74 ปี
นายพุด สมพันธ์ อายุ 73 ปี นายณรงค์ จันทร์แก้ว อายุ 66 ปี นายโชติ เข็งนอก อายุ 65 ปี
นางสังวาล เรียบร้อย อายุ 65 ปี นางจันทร์ศรี คูเมือง อายุ 59 ปี นางจันทร์ เศษสุวรรณ
อายุ 63 ปี นางกองแก้ว หักประโคน อายุ 52 ปี นายถนอม เหลาทอง อายุ 64 ปี นายเพียบ
ปากประโคน อายุ 57 ปี นายจันทร์ บุตรกุลอายุ 68 ปี นายสุรพงษ์ พิลาวุธอายุ 65 ปี
สรุปได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านโนนเจริญเป็นภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับงาน
ศิลปหัตถกรรม งานประดิษฐ์เครื่องใช้ภายในบ้านหากมีคนสนใจก็ขาย
จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้
ในด้านต่าง ๆ ของการดารงชีวิตของคนไทยที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ทั้งทางตรงและ
ทางอ้อมที่ประกอบด้วยแนวคิดในการแก้ปัญหาของตนเองจนเกิดการหลอมรวมเป็นแนวความคิด
สาหรับแก้ปัญหาที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งสามารถพัฒนาความรู้ดังกล่าวแล้วนามา
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและการดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมตามกาลเวลา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 4
วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ในด้านต่างๆ ของการดารงชีวิตของคนไทยที่เกิดจาก
การสั่งสมประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่ประกอบด้วยแนวคิดในการแก้ปัญหาของตนเอง
จนเกิดการหลอมรวมเป็นแนวความคิดสาหรับแก้ปัญหาที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองซึ่งจะมี
ความสามารถโดดเด่น จากการสัมภาษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านโนนเจริญพบว่าภูมิปัญญา
ท้องถิ่นใน 1ท่านมีความสามารถหลายอย่าง ดังนี้
1. ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับความเชื่อและศาสนา 2 คน
2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม 2 คน
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน 1 คน
4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับอาหารและผัก 1 คน
5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการละเล่น 2 คน
6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม 1 คน
7. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน 3 คน
8. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสมุนไพรและตารายาพื้นบ้าน 1 คน
9. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการประดิษฐกรรม 5 คน
10. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการดารงชีวิตตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ 5 คน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ขั้นตอนที่ 5
การตีความหลักฐาน
จากการสัมภาษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านโนนเจริญพบว่าภูมิปัญญาท้องถิ่น
ใน 1 ท่านมีความสามารถหลายอย่างส่วนใหญ่เป็นภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์ การเกษตร
ศาสนาและความเชื่อ มีการซื้อขายบ้างแต่ก็เป็นเพียงรายได้เสริมทาเพราะเกิดจากความชอบ
ส่วนบุคคล
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา
โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
.................................................................................
ความหมายของภูมิปัญญา
ความหมายของภูมิปัญญามีนักวิชาการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความหมายของภูมิ
ปัญญาไว้หลากหลาย ดังนี้
ภูมิปัญญา (อังกฤษ: wisdom) แปลตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ว่า
พื้นความรู้ความสามารถ
ความหมายของภูมิปัญญา (Wisdom) หมายถึง ความรู้ความสามารถ ความเชื่อ
ทางพฤติกรรมและความสามารถในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์ ปัญญา หมายถึง พื้นฐานความรู้
ความสามารถ ความคิด ความเชื่อความสามารถทางพฤติกรรม ความสามารถในการแก้ไขปัญหา
โดยใช้ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและดารงชีพในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติโดยใช้
ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและดารงชีพในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมที่ได้มีการพัฒนาสืบสานกันมาอันเป็นผลของการใช้
สติปัญญาปรับตัวให้เข้ากับสภาพต่าง ๆ ในพื้นที่ที่กลุ่มชนเหล่านั้นตั้งถิ่นฐานอยู่รวมทั้งได้มีการ
แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับกลุ่มอื่นดังนั้นภูมิปัญญาไทย จึงหมายถึง องค์ความรู้ในด้านต่าง ๆของ
การดารงชีวิตของคนไทยที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่
ประกอบด้วยแนวคิดในการแก้ปัญหาของตนเองจนเกิดการหลอมรวมเป็นแนวความคิดสาหรับ
แก้ปัญหาที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งสามารถพัฒนาความรู้ดังกล่าวแล้วนามาประยุกต์ใช้ใน
การแก้ปัญหาและการดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมตามกาลเวลา ภูมิปัญญาเป็นเรื่องที่สั่งสมกันมา
ตั้งแต่อดีตและเป็นเรื่องของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนคนกับธรรมชาติคนกับสิ่ง
เหนือธรรมชาติ โดยผ่านกระบวนการทางจารีตประเพณี วิถีชีวิตการทามาหากินและพิธีกรรม
ต่าง ๆเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างความสัมพันธ์เหล่านี้ ภูมิปัญญา หมายถึง ประสบการณ์ใน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
การประกอบอาชีพในการศึกษาเล่าเรียน การที่ชาวนารู้จักวิธีทานา การไถนาการเอาควายมาใช้
ในการไถ่นา การรู้จักนวดข้าวโดยใช้ควาย รู้จักสานกระบุง ตะกร้าเอาไม้ไผ่มาทาเครื่องใช้ไม้
สอยในชีวิตประจาวัน เรียกว่าภูมิปัญญาทั้งสิ้นปัญญาเป็นผลึกขององค์ความรู้ที่มีกระบวนการสั่ง
สม สืบทอดกลั่นกรองกับมายาวนานมีที่มาหลากหลายแต่ได้ประสบประสานกันจนเป็นเหลี่ยม
กรณีที่จรัสแสงคงทนและท้าทายตลอดกาลเวลา ความรู้อาจจะไม่ได้เป็นเอกภาพแต่ภูมิปัญญาจัด
ว่าเป็นเอกลักษณ์ (http://tkagri.doae.go.th, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554)
ความหมายของภูมิปัญญาโดยเว็บคลังปัญญา ได้ให้ความหมายของภูมิปัญญาชาวบ้าน
ว่า หมายถึง ความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียว
ฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นเรื่องการทา
มาหากิน เช่น การจับปลา การจับสัตว์ การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การทอผ้า การทาเครื่องมือ
การเกษตรภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมา
ให้เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทาให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน (http: www.
panyathai.or.th/wiki/index.php, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554)
การอนุรักษ์ คือ การบารุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น ประเพณีต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่า
หรือการปฏิบัติตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม
การฟื้นฟู คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกาลังจะเลิก ให้กลับมาเป็น
ประโยชน์ เช่นการรื้อฟื้นดนตรีไทย
การประยุกต์ คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้
เหมาะสมกับสมัยใหม่ เช่น การใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาล ประสานกับการรักษาสมัยใหม่ การ
ทาพิธีบวชต้นไม้ เพื่อให้เกิดสานึกการอนุรักษ์ธรรมชาติ รักษาป่ามากยิ่งขึ้น การประยุกต์
ประเพณีการทาบุญข้าวเปลือกที่วัดมาเป็นการสร้างธนาคารข้าว เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลน
การสร้างใหม่ คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น การประดิษฐ์
โปงลาง การคิดโครงการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยอาศัยคุณค่าความเอื้ออาทรที่
ชาวบ้านเคยมีต่อกันมาหารูปแบบใหม่ เช่น การสร้างธนาคารข้าว ธนาคารโคกระบือการรวมกลุ่ม
แม่บ้าน เยาวชน เพื่อทากิจกรรมกันอย่างมีระบบมากยิ่งขึ้น
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ภูมิปัญญาเป็นความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น
ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วน ๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทามาหากิน การ
ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้
ความรู้นั้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือ
ธรรมชาติ ความรู้เหล่านี้เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิต เป็นแนวทาง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติที่
เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัว ความสัมพันธ์กับคนอื่น ความสัมพันธ์กับผู้
ล่วงลับไปแล้ว กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และกับธรรมชาติ ความรู้เรื่องทามาหากินมีอยู่มาก เช่นการทาไร่
ทานา การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การจับปลา จับสัตว์ การทอผ้า ทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม ซึ่งมี
ลวดลายที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและความคิดของชาวบ้าน การทาเครื่องปั้นดินเผา การ
แกะสลักไม้และหิน ซึ่งจะพบได้จากโบราณสถานในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ดังนั้น อาจสรุปได้ว่า
ภูมิปัญญา หมายถึง องค์ความรู้ ความเชื่อ ความสามารถของคนในท้องถิ่นที่ได้จากการสั่งสม
ประสบการณ์และการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนาน มีลักษณะเป็นองค์รวม และมีคุณค่าทาง
วัฒนธรรม
ความหมายของภูมิปัญญาไทยโดยเว็บโทรทัศน์ครู ได้ให้ความหมายของภูมิปัญญาว่า
หมายถึงพื้นฐานความรู้ความสามารถ ความคิด ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม
ความสามารถในการแก้ไขปัญหาโดยใช้ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและดารงชีพใน
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติโดยใช้ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและดารงชีพใน
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมที่ได้มีการพัฒนาสืบสานกัน
มาอันเป็นผลของการใช้สติปัญญาปรับตัวให้เข้ากับสภาพต่างๆในพื้นที่ที่กลุ่มชนเหล่านั้นตั้งถิ่น
ฐานอยู่รวมทั้งได้มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับกลุ่มอื่นดังนั้นภูมิปัญญาไทยจึงหมายถึงองค์
ความรู้ในด้านต่างๆของการดารงชีวิตของคนไทยที่เกิดจากการสั่งสม
ประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่ประกอบด้วยแนวคิดในการแก้ปัญหาของตนเองจนเกิด
การหลอมรวมเป็นแนวความคิดสาหรับแก้ปัญหาที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองซึ่งสามารถพัฒนา
ความรู้ดังกล่าวแล้วนามาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและการดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมตาม
กาลเวลา (http://www.thaigoodview.com,สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554)
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ประเภทของภูมิปัญญา
ประเภทของภูมิปัญญานั้นมีนักวิชาการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกล่าวถึงประเภทของ
ภูมิปัญญาไว้หลายประการ ดังนี้
ประเภทของภูมิปัญญา โดยกรมทรัพย์สินปัญญา (http://www.ipthailand.go.th,
สืบค้นเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2555) กล่าวถึง ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย คือ องค์ความรู้ของกลุ่ม
บุคคลท้องถิ่น และรวมถึงงานศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มีอยู่ในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2
ประเภท ดังนี้
1. ภูมิปัญญาฯ ประเภทองค์ความรู้ของกลุ่มบุคคลท้องถิ่น เช่น การผลิตอาหารและ
เครื่องดื่ม การผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร การผลิตผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ และการผลิต
ผลิตภัณฑ์จากไม้ หิน โลหะ แก้ว เซรามิค ดินเผา เครื่องหนังและอื่นๆ
2. ภูมิปัญญาฯ ประเภทงานศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน เช่น เรื่องเล่าพื้นบ้าน กวีนิพนธ์
พื้นบ้าน ปริศนา พื้นบ้าน เพลงพื้นบ้าน ดนตรีพื้นบ้าน การฟ้อนราพื้นบ้าน ละครพื้นบ้าน
จิตรกรรมพื้นบ้าน ประติมากรรมพื้นบ้าน หัตถกรรมพื้นบ้าน เครื่องแต่งกายพื้นบ้าน และสิ่งทอ
พื้นบ้าน
ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยที่ได้รับการจดแจ้งแล้ว จะถูกรวบรวมไว้เป็นฐานข้อมูล
สาหรับให้ประชาชนผู้สนใจได้ค้นหาข้อมูล หรือติดต่อกับผู้แจ้งข้อมูล เพื่อประโยชน์ในทางธุรกิจ
อันเป็นการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาฯ ให้มีการนาไปใช้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุดในเชิง
พาณิชย์ นอกจากนี้ผู้แจ้งข้อมูลภูมิปัญญาฯ อาจนาหนังสือรับรองที่ทางกรมทรัพย์สินทางปัญญา
ออกให้ไปแสดงต่อธนาคารหรือสถาบันการเงินต่างๆ ที่เข้าร่วมโครงการแปลงทรัพย์สินทาง
ปัญญาให้เป็นทุนกับกรมทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อเป็นหลักประกันในการขอสินเชื่อหรือ
หลักประกันในการชาระหนี้กับธนาคารหรือสถาบันการเงินนั้น
ประเภทของภูมิปัญญาโดยเว็บสานักพัฒนาเกษตรกร (http://tkagri.doae.go.th ,
สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2555) แบ่งประเภทของภูมิปัญญาไว้ 4 ประเภท ดังนี้
1. ภูมิปัญญาพื้นบ้านเป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบ
ทอดกันมาเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงการแก้ปัญหาการปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
คนรุ่นต่อไปเพื่อการดารงอยู่ของเผ่าพันธุ์จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมชาติของเผ่าพันธุ์หรือเป็นวิถี
ชีวิตของชาวบ้าน
2. ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นวิธีการปฏิบัติของชาวบ้านซึ่งได้มาจากประสบการณ์
แนวทางแก้ปัญหาแต่ละเรื่อง แต่ละประสบการณ์ แต่ละสภาพแวดล้อม ซึ่งจะมีเงื่อนไขปัจจัย
เฉพาะแตกต่างกันไปนามาใช้แก้ไขปัญหาโดยอาศัยศักยภาพที่มีอยู่โดยชาวบ้านคิดเองเป็นความรู้
ที่สร้างสรรค์และมีส่วนเสริมสร้างการผลิตหรือเป็นความรู้ของชาวบ้านที่ผ่านการปฏิบัติมาแล้ว
อย่างโชกโชน เป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมเป็นความรู้ที่ปฏิบัติได้มีพลังและสาคัญยิ่ง
ช่วยให้ชาวบ้านมีชีวิตอยู่รอดสร้างสรรค์การผลิตและช่วยในด้านการทางาน เป็นโครงสร้าง
ความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุ มีผลในตัวเอง
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนผ่าน
กระบวนการศึกษา สังเกตคิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญาและตกผลึกเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกัน
ขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลายๆ เรื่องจัดว่าเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ที่จะช่วยในการ
เรียนรู้การแก้ปัญหาจัดการและการปรับตัวในการดาเนินชีวิตของคนเราภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็น
ความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคมชุมชนและในตัวผู้รู้เอง จึงควรมีการสืบค้นรวบรวม ศึกษา ถ่ายทอด
พัฒนาและนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง
4. ภูมิปัญญาไทย หมายถึง องค์ความรู้ ความสามารถทักษะของคนไทยที่เกิดจาก
การส่งเสริมประสบการณ์ที่ผ่านกระบวนการการเลือกสรรเรียนรู้ปรุงแต่งและถ่ายทอดสืบต่อ
กันมาเพื่อใช้แก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมและเหมาะสม
กับยุคสมัย
ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ลักษณะสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นพอสรุปได้ดังนี้
1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการใช้ความรู้ ทักษะ ความเชื่อและพฤติกรรม
2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนกับธรรมชาติและสิ่งเหนือ
ธรรมชาติ
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิต
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแก้ไขปัญหา การจัดการ การปรับตัว การเรียนรู้เพื่อ
ความอยู่รอดของบุคคลชุมชนและสังคม
5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเป็นแกนหลักหรือกระบวนทัศน์ในการมองชีวิตเป็นพื้น
ความรู้
6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีลักษณะเฉพาะหรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง
7. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม
ตลอดเวลา
8. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านวัฒนธรรมเป็นฐานไม่ใช่วิทยาศาสตร์
9. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการบูรณาการ
10. ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความเชื่อมโยงไปสู่นามธรรมที่ลึกซึ้ง
11. ภูมิปัญญาท้องถิ่นเน้นความสาคัญของจริยธรรม
ประเภทของภูมิปัญญาไทยโดยเว็บกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ
(http://www.baanmaha.com, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554) ได้แบ่งประเภทของ
ภูมิปัญญาไทยไว้ 4ประเภท ดังนี้
1. ภูมิปัญญาด้านคติธรรม ความคิด ความเชื่อ หลักการที่เป็นพื้นฐานขององค์ความรู้
ที่เกิดจากการสั่งถ่ายทอดกันมา
2. ภูมิปัญญาด้านศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นแบบแผนการ
ดาเนินชีวิตที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา
3. ภูมิปัญญาด้านการประกอบอาชีพในท้องถิ่น ที่ยึดหลักการพึ่งตนเองและได้รับการ
พัฒนาให้เหมาะสมกับกาลสมัย
4. ภูมิปัญญาด้านแนวความคิด หลักปฏิบัติ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ชาวบ้านนามา
ดัดแปลงใช้ในชุมชนอย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่
นอกจากนี้ยังมีการกาหนดสาขาภูมิปัญญาไทย เพื่อนาภูมิปัญญาไทยมาใช้ในการเรียนรู้
และส่งเสริมโดยแบ่งภูมิปัญญาออกเป็น 10 สาขา ดังนี้
1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะและ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
เทคนิคด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าดั้งเดิมสามารถพึ่งพาตนเอง
ในสภาวการณ์ต่าง ๆ ได้ เช่น การทาการเกษตรแบบผสมผสานการแก้ปัญหาการเกษตร
การแก้ปัญหาด้านการผลิต ด้านการตลาด เช่น การแก้ไขโรคและแมลง การรู้จักปรับใช้
เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการเกษตร เป็นต้น
2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม (ด้านการผลิตและการบริโภค) หมายถึงการรู้จัก
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลผลิตเพื่อชะลอการนาเข้าตลาดเพื่อแก้ปัญหา
ด้านการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัดและเป็นธรรมอันเป็นขบวนการใช้ชุมชนท้องถิ่นสามารถ
พึ่งตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดทั้งการผลิตและการจาหน่ายผลผลิตทางหัตถกรรม เช่น
การรวมกลุ่มของกลุ่มโรงงานยางพารากลุ่มโรงสี กลุ่มหัตถกรรม เป็นต้น
3. สาขาการแพทย์แผนไทยหมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกันและรักษา
สุขภาพของคนในชุมชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองทางสุขภาพและอนามัยได้
4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อมหมายถึงความสามารถเกี่ยวกับ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งการอนุรักษ์ พัฒนาและใช้ประโยชน์จาก
คุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน
5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชนหมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด้าน
การสะสมและบริหารกองทุนและธุรกิจชุมชน ทั้งที่เป็นเงินตราและโภคทรัพย์ เพื่อเสริมสร้างชีวิต
ความเป็นอยู่ที่ดีของสมาชิกในชุมชน
6. สาขาสวัสดิการหมายถึง ความสามารถในการจัดการสวัสดิการในการประกัน
คุณภาพชีวิตของคนให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม
7. สาขาศิลปกรรมหมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางศิลปะสาขาต่าง ๆ
เช่นจิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป์ คีตศิลป์ เป็นต้น
8. สาขาการจัดการหมายถึง ความสามารถในการบริหารการจัดการดาเนินงานด้าน
ต่าง ๆทั้งองค์กรชุมชน องค์ทางศาสนา องค์กรทางการศึกษา ตลอดทั้งองค์กรทางสังคมอื่นๆใน
สังคมไทย เช่น การจัดการองค์กรของกลุ่มแม่บ้าน ระบบผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน การจัดศาสนสถาน
การจัดการศึกษา ตลอดทั้งการจัดการเรียนการสอน เป็นต้น กรณีการจัดการศึกษาเรียนรู้นับได้
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ว่าเป็นภูมิปัญญาสาขาการจัดการที่มีความสาคัญ เพราะการจัดการศึกษาเรียนรู้ที่ดี หมายถึง
กระบวนการเรียนรู้ พัฒนาและถ่ายทอดความรู้ทางภูมิปัญญาไทยที่มีประสิทธิผล
9. สาขาภาษาและวรรณกรรมหมายถึง ความสามารถสร้างผลงานทางด้านภาษา
ทั้งภาษาโบราณ ภาษาไทยและการใช้ภาษา ตลอดทั้งด้านวรรณกรรมทุกประเภท
10. สาขาศาสนาและประเพณีหมายถึง ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคา
สอนทางศาสนา ความเชื่อ และประเพณีดั้งเดิมที่มีค่าให้ความเหมะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ
ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยเว็บวิกิพีเดีย (http://th.wikipedia.org , สืบค้นเมื่อ
วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554) ได้แบ่งประเภทของภูมิปัญญาไทยไว้10 ประเภท ดังนี้
1. ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับความเชื่อและศาสนา -ภูมิปัญญาประเภทนี้จะมีลักษณะที่
แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นเนื่องจากมีพื้นฐานทางความเชื่อในศาสนาที่แตกต่างกันสาหรับภูมิ
ปัญญาท้องถิ่นของไทยซึ่งเกี่ยวกับความเชื่อในทางพระพุทธศาสนาเป็นหลักนั้นได้มีส่วน
สร้างสรรค์สังคมโดยการผสมผสานกับความเชื่อดั้งเดิมจนกลายเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละ
ท้องถิ่น
2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม -เนื่องจากประเพณีและพิธีกรรม
เป็นสิ่งที่ดีงามที่คนในท้องถิ่นสร้างขึ้นมาโดยเฉพาะเป็นการเพิ่มขวัญและกาลังใจคนในสังคมภูมิ
ปัญญาประเภทนี้จึงมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตในสังคมเป็นอย่างมากดังจะเห็นได้จาก
ประเพณีและพิธีกรรมที่สาคัญในประเทศไทยล้วนเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตของคนในสังคม
แทบทั้งสิ้น
3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน –เป็นการสร้างสรรค์งานศิลปต่างๆโดย
การนาทรัพยากรที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันหลังจากนั้นได้สืบทอดโดยการพัฒนาอย่าง
ไม่ขาดสายกลายเป็นศิลปะที่มีคุณค่าเฉพาะถิ่น
4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน -นอกจากมนุษย์จะนาอาหารมา
บริโภคเพื่อการอยู่รอดแล้วมนุษย์ยังได้นาเทคนิคการถนอมอาหารและการปรุงอาหารมาใช้เพื่อให้
อาหารที่มีมากเกินความต้องการสามารถเก็บไว้บริโภคได้เป็นเวลานานซึ่งถือว่าเป็นภูมิปัญญาอีก
ประเภทหนึ่งที่สาคัญต่อการดารงชีวิตนอกจากนี้ยังนาผักพื้นบ้านชนิดต่างๆมาบริโภคอีกด้วย
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน–การละเล่นถือว่าเป็นการผ่อน
คลายโดยเฉพาะในวัยเด็กซึ่งชอบความสนุกสนานเพลิดเพลินภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยส่วนใหญ่
จะใช้อุปกรณ์ในการละเล่นที่ประดิษฐ์มาจากธรรมชาติซึ่งแสดงให้เห็นวิถีชีวิตกับธรรมชาติและ
รู้จักปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมอย่างกลมกลืน
6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม -ประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่หลากหลาย
ซึ่งเกิดจากการสร้างสรรค์ของแต่ละภาคเราสามารถพบหลักฐานจากร่องรอยของศิลปวัฒนธรรม
ที่ปรากฏกระจายอยู่ทั่วไป เช่น สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรมเป็นต้น ซึ่งแสดงให้เห็น
ถึงเทคนิค ความคิดความเชื่อของบรรพบุรุษเป็นอย่างดี
7. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน -ภูมิปัญญาประเภทนี้ส่วนมากแสดงออก
ถึงความสนุกสนานและยังเป็นคติสอนใจสาหรับคนในสังคมซึ่งมีส่วนแตกต่างกันออกไปตามโลก
ทัศน์ของคนในภาคต่างๆ
8. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสมุนไพรและตารายาพื้นบ้าน -ภูมิปัญญาประเภทนี้เกิด
จากการสั่งสมประสบการณ์ของคนในอดีตและถ่ายทอดให้กับคนรุ่นหลังถือว่ามีความสาคัญเป็น
อย่างมาก เพราะถือว่าเป็นปัจจัยสี่ซึ่งมีความจาเป็นสาหรับมนุษย์หากได้รับการพัฒนาหรือ
ส่งเสริมจะเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตได้
9. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการประดิษฐกรรม -เทคโนโลยีและสิ่งของเครื่องใช้
ต่างๆที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทยในแต่ละภาคนั้นถือเป็นการประดิษฐกรรม
และหัตถกรรมชั้นเยี่ยมซึ่งปัจจุบันไม่ได้รับความสนใจในการพัฒนาและส่งเสริมภูมิปัญญาประเภท
นี้เท่าที่ควรหากมีการเรียนรู้และสืบทอดความคิดเกี่ยวกับการประดิษฐกรรมและหัตถกรรมให้แก่
เยาวชน จะเป็นการรักษาภูมิปัญญาของบรรพชนได้อีกทางหนึ่ง
10. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการดารงชีวิตตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ -
เนื่องจากคนไทยมีอาชีพที่เกี่ยวกับเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทานาทาไร่จึงทาให้เกิดภูมิปัญญาที่
เกี่ยวกับความเชื่อและพิธีกรรมในการดารงชีวิตเพื่อแก้ปัญหาหรืออ้อนวอนเพื่อให้เกิดความอุดม
สมบูรณ์ในการเพาะปลูกและเพื่อเพิ่มผลิตผลทางการเกษตรดังจะเห็นได้จากพิธีกรรมที่เกี่ยวกับ
การเกษตรทั่วทุกภูมิภาคของไทย
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ตัวอย่างภูมิปัญญาในท้องถิ่น
ชื่อวิทยากรท้องถิ่น นายทา ทาทอง
ชื่อเล่น ปู่ทา
อายุ 74 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 114 หมู่ 2บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ 31180
งานที่ถนัด แกะสลัก
ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภท ศิลปะพื้นบ้าน
ประวัติส่วนตัว นายทา ทาทอง เริ่มงานแกะสลักมาได้ 24 ปีแล้ว เริ่มตั้งแต่อายุ 50 ปี
จนถึงปัจจุบันอายุท่าน อายุ 74 ปี (2554) งานแกะสลักที่ทาสามารถทารายได้ให้กับคุณตาบ้าง
เล็กน้อย งานแกะสลักส่วนใหญ่เป็นรูปสัตว์นานาชนิด อาทิเช่น นก ลิง กระต่าย กระรอก ฯลฯ
โดยสัตว์แต่ละตัวราคาประมาณตัวละ 100 บาท คุณตาเคยแกะสลักหินเป็นรูปพระขาย แต่เมื่อรู้
ว่างานที่ทาเป็นงานผิดกฎหมายจึงเลิกทา คุณตาใช้ความชอบส่วนตัวในการศึกษาและได้ฝึกฝน
งานแกะสลักโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ความรู้ที่ได้
อุปกรณ์ที่ใช้ทางานแกะสลัก
1. มะพร้าว
2. ไม้เนื้ออ่อน
อุปกรณ์ที่ใช้แกะสลัก
1. มีดแกะสลัก
2. ค้อน
3. สิ่ว
ภาพแสดง : อุปกรณ์ที่ใช้ทางานแกะสลัก
ภาพแสดง : บ้านของวิทยากรที่มีงานประดิษฐ์
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ลูกค้าส่วนใหญ่จะมาจากต่างจังหวัดและในกรุงเทพฯ คนในชุมชนเป็นบางส่วนที่ซื้อไป
จาหน่ายหารายได้ บางส่วนคุณตาได้นาไปทาบุญโดยนาไปประดับตกแต่งไว้ที่วัดสุภัทรบูรพาราม
(วัดใหญ่)
นอกจากนี้ยังมีงานแกะสลักชิ้นพิเศษที่เมื่อใครได้พบเห็นแล้วเกิดความชอบมาก มีคนมา
ให้ราคาถึง 10,000 บาท คุณตาก็ไม่ขายเพราะคุณตาชอบงานชิ้นนี้มากเป็นงานแกะสลักรวมสัตว์
ในวรรณคดี เช่น พญานาค มังกร หงส์ สิงโต ลิง หนุมาน นางมัจฉาจระเข้ เป็นต้น
ชื่อภาพ: ผลงานที่ภาคภูมิใจของปู่ทา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากรท้องถิ่น นายพุด สมพันธ์
ชื่อเล่น ตาพุด
อายุ 74 ปี
ที่อยู่ 221 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ 31180
งานที่ถนัด สานตะกร้า
ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภท ศิลปะพื้นบ้าน
ประวัติส่วนตัว คุณตาทางานจักสานมาได้ 23 ปี โดยได้เริ่มทางานนี้มาตั้งแต่อายุ 50
ปี ในขณะนี้ก็อายุได้ 73ปีแล้ว งานที่ทาคุณตาจะขายในราคาใบละ 50 บาท (ข้อง) สานตะกร้า
นั้นจะอยู่ที่ราคาใบละ 150 บาท แต่ในช่วงนี้คุณตาก็ไม่ค่อยได้ทาแล้วเนื่องจากว่าอายุก็มากขึ้น
และมีอาการปวดหลังจึงได้เลิกทา ตอนนี้คุณตาเปลี่ยนจากงานสานมาเข้าวัดฟังธรรมเพื่อที่จะทา
จิตใจของตนให้สงบในช่วงนั้นคุณตาได้ทามาโดยตลอดนับว่าเป็นรายได้อย่างหนึ่งของคุณตา มี
รายได้เสริมประมาณ900 บาท/เดือน
ความรู้ที่ได้
วัสดุที่นามาทาเครื่องจักสานได้ดีคือไม้ไผ่นามาทาเครื่องใช้ในครัวเรือนได้เกือบทุกชนิด
เช่นกระด้ง กระเชอ กระชอนสานเป็นเครื่องดักจับสัตว์น้าเช่น ไซ ข้อง เป็นต้น
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากรท้องถิ่น นายณรงค์ จันทร์แก้ว
ชื่อเล่น พ่อดม อายุ 66 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 119 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ 31180
งานที่ถนัด บายศรีสู่ขวัญ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภทประเพณีและพิธีกรรม
ความรู้ที่ได้ คุณตาได้รับตาแหน่งปราชญ์ชาวบ้านตั้งแต่อายุ 55 ปี ทางานเกี่ยวกับพืช
สมุนไพร บายสีสู่ขวัญ เศรษฐกิจพอเพียง หมออาสาประจาตาบล เริ่มทาปุ๋ยชีวภาพตั้งแต่อายุ
48ปี นอกจากนี้คุณตายังเป็นหมอลาเก่า ก่อนนั้นคุณตาอายุ 16ปีได้เดินทางไปกับคณะหมอลา
ลาเรื่องต่อกลอนคณะสออินตาศิลป์ ปัจจุบันเวลามีงานศพหรืองานมงคลต่าง ๆ เจ้าภาพจะมา
เชิญให้คุณตาไปเป็นวิทยาการในงาน เมื่ออายุ 14ปีได้เข้าบวชเรียนเพื่อศึกษาพระธรรมวินัยได้
นักธรรมตรี พอลาสิกขาบทจึงสมัครไปกับคณะหมอลาทั่วประเทศคุณตามาอยู่บ้านโนนเจริญ
ตั้งแต่ พ.ศ. 2511 จากนั้นคุณตาได้รับเลือกให้เป็นสารวัตรกานันและเป็นหมอดินอาสาประจา
ตาบลเมื่อปี พ.ศ. 2538
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากร นายตาโชติ เข็งนอก
ชื่อเล่น ตาโชติ
อายุ 65 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 17 หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
มีความรู้ความสามารถ หมอลากลอน
ประเภทของภูมิปัญญา การละเล่นพื้นบ้าน
ความรู้ที่ได้จากท่าน
ท่านเป็นคนร้องหมอลากลอนมาแต่หนุ่มท่านมีวงของท่านและร่วมกับเพื่อนอีกหลายคน
เริ่มเล่นตั้งแต่อายุ 20 ปี เลิกร้องหมอลากลอนตั้งแต่อายุ 35 ปี ท่านคิดว่าการร้องหมอลากลอน
มันน่าเบื่อจึงหันมาเป่าแคนแทน อีกอย่างเมื่ออายุมากแล้วท่านคิดว่าน่าจะอยู่เบื้องหลังมากว่า
ปัจจุบันคุณตามีอาชีพใหม่ เป็นช่างตัดผมให้กับเพื่อนบ้านและนักเรียนโดยเฉพาะเด็กที่ตัดผมครั้ง
แรกและเด็กเล็กระดับประถม
ตัวอย่างผลงาน
คุณตาไปประกวดตามงานวัดได้รางวัลเป็นเงินสดจึงไม่มีหลักฐาน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 22
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากรท้องถิ่น นางสังวาล เรียบร้อย
ชื่อเล่น คุณยายนาง
อายุ 65 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 199 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
มีความรู้ความสามารถเรื่อง หมอลากลอน
ประเภทของภูมิปัญญา การละเล่นพื้นบ้าน
ความรู้ที่ได้จากท่าน หมอลากลอนเป็นศิลปะพื้นบ้านที่ให้ความสนุกสนานแก่ประชาชน
ทุกคน คุณยายนางเริ่มเรียนและเล่นหมอลาด้วยใจรัก เริ่มเรียนจากการอ่านตาราหมอลาและ
ฝึกร้องตามจนท่านร้องได้ จากนั้นก็ไปสมัครเล่นในวงหมอลาวงอานวยศิลป์กลอนลาที่ท่านถนัด
และถือเป็นแบบอย่างเป็นสาเนียงทานองขอนแก่นมีจังหวะที่ช้า เศร้าไพเราะชวนฟัง เมื่อย่างสู่
วัยสาวเต็มตัวท่านก็แต่งงานเมื่ออายุ 22 ปีท่านจึงเลิกเล่นเพื่อมาประกอบอาชีพเกษตรกรรมกับ
ครอบครัวตัวอย่างผลงานในคณะหมอลาวงอานวยศิลป์ คุณยายเล่นในตาแหน่ง นางเอก
เล่นงานประจาปีลอยกระทงชื่อคณะช่อพานเพลินโนนเจริญพาม่วนกลอนลาที่ยังใช้ร้องอยู่ใน
ปัจจุบัน คือ กลอนสอนเด็ก หมอลาสมพร
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 23
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากร นางจันทร์ศรี คูเมือง
ชื่อเล่น แม่ดา
อายุ 59 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 50 หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
งานที่ถนัด ทอผ้า
ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่น เกี่ยวกับประดิษฐ์กรรมและหัตถกรรมพื้นบ้าน
ประวัติส่วนตัว
คุณแม่จันทร์ศรี คูเมือง อายุ 59ปี(2555)ในครอบครัวมีสมาชิก7คนเริ่มทางานทอผ้ามา
ได้ 44ปี โดยเริ่มทาตั้งแต่อายุ15 ปีจนมาถึงปัจจุบันท่านมีอายุ 59 ปี งานทอผ้าสามารถสร้าง
รายได้ให้กับคุณยายเล็กน้อย งานทอผ้าของคุณยายส่วนใหญ่เป็นการทอด้ายโดยจะขายผ้าด้าย
อยู่ในราคาผืนละ 250 บาทส่วนผ้าไหมจะตกอยู่ที่ผืนละ1,300 บาท คุณยายมีความ
ภาคภูมิใจในการทาอาชีพนี้มากเพราะเป็นอาชีพที่บรรพบุรุษถ่ายทอดให้แก่คุณยาย
ความรู้ที่ได้
คุณยายบอกว่าในปัจจุบันนี้การทอผ้าเริ่มที่จะหายสาบสูญไปดังนั้นการที่คุณยายรักการ
ทอผ้าก็เป็นอีกส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์การทอผ้าเอาไว้
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 24
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทอผ้า
1. หลอดด้าย
2. กระสวย
3. เครือผ้าซิ่น
4. กี่ทอผ้า
5. ฝืมทอผ้า
6. ไม้กาจับ
7. หมี่ฯลฯ
ลูกค้าของคุณยายส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้าคนในท้องถิ่นเองนาน ๆ ครั้งถึงจะมีลูกค้า
ต่างถิ่นมาซื้อและบางครั้งคุณยายก็จะทาผ้าที่ทอได้ไปรวมกลุ่มกับชาวบ้านเพื่อไปประกวด
นอกจากนี้คุณยายยังมีผลงานที่น่าภาคภูมิใจคือคุณยายเคยนาผ้าด้ายที่ทอเสร็จ
สมบูรณ์สวยงามไปประกวดที่จังหวัดบุรีรัมย์มาแล้ว ประมาณปี พ.ศ.2546
ชื่อภาพ : ผลงานที่น่าภาคภูมิใจของแม่ดา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 25
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากร นางทูน เหมาะทอง
ชื่อเล่น คุณแม่อึ่ง
อายุ 60 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 105 หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ
ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวดจังหวัดบุรีรัมย์
งานที่ถนัด สาวไหม,เลี้ยงหม่อน
ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภท เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน
ประวัติส่วนตัว
แม่ทูน เหมาะทองทางานเลี้ยงหม่อนและสาวไหมมาได้ 43 ปี โดยเริ่มทาตั้งแต่อายุ
17 ปีจนมาถึงปัจจุบันท่านมีอายุ 60 ปี(2555) งานเลี้ยงหม่อนและสาวไหมสามารถสร้าง
รายได้ให้กับคุณยายมากนัก โดยคุณยายจะนาดักแด้ที่ได้จากการสาวไหมไปเป็นค่าใบหม่อน
และบางที่อาจจะมีคนมาขอซื้อคูณยายก็จะขายให้ในราคาเป็นกันเองคือถุงละ 20 บาท ลูกค้า
ของคุณยายส่วนใหญ่เป็นคนในท้องถิ่นเพราะคุณยายไม่ได้ขายเป็นประจาดักแด้ไหมปัจจุบันนี้หา
กินยากมากเพราะคนไม่นิยมเลี้ยงหม่อนและสาวไหมเพราะถือว่ามันยุ่งยากและต้องใช้เวลานาน
มากกว่าจะได้ดักแด้มาแต่ละตัว ดังนั้นการเลี้ยงหม่อนและสาวไหมเริ่มหาดูได้ยาก
อุปกรณ์ที่ใช้สาวไหม
(เป็นภาษาท้องถิ่น)
1. บักพวงสาว
2. ไม้ถึก
3. หม้อ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 26
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากร นางจันทร์ เศษสุวรรณ
ชื่อเล่น แม่แต๋ว
อายุ 63 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 55 ม.4 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
งานที่ถนัด ทอเสื่อ
ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น เกี่ยวกับประดิษฐ์กรรมและหัตถกรรมพื้นบ้าน
ประวัติส่วนตัว
แม่จันทร์ เศษสุวรรณ เริ่มทางานทอเสื่อมาได้ 33 ปี โดยเริ่มทาตั้งแต่อายุ 30 ปี
จนมาถึงปัจจุบันท่านมีอายุ 63 ปี(2555) งานทอเสื่อเป็นอาชีพที่คุณแม่จันทร์ทาขึ้นเพื่อใช้เอง
ภาคในครอบครัวความรู้ที่ได้ในปัจจุบันการทอเสื่อเป็นอาชีพที่ไม่ค่อยมีให้เห็นมักนัก เพราะคน
ไทยในตอนนี้ไม่ค่อยให้ความสนใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเองนักเราจึงควรอนุรักษ์การ
ทอเสื่อไว้เพื่อจะมิให้การทอเสื่อสูญหายไปจากท้องถิ่นของเรา
อุปกรณ์ที่ใช้ทอเสื่อ
1. ต้นกก
2. ฟืมทอเสื่อ
3. สีย้อมเสื่อ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 27
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากร นายลึด กาประโคน
ชื่อเล่น ตาลึด
อายุ 76 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 55 ม. 7 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
งานที่ถนัด เล่นดนตรี ทาซออู้ ทาซอด้วง
ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน
ประวัติส่วนตัว
คุณตาเริ่มทางานตั้งแต่อายุ 7 ปี จบการศึกษา ระดับระชั้น ป.4 และบวชตอนอายุ
35 ปี เป็นเวลา 1 พรรษา คุณตาได้เคยเข้าประกวดแข่งขันการเล่นซอระดับอาเภอและระดับ
จังหวัดได้รับรางวัลชนะเลิศ คุณตาได้ทาซอขายในราคาเครื่องละ 500 บาท
ความรู้ที่ได้
ปัจจุบันการละเล่นพื้นเมืองแบบนี้เริ่มสูญหายขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากคนสมัยนี้นิยมเล่น
เครื่องดนตรีสากลมากกว่า เช่น ไวโอลิน กีตาร์ เปียโน เป็นต้น และด้วยความที่ว่าคนไทย
เริ่มนาวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามามีอิทธิพลในชีวิตมากขึ้นจนทาให้ลืมไปว่าวัฒนธรรมไทยเราไม่แพ้
ชาติใดในโลกเพราะฉะนั้นคนไทยเราควรรักษาสิ่งที่บรรพบุรุษสร้างขึ้นมาให้อยู่กับพวกเราสืบไป
อุปกรณ์ที่ใช้ในการทาซอคือ กะลาไม้ลวด
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 28
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากร นางกรองแก้ว หักประโคน
ชื่อเล่น แก้ว
อายุ 52 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 189 ม .7 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
งานที่ถนัด ร้องกันตรึม
ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน
ประวัติส่วนตัว
แม่กรองแก้ว หักประโคน เริ่มทางานตั้งแต่อายุ 11 ปี ปัจจุบันทางานรับจ้าง
ทั่วไป การศึกษาจบชั้น ป.4 ปัจจุบันกาลังศึกษา ก.ศ.น ได้ประกวดการแสดงกันตรึมได้รับรางวัล
ชนะเลิศ และงานเครื่องเคลือบของอาเภอบ้านกรวดในปี 2534 และในปี พ.ศ. 2535 ได้รับ
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2
ความรู้ที่ได้
ปัจจุบันการร้องเพลงกันตรึมหาชมได้ยากมากเพราะคนเราสนใจเพลงสตริงมากกว่าจน
ทาให้ลืมไปว่ามีเพลงพื้นบ้านที่ใช้ภาษาท้องถิ่นที่สะสลวย และมีความหมายดี จึงทาให้เพลง
กันตรึมเริ่มหายไปจากสังคมไทย เราจึงควรอนุรักษ์เพลงพื้นบ้านที่เรามีมายาวนาน ให้มันอยู่กับ
สังคมไทยต่อไป
อุปกรณ์ในการแสดง กลอง ฉิ่ง ฉาบ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 29
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากร นายถนอม เหลาทอง
ชื่อเล่น พ่อหนอม
อายุ 64 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 83 ม.4 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
งานที่ถนัด สมุนไพรเกี่ยวกับบารุงน้านม และรักษาเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ
ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับตารายาพื้นบ้าน
ประวัติส่วนตัว
คุณตาเริ่มทาสมุนไพรตั้งแต่อายุ 20 ปี การศึกษาชั้น ป.6 ปัจจุบันทานาทาสวนยาง
และรับจ้างทั่วไปหลังจากที่ว่างจากการทานา คุณตาทาสมุนไพรขายในราคาหม้อละ 100 บาท
คุณตาได้บวชตอนอายุ 50 ปี
ความรู้ที่ได้
วิธีการทายาต่างๆ และได้ทราบว่าสมุนไพรตัวไหนสามารถนามาทายาอะไรได้บ้าง
และอีกอย่างสูตรยาต่างๆก็เริ่มจะหายไปจนนักวิจัยต้องทาการทดลองเพื่อนาไปใช้ในทาง
การแพทย์
อุปกรณ์ รากไม้ที่เป็นสมุนไพรต่าง ๆ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 30
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากร นางทองม้วน วรธงชัย
ชื่อเล่น แม่ม้วน
อายุ 58 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 134 ม.3 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
งานที่ถนัด ร้องหมอลาหมู่
ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน
ประวัติส่วนตัว
คุณยายเริ่มร้องหมอลาหมู่ตั้งแต่อายุ 18 ปี การศึกษา ชั้น ป.4 และเลิกร้องหมอ
ลาหมู่ตอนอายุ 23 ปี ปัจจุบันคุณยายทานา คุณยายได้เคยเข้าร่วมประกวดเพลงพื้นบ้านที่
อาเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1
ความรู้ที่ได้
เพลงหมอลาเป็นเพลงพื้นบ้านของชาวอีสาน และปัจจุบันสามารถหาชมได้ยากมาก
เพราะผู้คนก็ไม่ค่อยสนใจในเพลงของหมอลาเนื่องจากเป็นภาษาที่ฟังค่อนข้างยาก แต่เราควรที่
จะสืบสานศิลปะการแสดงเหล่านี้เอาไว้เพื่อให้ลูกหลานรุ่นต่อไปได้ชมกัน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 31
สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.)
ชื่อวิทยากร นางจันทร์ สุริยทานา
ชื่อเล่น อ่อน
อายุ 43 ปี
ที่อยู่ บ้านเลขที่ 129 ม.4 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ
อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์
งานที่ถนัด ปลูกผักพื้นบ้าน
ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับการดารงชีวิตตามสภาพแวดล้อม
ประวัติส่วนตัว
การปลูกผักขายเป็นอาชีพเสริม หลังการเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ขายผักกาละ5 บาท
การศึกษา จบ ป.6 ที่คุณน้าอ่อนปลูกนั้นเป็นผักพื้นบ้านที่มีอยู่ในท้องถิ่นจากตอนแรกที่คิดจะ
ปลูกเอาไว้รับประทานภายในครอบครัวเมื่อปริมาณผักมีมากจึงนาไปขายเพื่อหารายได้เสริม
เป็นการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงในอีกรูปแบบหนึ่ง
ความรู้ที่ได้
วิธีการปลูกผัก โดยใช้วิธีธรรมชาติ และแนวทางในการใช้ชีวิตอยู่อย่างพอเพียง
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น

More Related Content

Similar to เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น

เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนเล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยเล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยหรร 'ษๅ
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินอุดม
ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินอุดมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินอุดม
ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินอุดมMiki Tidarat
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีteerasak04
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) นางสาวอัมพร แสงมณี
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATIONninecomp
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนหรร 'ษๅ
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นSilpakorn University
 

Similar to เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น (20)

เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้านเล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
เล่มที่ 7เพื่อนบ้าน
 
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรมเล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เล่มที่ 5 ภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม
 
เล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณีเล่มที่ 6 ประเพณี
เล่มที่ 6 ประเพณี
 
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชนเล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
เล่มที่ 4 เศรษฐกิจในชุมชน
 
เล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัยเล่มที่ 2 ปัจจัย
เล่มที่ 2 ปัจจัย
 
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินอุดม
ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินอุดมข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินอุดม
ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินอุดม
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่นการวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
การวิจัยเพื่อตอบสนองการพัฒนาท้องถิ่น
 
ห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดีห้องสมุด 3 ดี
ห้องสมุด 3 ดี
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) อ.วนิดา  บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
อ.วนิดา บทที่ 1 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น)
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
Nuntanakan2
Nuntanakan2Nuntanakan2
Nuntanakan2
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชนเล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
เล่มที่ 9 เหตุุการณ์สำคัญในชุมชน
 
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่นกลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
กลยุทธ์การส่งเสริมการอ่านสำกรับวัยรุ่น
 

More from หรร 'ษๅ

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 

More from หรร 'ษๅ (20)

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 

เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น

  • 1. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 สานักงานส่งเสริมคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ภูมิปัญญาในท้องถิ่น บทนา การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยนักเรียนโรงเรียนโนนเจริญพิทยาคมครั้งนี้ เป็นการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์แล้วนาข้อมูลมาเรียบเรียงเป็นหนังสืออ่านเพิ่มเติมเพื่อ สะดวกในการนาไปศึกษาได้ด้วยตนเองวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักให้ผู้เรียนรักษ์ท้องถิ่น เกิดความภาคภูมิใจ เป็นการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติเท่ากับเป็นการทาความรู้จักสังคมของตน ซึ่งจะช่วยปลูกฝังความรักมาตุภูมิ ความมุ่งมั่นในปณิธานแห่งชาติและความเข้าใจวัฒนธรรม ประจาชาติรู้สึกเป็นเจ้าของท้องถิ่นของตน วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์ เริ่มต้นที่ความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้าหาคาตอบด้วย ตนเองจากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบัน โดยไม่หลงเชื่อคาพูดของ ใครคนใดคนหนึ่งหรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง สิ่งที่ต้องทาเป็นอันดับ แรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก หลักฐานทางประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางและละเอียดลออ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐานทุกชิ้นด้วย จิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอไป แล้วรวบรวม ข้อเท็จจริงที่ได้ จากนั้นนาเสนอผลที่ศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพื่อให้ผู้อื่น ตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าต่อไปได้ ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ประกอบด้วย 1. การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษาให้ชัดเจน (เรื่องอะไรช่วงเวลาใดที่ไหน) 2. รวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ให้ครบถ้วน ครอบคลุม 3. ตรวจสอบความจริงจากหลักฐาน ที่เรียกว่า การวิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ 4. วิเคราะห์ข้อมูลและตีความเพื่อค้นหาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความรู้ที่ค้นพบ โดยปราศจากอคติและความลาเอียง
  • 2. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 2 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดหัวเรื่อง การกาหนดหัวข้อเรื่องที่ต้องการศึกษา ช่วงเวลาใด ที่ไหนให้ชัดเจนในหนังสือเล่มนี้ สมาชิกในกลุ่มช่วยกันตั้งชื่อไว้หลายชื่อให้คัดเหลือเพียงเรื่องเดียว ดังนี้ 1.ภูมิปัญญาในท้องถิ่น 2.ภูมิปัญญาไทยในท้องถิ่น 3.ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย 4.ภูมิปัญญาในบ้านโนนเจริญ 5.ภูมิปัญญาท้องถิ่นของเรา 6.การศึกษาภูมิปัญญาท้องถิ่น เรื่องอะไร ในที่ประชุมกลุ่มลงมติเลือกข้อที่ 1 เรื่อง ภูมิปัญญาในท้องถิ่น โดยให้ เหตุผลว่า เป็นชื่อที่สั้น ชัดเจน เป็นการศึกษาภูมิปัญญาในท้องถิ่นภูมิปัญญาในท้องถิ่น โดยเฉพาะเรื่องราวในหมู่บ้านโนนเจริญจานวน 5 หมู่บ้าน จาก 11 หมู่บ้าน ที่ไหน หมู่บ้านในการปกครองของเทศบาลตาบลโนนเจริญ มีจานวน 11หมู่บ้านแต่ใน หนังสือเล่มนี้จะกล่าวถึง 5 หมู่บ้าน ดังนี้ โนนเจริญ หมู่ที่ 1 โนนเจริญ หมู่ที่ 2 โนนเจริญ หมู่ที่ 3 โนนเจริญ หมู่ที่ 4 โนนเจริญ หมู่ที่ 5 ช่วงเวลาใด ประมาณปี พ.ศ. 2493-2554
  • 3. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 3 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. http://www.tkagri.doae.go.th 2. http://www.panyathai.or.th 3. http://www.thaigoodvieww.com 4. http://www.ipthailand.go.th 5. http://www.th.wikipedia.org หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 1. นายทา ทาทอง อายุ 74 ปี 2. นายพุด สมพันธ์ อายุ 73 ปี 3. นายณรงค์ จันทร์แก้ว อายุ 66 ปี 4. นายโชติ เข็งนอก อายุ 65ปี 5. นางสังวาล เรียบร้อย อายุ 65 ปี 6. นางจันทร์ศรี คูเมือง อายุ 59ปี 7. นางจันทร์ เศษสุวรรณ อายุ 63 ปี 8. นางกองแก้ว หักประโคน อายุ 52ปี 9. นายจันทร์ บุตรกุล อายุ 68 ปี 10. นายสุรพงษ์ พิลาวุธ อายุ 65 ปี
  • 4. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 4 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 3 ประเมินคุณค่าของหลักฐาน จากหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร จากการสัมภาษณ์ นายทา ทาทอง อายุ 74 ปี นายพุด สมพันธ์ อายุ 73 ปี นายณรงค์ จันทร์แก้ว อายุ 66 ปี นายโชติ เข็งนอก อายุ 65 ปี นางสังวาล เรียบร้อย อายุ 65 ปี นางจันทร์ศรี คูเมือง อายุ 59 ปี นางจันทร์ เศษสุวรรณ อายุ 63 ปี นางกองแก้ว หักประโคน อายุ 52 ปี นายถนอม เหลาทอง อายุ 64 ปี นายเพียบ ปากประโคน อายุ 57 ปี นายจันทร์ บุตรกุลอายุ 68 ปี นายสุรพงษ์ พิลาวุธอายุ 65 ปี สรุปได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านโนนเจริญเป็นภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับงาน ศิลปหัตถกรรม งานประดิษฐ์เครื่องใช้ภายในบ้านหากมีคนสนใจก็ขาย จากหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร สรุปได้ว่า ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ ในด้านต่าง ๆ ของการดารงชีวิตของคนไทยที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ทั้งทางตรงและ ทางอ้อมที่ประกอบด้วยแนวคิดในการแก้ปัญหาของตนเองจนเกิดการหลอมรวมเป็นแนวความคิด สาหรับแก้ปัญหาที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งสามารถพัฒนาความรู้ดังกล่าวแล้วนามา ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและการดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมตามกาลเวลา
  • 5. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 5 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ในด้านต่างๆ ของการดารงชีวิตของคนไทยที่เกิดจาก การสั่งสมประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่ประกอบด้วยแนวคิดในการแก้ปัญหาของตนเอง จนเกิดการหลอมรวมเป็นแนวความคิดสาหรับแก้ปัญหาที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองซึ่งจะมี ความสามารถโดดเด่น จากการสัมภาษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านโนนเจริญพบว่าภูมิปัญญา ท้องถิ่นใน 1ท่านมีความสามารถหลายอย่าง ดังนี้ 1. ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับความเชื่อและศาสนา 2 คน 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม 2 คน 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน 1 คน 4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับอาหารและผัก 1 คน 5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการละเล่น 2 คน 6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม 1 คน 7. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน 3 คน 8. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสมุนไพรและตารายาพื้นบ้าน 1 คน 9. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการประดิษฐกรรม 5 คน 10. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการดารงชีวิตตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ 5 คน
  • 6. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 6 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ขั้นตอนที่ 5 การตีความหลักฐาน จากการสัมภาษณ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นในหมู่บ้านโนนเจริญพบว่าภูมิปัญญาท้องถิ่น ใน 1 ท่านมีความสามารถหลายอย่างส่วนใหญ่เป็นภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับการประดิษฐ์ การเกษตร ศาสนาและความเชื่อ มีการซื้อขายบ้างแต่ก็เป็นเพียงรายได้เสริมทาเพราะเกิดจากความชอบ ส่วนบุคคล
  • 7. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 7 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาท้องถิ่นของเรา โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ................................................................................. ความหมายของภูมิปัญญา ความหมายของภูมิปัญญามีนักวิชาการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ความหมายของภูมิ ปัญญาไว้หลากหลาย ดังนี้ ภูมิปัญญา (อังกฤษ: wisdom) แปลตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ว่า พื้นความรู้ความสามารถ ความหมายของภูมิปัญญา (Wisdom) หมายถึง ความรู้ความสามารถ ความเชื่อ ทางพฤติกรรมและความสามารถในการแก้ไขปัญหาของมนุษย์ ปัญญา หมายถึง พื้นฐานความรู้ ความสามารถ ความคิด ความเชื่อความสามารถทางพฤติกรรม ความสามารถในการแก้ไขปัญหา โดยใช้ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและดารงชีพในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติโดยใช้ ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและดารงชีพในสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมที่ได้มีการพัฒนาสืบสานกันมาอันเป็นผลของการใช้ สติปัญญาปรับตัวให้เข้ากับสภาพต่าง ๆ ในพื้นที่ที่กลุ่มชนเหล่านั้นตั้งถิ่นฐานอยู่รวมทั้งได้มีการ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับกลุ่มอื่นดังนั้นภูมิปัญญาไทย จึงหมายถึง องค์ความรู้ในด้านต่าง ๆของ การดารงชีวิตของคนไทยที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่ ประกอบด้วยแนวคิดในการแก้ปัญหาของตนเองจนเกิดการหลอมรวมเป็นแนวความคิดสาหรับ แก้ปัญหาที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งสามารถพัฒนาความรู้ดังกล่าวแล้วนามาประยุกต์ใช้ใน การแก้ปัญหาและการดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมตามกาลเวลา ภูมิปัญญาเป็นเรื่องที่สั่งสมกันมา ตั้งแต่อดีตและเป็นเรื่องของการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนคนกับธรรมชาติคนกับสิ่ง เหนือธรรมชาติ โดยผ่านกระบวนการทางจารีตประเพณี วิถีชีวิตการทามาหากินและพิธีกรรม ต่าง ๆเพื่อให้เกิดความสมดุลระหว่างความสัมพันธ์เหล่านี้ ภูมิปัญญา หมายถึง ประสบการณ์ใน
  • 8. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 8 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) การประกอบอาชีพในการศึกษาเล่าเรียน การที่ชาวนารู้จักวิธีทานา การไถนาการเอาควายมาใช้ ในการไถ่นา การรู้จักนวดข้าวโดยใช้ควาย รู้จักสานกระบุง ตะกร้าเอาไม้ไผ่มาทาเครื่องใช้ไม้ สอยในชีวิตประจาวัน เรียกว่าภูมิปัญญาทั้งสิ้นปัญญาเป็นผลึกขององค์ความรู้ที่มีกระบวนการสั่ง สม สืบทอดกลั่นกรองกับมายาวนานมีที่มาหลากหลายแต่ได้ประสบประสานกันจนเป็นเหลี่ยม กรณีที่จรัสแสงคงทนและท้าทายตลอดกาลเวลา ความรู้อาจจะไม่ได้เป็นเอกภาพแต่ภูมิปัญญาจัด ว่าเป็นเอกลักษณ์ (http://tkagri.doae.go.th, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554) ความหมายของภูมิปัญญาโดยเว็บคลังปัญญา ได้ให้ความหมายของภูมิปัญญาชาวบ้าน ว่า หมายถึง ความรู้ของชาวบ้าน ซึ่งเรียนรู้มาจากปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง และความเฉลียว ฉลาดของแต่ละคน หรือผู้มีความรู้ในหมู่บ้านในท้องถิ่นต่าง ๆ ภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นเรื่องการทา มาหากิน เช่น การจับปลา การจับสัตว์ การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การทอผ้า การทาเครื่องมือ การเกษตรภูมิปัญญาเหล่านี้เป็นความรู้ความสามารถที่บรรพบุรุษได้สร้างสรรค์และถ่ายทอดมา ให้เรา มีวิธีการหลายอย่างที่ทาให้ความรู้เหล่านี้เกิดประโยชน์แก่สังคมปัจจุบัน (http: www. panyathai.or.th/wiki/index.php, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554) การอนุรักษ์ คือ การบารุงรักษาสิ่งที่ดีงามไว้เช่น ประเพณีต่าง ๆ หัตถกรรม และคุณค่า หรือการปฏิบัติตนเพื่อความสัมพันธ์อันดีกับคนและสิ่งแวดล้อม การฟื้นฟู คือ การรื้อฟื้นสิ่งที่ดีงามที่หายไป เลิกไป หรือกาลังจะเลิก ให้กลับมาเป็น ประโยชน์ เช่นการรื้อฟื้นดนตรีไทย การประยุกต์ คือ การปรับหรือการผสมผสานความรู้เก่ากับความรู้ใหม่เข้าด้วยกัน ให้ เหมาะสมกับสมัยใหม่ เช่น การใช้ยาสมุนไพรในโรงพยาบาล ประสานกับการรักษาสมัยใหม่ การ ทาพิธีบวชต้นไม้ เพื่อให้เกิดสานึกการอนุรักษ์ธรรมชาติ รักษาป่ามากยิ่งขึ้น การประยุกต์ ประเพณีการทาบุญข้าวเปลือกที่วัดมาเป็นการสร้างธนาคารข้าว เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ขาดแคลน การสร้างใหม่ คือ การค้นคิดใหม่ที่สัมพันธ์กับความรู้ดั้งเดิม เช่น การประดิษฐ์ โปงลาง การคิดโครงการพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยอาศัยคุณค่าความเอื้ออาทรที่ ชาวบ้านเคยมีต่อกันมาหารูปแบบใหม่ เช่น การสร้างธนาคารข้าว ธนาคารโคกระบือการรวมกลุ่ม แม่บ้าน เยาวชน เพื่อทากิจกรรมกันอย่างมีระบบมากยิ่งขึ้น
  • 9. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 9 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ภูมิปัญญาเป็นความรู้ที่ประกอบไปด้วยคุณธรรม ซึ่งสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมนั้น ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วน ๆ หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กันทามาหากิน การ ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและประเพณี ความรู้เป็นคุณธรรม เมื่อผู้คนใช้ ความรู้นั้นเพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับธรรมชาติ และคนกับสิ่งเหนือ ธรรมชาติ ความรู้เหล่านี้เกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิต เป็นแนวทาง หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติที่ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของครอบครัว ความสัมพันธ์กับคนอื่น ความสัมพันธ์กับผู้ ล่วงลับไปแล้ว กับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และกับธรรมชาติ ความรู้เรื่องทามาหากินมีอยู่มาก เช่นการทาไร่ ทานา การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์ การจับปลา จับสัตว์ การทอผ้า ทั้งผ้าฝ้ายและผ้าไหม ซึ่งมี ลวดลายที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อและความคิดของชาวบ้าน การทาเครื่องปั้นดินเผา การ แกะสลักไม้และหิน ซึ่งจะพบได้จากโบราณสถานในพิพิธภัณฑ์ต่าง ๆ ดังนั้น อาจสรุปได้ว่า ภูมิปัญญา หมายถึง องค์ความรู้ ความเชื่อ ความสามารถของคนในท้องถิ่นที่ได้จากการสั่งสม ประสบการณ์และการเรียนรู้มาเป็นระยะเวลายาวนาน มีลักษณะเป็นองค์รวม และมีคุณค่าทาง วัฒนธรรม ความหมายของภูมิปัญญาไทยโดยเว็บโทรทัศน์ครู ได้ให้ความหมายของภูมิปัญญาว่า หมายถึงพื้นฐานความรู้ความสามารถ ความคิด ความเชื่อ ความสามารถทางพฤติกรรม ความสามารถในการแก้ไขปัญหาโดยใช้ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและดารงชีพใน สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติโดยใช้ประสบการณ์ที่สั่งสมไว้ในการปรับตัวและดารงชีพใน สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรมที่ได้มีการพัฒนาสืบสานกัน มาอันเป็นผลของการใช้สติปัญญาปรับตัวให้เข้ากับสภาพต่างๆในพื้นที่ที่กลุ่มชนเหล่านั้นตั้งถิ่น ฐานอยู่รวมทั้งได้มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับกลุ่มอื่นดังนั้นภูมิปัญญาไทยจึงหมายถึงองค์ ความรู้ในด้านต่างๆของการดารงชีวิตของคนไทยที่เกิดจากการสั่งสม ประสบการณ์ทั้งทางตรงและทางอ้อมที่ประกอบด้วยแนวคิดในการแก้ปัญหาของตนเองจนเกิด การหลอมรวมเป็นแนวความคิดสาหรับแก้ปัญหาที่มีลักษณะเฉพาะของตนเองซึ่งสามารถพัฒนา ความรู้ดังกล่าวแล้วนามาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและการดารงชีวิตได้อย่างเหมาะสมตาม กาลเวลา (http://www.thaigoodview.com,สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554)
  • 10. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 10 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ประเภทของภูมิปัญญา ประเภทของภูมิปัญญานั้นมีนักวิชาการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกล่าวถึงประเภทของ ภูมิปัญญาไว้หลายประการ ดังนี้ ประเภทของภูมิปัญญา โดยกรมทรัพย์สินปัญญา (http://www.ipthailand.go.th, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2555) กล่าวถึง ภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย คือ องค์ความรู้ของกลุ่ม บุคคลท้องถิ่น และรวมถึงงานศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านที่มีอยู่ในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. ภูมิปัญญาฯ ประเภทองค์ความรู้ของกลุ่มบุคคลท้องถิ่น เช่น การผลิตอาหารและ เครื่องดื่ม การผลิตผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร การผลิตผลิตภัณฑ์จากวัสดุเหลือใช้ และการผลิต ผลิตภัณฑ์จากไม้ หิน โลหะ แก้ว เซรามิค ดินเผา เครื่องหนังและอื่นๆ 2. ภูมิปัญญาฯ ประเภทงานศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน เช่น เรื่องเล่าพื้นบ้าน กวีนิพนธ์ พื้นบ้าน ปริศนา พื้นบ้าน เพลงพื้นบ้าน ดนตรีพื้นบ้าน การฟ้อนราพื้นบ้าน ละครพื้นบ้าน จิตรกรรมพื้นบ้าน ประติมากรรมพื้นบ้าน หัตถกรรมพื้นบ้าน เครื่องแต่งกายพื้นบ้าน และสิ่งทอ พื้นบ้าน ข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่นไทยที่ได้รับการจดแจ้งแล้ว จะถูกรวบรวมไว้เป็นฐานข้อมูล สาหรับให้ประชาชนผู้สนใจได้ค้นหาข้อมูล หรือติดต่อกับผู้แจ้งข้อมูล เพื่อประโยชน์ในทางธุรกิจ อันเป็นการอนุรักษ์และส่งเสริมภูมิปัญญาฯ ให้มีการนาไปใช้อย่างเกิดประโยชน์สูงสุดในเชิง พาณิชย์ นอกจากนี้ผู้แจ้งข้อมูลภูมิปัญญาฯ อาจนาหนังสือรับรองที่ทางกรมทรัพย์สินทางปัญญา ออกให้ไปแสดงต่อธนาคารหรือสถาบันการเงินต่างๆ ที่เข้าร่วมโครงการแปลงทรัพย์สินทาง ปัญญาให้เป็นทุนกับกรมทรัพย์สินทางปัญญา เพื่อเป็นหลักประกันในการขอสินเชื่อหรือ หลักประกันในการชาระหนี้กับธนาคารหรือสถาบันการเงินนั้น ประเภทของภูมิปัญญาโดยเว็บสานักพัฒนาเกษตรกร (http://tkagri.doae.go.th , สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2555) แบ่งประเภทของภูมิปัญญาไว้ 4 ประเภท ดังนี้ 1. ภูมิปัญญาพื้นบ้านเป็นองค์ความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่สั่งสมและสืบ ทอดกันมาเป็นความสามารถและศักยภาพในเชิงการแก้ปัญหาการปรับตัวเรียนรู้และสืบทอดไปสู่
  • 11. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 11 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) คนรุ่นต่อไปเพื่อการดารงอยู่ของเผ่าพันธุ์จึงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมชาติของเผ่าพันธุ์หรือเป็นวิถี ชีวิตของชาวบ้าน 2. ภูมิปัญญาชาวบ้าน เป็นวิธีการปฏิบัติของชาวบ้านซึ่งได้มาจากประสบการณ์ แนวทางแก้ปัญหาแต่ละเรื่อง แต่ละประสบการณ์ แต่ละสภาพแวดล้อม ซึ่งจะมีเงื่อนไขปัจจัย เฉพาะแตกต่างกันไปนามาใช้แก้ไขปัญหาโดยอาศัยศักยภาพที่มีอยู่โดยชาวบ้านคิดเองเป็นความรู้ ที่สร้างสรรค์และมีส่วนเสริมสร้างการผลิตหรือเป็นความรู้ของชาวบ้านที่ผ่านการปฏิบัติมาแล้ว อย่างโชกโชน เป็นส่วนหนึ่งของมรดกทางวัฒนธรรมเป็นความรู้ที่ปฏิบัติได้มีพลังและสาคัญยิ่ง ช่วยให้ชาวบ้านมีชีวิตอยู่รอดสร้างสรรค์การผลิตและช่วยในด้านการทางาน เป็นโครงสร้าง ความรู้ที่มีหลักการ มีเหตุ มีผลในตัวเอง 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ในชีวิตของคนผ่าน กระบวนการศึกษา สังเกตคิดวิเคราะห์จนเกิดปัญญาและตกผลึกเป็นองค์ความรู้ที่ประกอบกัน ขึ้นมาจากความรู้เฉพาะหลายๆ เรื่องจัดว่าเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้สมัยใหม่ที่จะช่วยในการ เรียนรู้การแก้ปัญหาจัดการและการปรับตัวในการดาเนินชีวิตของคนเราภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็น ความรู้ที่มีอยู่ทั่วไปในสังคมชุมชนและในตัวผู้รู้เอง จึงควรมีการสืบค้นรวบรวม ศึกษา ถ่ายทอด พัฒนาและนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวาง 4. ภูมิปัญญาไทย หมายถึง องค์ความรู้ ความสามารถทักษะของคนไทยที่เกิดจาก การส่งเสริมประสบการณ์ที่ผ่านกระบวนการการเลือกสรรเรียนรู้ปรุงแต่งและถ่ายทอดสืบต่อ กันมาเพื่อใช้แก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมและเหมาะสม กับยุคสมัย ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถิ่น ลักษณะสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นพอสรุปได้ดังนี้ 1. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการใช้ความรู้ ทักษะ ความเชื่อและพฤติกรรม 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนกับธรรมชาติและสิ่งเหนือ ธรรมชาติ 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิต
  • 12. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 12 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการแก้ไขปัญหา การจัดการ การปรับตัว การเรียนรู้เพื่อ ความอยู่รอดของบุคคลชุมชนและสังคม 5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเป็นแกนหลักหรือกระบวนทัศน์ในการมองชีวิตเป็นพื้น ความรู้ 6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีลักษณะเฉพาะหรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง 7. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคม ตลอดเวลา 8. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านวัฒนธรรมเป็นฐานไม่ใช่วิทยาศาสตร์ 9. ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการบูรณาการ 10. ภูมิปัญญาท้องถิ่นมีความเชื่อมโยงไปสู่นามธรรมที่ลึกซึ้ง 11. ภูมิปัญญาท้องถิ่นเน้นความสาคัญของจริยธรรม ประเภทของภูมิปัญญาไทยโดยเว็บกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ (http://www.baanmaha.com, สืบค้นเมื่อวันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554) ได้แบ่งประเภทของ ภูมิปัญญาไทยไว้ 4ประเภท ดังนี้ 1. ภูมิปัญญาด้านคติธรรม ความคิด ความเชื่อ หลักการที่เป็นพื้นฐานขององค์ความรู้ ที่เกิดจากการสั่งถ่ายทอดกันมา 2. ภูมิปัญญาด้านศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีที่เป็นแบบแผนการ ดาเนินชีวิตที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา 3. ภูมิปัญญาด้านการประกอบอาชีพในท้องถิ่น ที่ยึดหลักการพึ่งตนเองและได้รับการ พัฒนาให้เหมาะสมกับกาลสมัย 4. ภูมิปัญญาด้านแนวความคิด หลักปฏิบัติ และเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ชาวบ้านนามา ดัดแปลงใช้ในชุมชนอย่างเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและความเป็นอยู่ นอกจากนี้ยังมีการกาหนดสาขาภูมิปัญญาไทย เพื่อนาภูมิปัญญาไทยมาใช้ในการเรียนรู้ และส่งเสริมโดยแบ่งภูมิปัญญาออกเป็น 10 สาขา ดังนี้ 1. สาขาเกษตรกรรม หมายถึง ความสามารถในการผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะและ
  • 13. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 13 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) เทคนิคด้านการเกษตรกับเทคโนโลยี โดยการพัฒนาบนพื้นฐานคุณค่าดั้งเดิมสามารถพึ่งพาตนเอง ในสภาวการณ์ต่าง ๆ ได้ เช่น การทาการเกษตรแบบผสมผสานการแก้ปัญหาการเกษตร การแก้ปัญหาด้านการผลิต ด้านการตลาด เช่น การแก้ไขโรคและแมลง การรู้จักปรับใช้ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการเกษตร เป็นต้น 2. สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม (ด้านการผลิตและการบริโภค) หมายถึงการรู้จัก ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการแปรรูปผลผลิตเพื่อชะลอการนาเข้าตลาดเพื่อแก้ปัญหา ด้านการบริโภคอย่างปลอดภัย ประหยัดและเป็นธรรมอันเป็นขบวนการใช้ชุมชนท้องถิ่นสามารถ พึ่งตนเองทางเศรษฐกิจได้ ตลอดทั้งการผลิตและการจาหน่ายผลผลิตทางหัตถกรรม เช่น การรวมกลุ่มของกลุ่มโรงงานยางพารากลุ่มโรงสี กลุ่มหัตถกรรม เป็นต้น 3. สาขาการแพทย์แผนไทยหมายถึง ความสามารถในการจัดการป้องกันและรักษา สุขภาพของคนในชุมชน โดยเน้นให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองทางสุขภาพและอนามัยได้ 4. สาขาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติละสิ่งแวดล้อมหมายถึงความสามารถเกี่ยวกับ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งการอนุรักษ์ พัฒนาและใช้ประโยชน์จาก คุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน 5. สาขากองทุนและธุรกิจชุมชนหมายถึง ความสามารถในการบริหารจัดการด้าน การสะสมและบริหารกองทุนและธุรกิจชุมชน ทั้งที่เป็นเงินตราและโภคทรัพย์ เพื่อเสริมสร้างชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีของสมาชิกในชุมชน 6. สาขาสวัสดิการหมายถึง ความสามารถในการจัดการสวัสดิการในการประกัน คุณภาพชีวิตของคนให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจสังคม และวัฒนธรรม 7. สาขาศิลปกรรมหมายถึง ความสามารถในการผลิตผลงานทางศิลปะสาขาต่าง ๆ เช่นจิตรกรรม ประติมากรรม วรรณกรรม ทัศนศิลป์ คีตศิลป์ เป็นต้น 8. สาขาการจัดการหมายถึง ความสามารถในการบริหารการจัดการดาเนินงานด้าน ต่าง ๆทั้งองค์กรชุมชน องค์ทางศาสนา องค์กรทางการศึกษา ตลอดทั้งองค์กรทางสังคมอื่นๆใน สังคมไทย เช่น การจัดการองค์กรของกลุ่มแม่บ้าน ระบบผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชน การจัดศาสนสถาน การจัดการศึกษา ตลอดทั้งการจัดการเรียนการสอน เป็นต้น กรณีการจัดการศึกษาเรียนรู้นับได้
  • 14. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 14 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ว่าเป็นภูมิปัญญาสาขาการจัดการที่มีความสาคัญ เพราะการจัดการศึกษาเรียนรู้ที่ดี หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ พัฒนาและถ่ายทอดความรู้ทางภูมิปัญญาไทยที่มีประสิทธิผล 9. สาขาภาษาและวรรณกรรมหมายถึง ความสามารถสร้างผลงานทางด้านภาษา ทั้งภาษาโบราณ ภาษาไทยและการใช้ภาษา ตลอดทั้งด้านวรรณกรรมทุกประเภท 10. สาขาศาสนาและประเพณีหมายถึง ความสามารถประยุกต์และปรับใช้หลักธรรมคา สอนทางศาสนา ความเชื่อ และประเพณีดั้งเดิมที่มีค่าให้ความเหมะสมต่อการประพฤติปฏิบัติ ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยเว็บวิกิพีเดีย (http://th.wikipedia.org , สืบค้นเมื่อ วันที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2554) ได้แบ่งประเภทของภูมิปัญญาไทยไว้10 ประเภท ดังนี้ 1. ภูมิปัญญาที่เกี่ยวกับความเชื่อและศาสนา -ภูมิปัญญาประเภทนี้จะมีลักษณะที่ แตกต่างกันไปในแต่ละท้องถิ่นเนื่องจากมีพื้นฐานทางความเชื่อในศาสนาที่แตกต่างกันสาหรับภูมิ ปัญญาท้องถิ่นของไทยซึ่งเกี่ยวกับความเชื่อในทางพระพุทธศาสนาเป็นหลักนั้นได้มีส่วน สร้างสรรค์สังคมโดยการผสมผสานกับความเชื่อดั้งเดิมจนกลายเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละ ท้องถิ่น 2. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับประเพณีและพิธีกรรม -เนื่องจากประเพณีและพิธีกรรม เป็นสิ่งที่ดีงามที่คนในท้องถิ่นสร้างขึ้นมาโดยเฉพาะเป็นการเพิ่มขวัญและกาลังใจคนในสังคมภูมิ ปัญญาประเภทนี้จึงมีความสาคัญต่อการดาเนินชีวิตในสังคมเป็นอย่างมากดังจะเห็นได้จาก ประเพณีและพิธีกรรมที่สาคัญในประเทศไทยล้วนเกี่ยวข้องกับการดาเนินชีวิตของคนในสังคม แทบทั้งสิ้น 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน –เป็นการสร้างสรรค์งานศิลปต่างๆโดย การนาทรัพยากรที่มีอยู่มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันหลังจากนั้นได้สืบทอดโดยการพัฒนาอย่าง ไม่ขาดสายกลายเป็นศิลปะที่มีคุณค่าเฉพาะถิ่น 4. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน -นอกจากมนุษย์จะนาอาหารมา บริโภคเพื่อการอยู่รอดแล้วมนุษย์ยังได้นาเทคนิคการถนอมอาหารและการปรุงอาหารมาใช้เพื่อให้ อาหารที่มีมากเกินความต้องการสามารถเก็บไว้บริโภคได้เป็นเวลานานซึ่งถือว่าเป็นภูมิปัญญาอีก ประเภทหนึ่งที่สาคัญต่อการดารงชีวิตนอกจากนี้ยังนาผักพื้นบ้านชนิดต่างๆมาบริโภคอีกด้วย
  • 15. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 15 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) 5. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน–การละเล่นถือว่าเป็นการผ่อน คลายโดยเฉพาะในวัยเด็กซึ่งชอบความสนุกสนานเพลิดเพลินภูมิปัญญาท้องถิ่นของไทยส่วนใหญ่ จะใช้อุปกรณ์ในการละเล่นที่ประดิษฐ์มาจากธรรมชาติซึ่งแสดงให้เห็นวิถีชีวิตกับธรรมชาติและ รู้จักปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมอย่างกลมกลืน 6. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับศิลปวัฒนธรรม -ประเทศไทยมีวัฒนธรรมที่หลากหลาย ซึ่งเกิดจากการสร้างสรรค์ของแต่ละภาคเราสามารถพบหลักฐานจากร่องรอยของศิลปวัฒนธรรม ที่ปรากฏกระจายอยู่ทั่วไป เช่น สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรมเป็นต้น ซึ่งแสดงให้เห็น ถึงเทคนิค ความคิดความเชื่อของบรรพบุรุษเป็นอย่างดี 7. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน -ภูมิปัญญาประเภทนี้ส่วนมากแสดงออก ถึงความสนุกสนานและยังเป็นคติสอนใจสาหรับคนในสังคมซึ่งมีส่วนแตกต่างกันออกไปตามโลก ทัศน์ของคนในภาคต่างๆ 8. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับสมุนไพรและตารายาพื้นบ้าน -ภูมิปัญญาประเภทนี้เกิด จากการสั่งสมประสบการณ์ของคนในอดีตและถ่ายทอดให้กับคนรุ่นหลังถือว่ามีความสาคัญเป็น อย่างมาก เพราะถือว่าเป็นปัจจัยสี่ซึ่งมีความจาเป็นสาหรับมนุษย์หากได้รับการพัฒนาหรือ ส่งเสริมจะเป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคตได้ 9. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการประดิษฐกรรม -เทคโนโลยีและสิ่งของเครื่องใช้ ต่างๆที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทยในแต่ละภาคนั้นถือเป็นการประดิษฐกรรม และหัตถกรรมชั้นเยี่ยมซึ่งปัจจุบันไม่ได้รับความสนใจในการพัฒนาและส่งเสริมภูมิปัญญาประเภท นี้เท่าที่ควรหากมีการเรียนรู้และสืบทอดความคิดเกี่ยวกับการประดิษฐกรรมและหัตถกรรมให้แก่ เยาวชน จะเป็นการรักษาภูมิปัญญาของบรรพชนได้อีกทางหนึ่ง 10. ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับการดารงชีวิตตามสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ - เนื่องจากคนไทยมีอาชีพที่เกี่ยวกับเกษตรกรรมโดยเฉพาะการทานาทาไร่จึงทาให้เกิดภูมิปัญญาที่ เกี่ยวกับความเชื่อและพิธีกรรมในการดารงชีวิตเพื่อแก้ปัญหาหรืออ้อนวอนเพื่อให้เกิดความอุดม สมบูรณ์ในการเพาะปลูกและเพื่อเพิ่มผลิตผลทางการเกษตรดังจะเห็นได้จากพิธีกรรมที่เกี่ยวกับ การเกษตรทั่วทุกภูมิภาคของไทย
  • 16. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 16 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ตัวอย่างภูมิปัญญาในท้องถิ่น ชื่อวิทยากรท้องถิ่น นายทา ทาทอง ชื่อเล่น ปู่ทา อายุ 74 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 114 หมู่ 2บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ 31180 งานที่ถนัด แกะสลัก ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภท ศิลปะพื้นบ้าน ประวัติส่วนตัว นายทา ทาทอง เริ่มงานแกะสลักมาได้ 24 ปีแล้ว เริ่มตั้งแต่อายุ 50 ปี จนถึงปัจจุบันอายุท่าน อายุ 74 ปี (2554) งานแกะสลักที่ทาสามารถทารายได้ให้กับคุณตาบ้าง เล็กน้อย งานแกะสลักส่วนใหญ่เป็นรูปสัตว์นานาชนิด อาทิเช่น นก ลิง กระต่าย กระรอก ฯลฯ โดยสัตว์แต่ละตัวราคาประมาณตัวละ 100 บาท คุณตาเคยแกะสลักหินเป็นรูปพระขาย แต่เมื่อรู้ ว่างานที่ทาเป็นงานผิดกฎหมายจึงเลิกทา คุณตาใช้ความชอบส่วนตัวในการศึกษาและได้ฝึกฝน งานแกะสลักโดยตลอดจนถึงปัจจุบัน
  • 17. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 17 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ความรู้ที่ได้ อุปกรณ์ที่ใช้ทางานแกะสลัก 1. มะพร้าว 2. ไม้เนื้ออ่อน อุปกรณ์ที่ใช้แกะสลัก 1. มีดแกะสลัก 2. ค้อน 3. สิ่ว ภาพแสดง : อุปกรณ์ที่ใช้ทางานแกะสลัก ภาพแสดง : บ้านของวิทยากรที่มีงานประดิษฐ์
  • 18. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 18 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ลูกค้าส่วนใหญ่จะมาจากต่างจังหวัดและในกรุงเทพฯ คนในชุมชนเป็นบางส่วนที่ซื้อไป จาหน่ายหารายได้ บางส่วนคุณตาได้นาไปทาบุญโดยนาไปประดับตกแต่งไว้ที่วัดสุภัทรบูรพาราม (วัดใหญ่) นอกจากนี้ยังมีงานแกะสลักชิ้นพิเศษที่เมื่อใครได้พบเห็นแล้วเกิดความชอบมาก มีคนมา ให้ราคาถึง 10,000 บาท คุณตาก็ไม่ขายเพราะคุณตาชอบงานชิ้นนี้มากเป็นงานแกะสลักรวมสัตว์ ในวรรณคดี เช่น พญานาค มังกร หงส์ สิงโต ลิง หนุมาน นางมัจฉาจระเข้ เป็นต้น ชื่อภาพ: ผลงานที่ภาคภูมิใจของปู่ทา
  • 19. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 19 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากรท้องถิ่น นายพุด สมพันธ์ ชื่อเล่น ตาพุด อายุ 74 ปี ที่อยู่ 221 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ 31180 งานที่ถนัด สานตะกร้า ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภท ศิลปะพื้นบ้าน ประวัติส่วนตัว คุณตาทางานจักสานมาได้ 23 ปี โดยได้เริ่มทางานนี้มาตั้งแต่อายุ 50 ปี ในขณะนี้ก็อายุได้ 73ปีแล้ว งานที่ทาคุณตาจะขายในราคาใบละ 50 บาท (ข้อง) สานตะกร้า นั้นจะอยู่ที่ราคาใบละ 150 บาท แต่ในช่วงนี้คุณตาก็ไม่ค่อยได้ทาแล้วเนื่องจากว่าอายุก็มากขึ้น และมีอาการปวดหลังจึงได้เลิกทา ตอนนี้คุณตาเปลี่ยนจากงานสานมาเข้าวัดฟังธรรมเพื่อที่จะทา จิตใจของตนให้สงบในช่วงนั้นคุณตาได้ทามาโดยตลอดนับว่าเป็นรายได้อย่างหนึ่งของคุณตา มี รายได้เสริมประมาณ900 บาท/เดือน ความรู้ที่ได้ วัสดุที่นามาทาเครื่องจักสานได้ดีคือไม้ไผ่นามาทาเครื่องใช้ในครัวเรือนได้เกือบทุกชนิด เช่นกระด้ง กระเชอ กระชอนสานเป็นเครื่องดักจับสัตว์น้าเช่น ไซ ข้อง เป็นต้น
  • 20. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 20 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากรท้องถิ่น นายณรงค์ จันทร์แก้ว ชื่อเล่น พ่อดม อายุ 66 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 119 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ 31180 งานที่ถนัด บายศรีสู่ขวัญ ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภทประเพณีและพิธีกรรม ความรู้ที่ได้ คุณตาได้รับตาแหน่งปราชญ์ชาวบ้านตั้งแต่อายุ 55 ปี ทางานเกี่ยวกับพืช สมุนไพร บายสีสู่ขวัญ เศรษฐกิจพอเพียง หมออาสาประจาตาบล เริ่มทาปุ๋ยชีวภาพตั้งแต่อายุ 48ปี นอกจากนี้คุณตายังเป็นหมอลาเก่า ก่อนนั้นคุณตาอายุ 16ปีได้เดินทางไปกับคณะหมอลา ลาเรื่องต่อกลอนคณะสออินตาศิลป์ ปัจจุบันเวลามีงานศพหรืองานมงคลต่าง ๆ เจ้าภาพจะมา เชิญให้คุณตาไปเป็นวิทยาการในงาน เมื่ออายุ 14ปีได้เข้าบวชเรียนเพื่อศึกษาพระธรรมวินัยได้ นักธรรมตรี พอลาสิกขาบทจึงสมัครไปกับคณะหมอลาทั่วประเทศคุณตามาอยู่บ้านโนนเจริญ ตั้งแต่ พ.ศ. 2511 จากนั้นคุณตาได้รับเลือกให้เป็นสารวัตรกานันและเป็นหมอดินอาสาประจา ตาบลเมื่อปี พ.ศ. 2538
  • 21. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 21 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากร นายตาโชติ เข็งนอก ชื่อเล่น ตาโชติ อายุ 65 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 17 หมู่ที่ 3 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ มีความรู้ความสามารถ หมอลากลอน ประเภทของภูมิปัญญา การละเล่นพื้นบ้าน ความรู้ที่ได้จากท่าน ท่านเป็นคนร้องหมอลากลอนมาแต่หนุ่มท่านมีวงของท่านและร่วมกับเพื่อนอีกหลายคน เริ่มเล่นตั้งแต่อายุ 20 ปี เลิกร้องหมอลากลอนตั้งแต่อายุ 35 ปี ท่านคิดว่าการร้องหมอลากลอน มันน่าเบื่อจึงหันมาเป่าแคนแทน อีกอย่างเมื่ออายุมากแล้วท่านคิดว่าน่าจะอยู่เบื้องหลังมากว่า ปัจจุบันคุณตามีอาชีพใหม่ เป็นช่างตัดผมให้กับเพื่อนบ้านและนักเรียนโดยเฉพาะเด็กที่ตัดผมครั้ง แรกและเด็กเล็กระดับประถม ตัวอย่างผลงาน คุณตาไปประกวดตามงานวัดได้รางวัลเป็นเงินสดจึงไม่มีหลักฐาน
  • 22. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 22 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากรท้องถิ่น นางสังวาล เรียบร้อย ชื่อเล่น คุณยายนาง อายุ 65 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 199 หมู่ที่ 2 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ มีความรู้ความสามารถเรื่อง หมอลากลอน ประเภทของภูมิปัญญา การละเล่นพื้นบ้าน ความรู้ที่ได้จากท่าน หมอลากลอนเป็นศิลปะพื้นบ้านที่ให้ความสนุกสนานแก่ประชาชน ทุกคน คุณยายนางเริ่มเรียนและเล่นหมอลาด้วยใจรัก เริ่มเรียนจากการอ่านตาราหมอลาและ ฝึกร้องตามจนท่านร้องได้ จากนั้นก็ไปสมัครเล่นในวงหมอลาวงอานวยศิลป์กลอนลาที่ท่านถนัด และถือเป็นแบบอย่างเป็นสาเนียงทานองขอนแก่นมีจังหวะที่ช้า เศร้าไพเราะชวนฟัง เมื่อย่างสู่ วัยสาวเต็มตัวท่านก็แต่งงานเมื่ออายุ 22 ปีท่านจึงเลิกเล่นเพื่อมาประกอบอาชีพเกษตรกรรมกับ ครอบครัวตัวอย่างผลงานในคณะหมอลาวงอานวยศิลป์ คุณยายเล่นในตาแหน่ง นางเอก เล่นงานประจาปีลอยกระทงชื่อคณะช่อพานเพลินโนนเจริญพาม่วนกลอนลาที่ยังใช้ร้องอยู่ใน ปัจจุบัน คือ กลอนสอนเด็ก หมอลาสมพร
  • 23. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 23 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากร นางจันทร์ศรี คูเมือง ชื่อเล่น แม่ดา อายุ 59 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 50 หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ งานที่ถนัด ทอผ้า ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่น เกี่ยวกับประดิษฐ์กรรมและหัตถกรรมพื้นบ้าน ประวัติส่วนตัว คุณแม่จันทร์ศรี คูเมือง อายุ 59ปี(2555)ในครอบครัวมีสมาชิก7คนเริ่มทางานทอผ้ามา ได้ 44ปี โดยเริ่มทาตั้งแต่อายุ15 ปีจนมาถึงปัจจุบันท่านมีอายุ 59 ปี งานทอผ้าสามารถสร้าง รายได้ให้กับคุณยายเล็กน้อย งานทอผ้าของคุณยายส่วนใหญ่เป็นการทอด้ายโดยจะขายผ้าด้าย อยู่ในราคาผืนละ 250 บาทส่วนผ้าไหมจะตกอยู่ที่ผืนละ1,300 บาท คุณยายมีความ ภาคภูมิใจในการทาอาชีพนี้มากเพราะเป็นอาชีพที่บรรพบุรุษถ่ายทอดให้แก่คุณยาย ความรู้ที่ได้ คุณยายบอกว่าในปัจจุบันนี้การทอผ้าเริ่มที่จะหายสาบสูญไปดังนั้นการที่คุณยายรักการ ทอผ้าก็เป็นอีกส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์การทอผ้าเอาไว้
  • 24. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 24 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) อุปกรณ์ที่ใช้ในการทอผ้า 1. หลอดด้าย 2. กระสวย 3. เครือผ้าซิ่น 4. กี่ทอผ้า 5. ฝืมทอผ้า 6. ไม้กาจับ 7. หมี่ฯลฯ ลูกค้าของคุณยายส่วนใหญ่จะเป็นลูกค้าคนในท้องถิ่นเองนาน ๆ ครั้งถึงจะมีลูกค้า ต่างถิ่นมาซื้อและบางครั้งคุณยายก็จะทาผ้าที่ทอได้ไปรวมกลุ่มกับชาวบ้านเพื่อไปประกวด นอกจากนี้คุณยายยังมีผลงานที่น่าภาคภูมิใจคือคุณยายเคยนาผ้าด้ายที่ทอเสร็จ สมบูรณ์สวยงามไปประกวดที่จังหวัดบุรีรัมย์มาแล้ว ประมาณปี พ.ศ.2546 ชื่อภาพ : ผลงานที่น่าภาคภูมิใจของแม่ดา
  • 25. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 25 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากร นางทูน เหมาะทอง ชื่อเล่น คุณแม่อึ่ง อายุ 60 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 105 หมู่ที่ 4 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวดจังหวัดบุรีรัมย์ งานที่ถนัด สาวไหม,เลี้ยงหม่อน ภูมิปัญญาท้องถิ่นประเภท เกี่ยวกับอาหารและผักพื้นบ้าน ประวัติส่วนตัว แม่ทูน เหมาะทองทางานเลี้ยงหม่อนและสาวไหมมาได้ 43 ปี โดยเริ่มทาตั้งแต่อายุ 17 ปีจนมาถึงปัจจุบันท่านมีอายุ 60 ปี(2555) งานเลี้ยงหม่อนและสาวไหมสามารถสร้าง รายได้ให้กับคุณยายมากนัก โดยคุณยายจะนาดักแด้ที่ได้จากการสาวไหมไปเป็นค่าใบหม่อน และบางที่อาจจะมีคนมาขอซื้อคูณยายก็จะขายให้ในราคาเป็นกันเองคือถุงละ 20 บาท ลูกค้า ของคุณยายส่วนใหญ่เป็นคนในท้องถิ่นเพราะคุณยายไม่ได้ขายเป็นประจาดักแด้ไหมปัจจุบันนี้หา กินยากมากเพราะคนไม่นิยมเลี้ยงหม่อนและสาวไหมเพราะถือว่ามันยุ่งยากและต้องใช้เวลานาน มากกว่าจะได้ดักแด้มาแต่ละตัว ดังนั้นการเลี้ยงหม่อนและสาวไหมเริ่มหาดูได้ยาก อุปกรณ์ที่ใช้สาวไหม (เป็นภาษาท้องถิ่น) 1. บักพวงสาว 2. ไม้ถึก 3. หม้อ
  • 26. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 26 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากร นางจันทร์ เศษสุวรรณ ชื่อเล่น แม่แต๋ว อายุ 63 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 55 ม.4 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ งานที่ถนัด ทอเสื่อ ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น เกี่ยวกับประดิษฐ์กรรมและหัตถกรรมพื้นบ้าน ประวัติส่วนตัว แม่จันทร์ เศษสุวรรณ เริ่มทางานทอเสื่อมาได้ 33 ปี โดยเริ่มทาตั้งแต่อายุ 30 ปี จนมาถึงปัจจุบันท่านมีอายุ 63 ปี(2555) งานทอเสื่อเป็นอาชีพที่คุณแม่จันทร์ทาขึ้นเพื่อใช้เอง ภาคในครอบครัวความรู้ที่ได้ในปัจจุบันการทอเสื่อเป็นอาชีพที่ไม่ค่อยมีให้เห็นมักนัก เพราะคน ไทยในตอนนี้ไม่ค่อยให้ความสนใจเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่นของตนเองนักเราจึงควรอนุรักษ์การ ทอเสื่อไว้เพื่อจะมิให้การทอเสื่อสูญหายไปจากท้องถิ่นของเรา อุปกรณ์ที่ใช้ทอเสื่อ 1. ต้นกก 2. ฟืมทอเสื่อ 3. สีย้อมเสื่อ
  • 27. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 27 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากร นายลึด กาประโคน ชื่อเล่น ตาลึด อายุ 76 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 55 ม. 7 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ งานที่ถนัด เล่นดนตรี ทาซออู้ ทาซอด้วง ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน ประวัติส่วนตัว คุณตาเริ่มทางานตั้งแต่อายุ 7 ปี จบการศึกษา ระดับระชั้น ป.4 และบวชตอนอายุ 35 ปี เป็นเวลา 1 พรรษา คุณตาได้เคยเข้าประกวดแข่งขันการเล่นซอระดับอาเภอและระดับ จังหวัดได้รับรางวัลชนะเลิศ คุณตาได้ทาซอขายในราคาเครื่องละ 500 บาท ความรู้ที่ได้ ปัจจุบันการละเล่นพื้นเมืองแบบนี้เริ่มสูญหายขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากคนสมัยนี้นิยมเล่น เครื่องดนตรีสากลมากกว่า เช่น ไวโอลิน กีตาร์ เปียโน เป็นต้น และด้วยความที่ว่าคนไทย เริ่มนาวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามามีอิทธิพลในชีวิตมากขึ้นจนทาให้ลืมไปว่าวัฒนธรรมไทยเราไม่แพ้ ชาติใดในโลกเพราะฉะนั้นคนไทยเราควรรักษาสิ่งที่บรรพบุรุษสร้างขึ้นมาให้อยู่กับพวกเราสืบไป อุปกรณ์ที่ใช้ในการทาซอคือ กะลาไม้ลวด
  • 28. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 28 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากร นางกรองแก้ว หักประโคน ชื่อเล่น แก้ว อายุ 52 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 189 ม .7 บ้านโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ งานที่ถนัด ร้องกันตรึม ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับเพลงพื้นบ้าน ประวัติส่วนตัว แม่กรองแก้ว หักประโคน เริ่มทางานตั้งแต่อายุ 11 ปี ปัจจุบันทางานรับจ้าง ทั่วไป การศึกษาจบชั้น ป.4 ปัจจุบันกาลังศึกษา ก.ศ.น ได้ประกวดการแสดงกันตรึมได้รับรางวัล ชนะเลิศ และงานเครื่องเคลือบของอาเภอบ้านกรวดในปี 2534 และในปี พ.ศ. 2535 ได้รับ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ความรู้ที่ได้ ปัจจุบันการร้องเพลงกันตรึมหาชมได้ยากมากเพราะคนเราสนใจเพลงสตริงมากกว่าจน ทาให้ลืมไปว่ามีเพลงพื้นบ้านที่ใช้ภาษาท้องถิ่นที่สะสลวย และมีความหมายดี จึงทาให้เพลง กันตรึมเริ่มหายไปจากสังคมไทย เราจึงควรอนุรักษ์เพลงพื้นบ้านที่เรามีมายาวนาน ให้มันอยู่กับ สังคมไทยต่อไป อุปกรณ์ในการแสดง กลอง ฉิ่ง ฉาบ
  • 29. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 29 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากร นายถนอม เหลาทอง ชื่อเล่น พ่อหนอม อายุ 64 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 83 ม.4 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ งานที่ถนัด สมุนไพรเกี่ยวกับบารุงน้านม และรักษาเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับตารายาพื้นบ้าน ประวัติส่วนตัว คุณตาเริ่มทาสมุนไพรตั้งแต่อายุ 20 ปี การศึกษาชั้น ป.6 ปัจจุบันทานาทาสวนยาง และรับจ้างทั่วไปหลังจากที่ว่างจากการทานา คุณตาทาสมุนไพรขายในราคาหม้อละ 100 บาท คุณตาได้บวชตอนอายุ 50 ปี ความรู้ที่ได้ วิธีการทายาต่างๆ และได้ทราบว่าสมุนไพรตัวไหนสามารถนามาทายาอะไรได้บ้าง และอีกอย่างสูตรยาต่างๆก็เริ่มจะหายไปจนนักวิจัยต้องทาการทดลองเพื่อนาไปใช้ในทาง การแพทย์ อุปกรณ์ รากไม้ที่เป็นสมุนไพรต่าง ๆ
  • 30. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 30 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากร นางทองม้วน วรธงชัย ชื่อเล่น แม่ม้วน อายุ 58 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 134 ม.3 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ งานที่ถนัด ร้องหมอลาหมู่ ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับศิลปะพื้นบ้าน ประวัติส่วนตัว คุณยายเริ่มร้องหมอลาหมู่ตั้งแต่อายุ 18 ปี การศึกษา ชั้น ป.4 และเลิกร้องหมอ ลาหมู่ตอนอายุ 23 ปี ปัจจุบันคุณยายทานา คุณยายได้เคยเข้าร่วมประกวดเพลงพื้นบ้านที่ อาเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ความรู้ที่ได้ เพลงหมอลาเป็นเพลงพื้นบ้านของชาวอีสาน และปัจจุบันสามารถหาชมได้ยากมาก เพราะผู้คนก็ไม่ค่อยสนใจในเพลงของหมอลาเนื่องจากเป็นภาษาที่ฟังค่อนข้างยาก แต่เราควรที่ จะสืบสานศิลปะการแสดงเหล่านี้เอาไว้เพื่อให้ลูกหลานรุ่นต่อไปได้ชมกัน
  • 31. หนังสืออ่านเพิ่มเติมชุด ท้องถิ่นของเรา รหัสวิชา ส23201 31 สำนักงำนส่งเสริมคมแห่งกำรเรียนรู้และคุณภำพเยำวชน (สสค.) ชื่อวิทยากร นางจันทร์ สุริยทานา ชื่อเล่น อ่อน อายุ 43 ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ 129 ม.4 บ้านโนนเจริญ ตาบลโนนเจริญ อาเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์ งานที่ถนัด ปลูกผักพื้นบ้าน ประเภทภูมิปัญญาท้องถิ่น ประเภทเกี่ยวกับการดารงชีวิตตามสภาพแวดล้อม ประวัติส่วนตัว การปลูกผักขายเป็นอาชีพเสริม หลังการเก็บเกี่ยวข้าวเสร็จแล้ว ขายผักกาละ5 บาท การศึกษา จบ ป.6 ที่คุณน้าอ่อนปลูกนั้นเป็นผักพื้นบ้านที่มีอยู่ในท้องถิ่นจากตอนแรกที่คิดจะ ปลูกเอาไว้รับประทานภายในครอบครัวเมื่อปริมาณผักมีมากจึงนาไปขายเพื่อหารายได้เสริม เป็นการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงในอีกรูปแบบหนึ่ง ความรู้ที่ได้ วิธีการปลูกผัก โดยใช้วิธีธรรมชาติ และแนวทางในการใช้ชีวิตอยู่อย่างพอเพียง