SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
โลกาภิวัตน์ กับ อุดมการณ์ท้องถิ่นนิยม (กลุ่มสตรีเหล็ก)
บทที่1 ตลาด (Market)
โลกหนึ่งใบและตลาดแห่งเดียว(One World,One Market)
ได้กล่าวถึง การเลือกซื้อสินค้าต่างๆ ที่นาเข้ามาจากหลายแห่งที่เป็นที่นิยม มาไว้ในเมืองหลวง
ให้ ค นช าว เมืองเข้ าถึงสิน ค้านั้น เช่ น เสื้อผ้ายู นิโค ล่,โดนั ท ชื่ อดังจากนิ ว ย อร์ก ฯ
และยังมีรายการทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสได้นาเสนอข่าวเกี่ยวกับ กระเทียมที่นาเข้ามาจากจีนที่มา
ตีต ล า ด ก าร ค้ า ก ร ะ เที ย ม ไท ย เ พ รา ะ มี ร า ค าถู ก ท าให้ ค น นิ ย ม ม า ก ก ว่ า
แ ล ะ ยั ง มี พื ช ผั ก ที่ น า เ ข้ า ท า ง เ ชี ย ง ร า ย แ ต่ ส่ ง ม า ยั ง ต ล า ด ใ ห ญ่
แ ต่ ก ลั บ ต้ อ ง ส่ ง จ า ก ต ล า ด ใ ห ญ่ ก ลั บ ไ ป ข า ย ใ น เ ชี ย ง ร า ย อี ก
เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงการทาปฏิกิริยาของโลกาภิว้ตน์กับทัศนคติและรูปแบบการบริโภค
ค่าขนส่งที่ถูกเกินจริง(One Planet)
ได้กล่าวถึง ราคาน้ามันที่สูงแต่มีการรายงานที่สวนทางว่าราคาน้ามันที่ต่าเกินความเป็นจริง
ซึ่งมันกระทบ กับการขนส่งที่มีอิทธิพลของยอดการบ ริโภคน้ ามันของชาวอเมริกันมาก
จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภคหรือผลักดันการใช้พลังงานทดแทนอย่างจริงจัง
ดังนั้นจึงมีการหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวในการขนส่งข้ามทวีปทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศ
เป็นการเข้าถึงอันไร้ขีดจากัดที่มากับโลกาภิวัตน์นี้สร้างขึ้น
ความหมายของการบริโภค(The Consumer)
การบ ริโภ คนั้นไม่ได้ห มายถึงการตอบ สนองค วามต้อง การของมนุษย์เท่ านั้น
แต่คือความเสมอภาคในการเป็นพลเมืองที่ดารงชีวิตด้วย ทรัพยากรของโลกนี้เท่าๆกัน
ภูฏานกับมอนซานโต้(Bhutan VS. Monsanto)
พู ด ถึ ง ภู ฏ า น ใ น เ รื่ อ ง ก า ร เ ก ษ ต ร อ อ ร์ แ ก นิ ก
เปลี่ยนผืนดินให้เป็นพื้นที่การเกษตรปลอดสารเคมีร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ในทางกลับกัน มอนซานโต้
นั้นเป็นบริษัทผู้ผลิตยากาจัดศัตรูพืชและเมล็ดพันธุ์ดัดแปลงพันธุกรรมยักษ์ใหญ่ ของโลก
โ ด ย มี ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า ที่ อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ แ บ ร น ด์ ต่ า ง ๆ
เราก็ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าโลกก็จะได้บริโภคอาหารที่ผลิตจากวัตถุดิบซึ่งผ่านการดัดแปลงทางพันธุกรรมมา
กขึ้น
ความฝันแบบแคลิฟอร์เนีย(California Dream)
แ ค ลิ ฟ อ ร์ เ นี ย เ ป็ น พื้ น ที่ เ ปิ ด ใ ห้ กั บ ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม กั น
ไป จ น ถึ ง ก า ร เ รีย ก ร้ อ ง สิ ท ธิ ข อ ง ช า ว รัก ร่ ว ม เ พ ศ อั น ย า ว น า น ก่ อ น ใค ร
จนทาให้มีการยกเลิกการกีดกันการแต่งงานระหว่างคนเพศเดียวกัน
อาณานิคมบรรษัท(The corporation)
บ ร ร ษั ท เ ป็ น นิ ติ บุ ค ล ห ม า ย ถึ ง ป ร ะ เ ด็ น ท า ง ก ฎ ห ม า ย
มีความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ได้ไม่ต่างจากบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นซื้อ ขาย
หรือครอบครองทรัพย์สิน รวมถึงการเสียภาษี
ความเป็นท้องถิ่น(Localization)
เมื่อมีการผลิตด้ว ยวัตถุดิบ ท้องถิ่น ใช้งานจ้างในท้องถิ่น ขาย ให้ค นในท้องถิ่น
และมีความจริงใจในการดาเนินธุรกิจ บนพื้นฐานความยั่งยืนของชุมชน
การเปลี่ยนผ่าน(Relocalization)
แนวคิดเมืองเปลี่ยนผ่านนี้ยังให้ความสาคัญกับการมองปัญหาพลังงานให้เป็นโอกาส
มากกว่าวิกฤต มีความสามารถในการพึ่งพาตัวเอง และมีชีวิตที่มาขาดแคลน
สินค้าที่ดีที่สุด(Buy Local)
เมื่อซื้อของที่ผลิตเองในท้องถิ่น นั้นคือการกระจายรายได้ให้กับผู้ผลิต ผู้จัดหาวัตถุดิบ เกษตรกร
และผู้ให้บริการในท้องถิ่นเองที่สาคัญ เงินที่ใช้จ่ายออกไป มีการหมุนเวียนในท้องถิ่นนั้นต่อไป
บทที่ 2 Relationship (ความสัมพันธ์)
The Comparative Advantage(โลกาภิวัตน์และการแบ่งงานตามความคิด)
สิ่งที่เราผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าคนอื่น และแลกเปลี่ยนสินค้ากับคนที่ทาอย่างอื่นได้ดีกว่า
ทาให้เกิดการจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด พลังแห่งโลกาภิวัตน์ คือ การเข้าถึงอันไร้ขีดจากัด
จึงทาให้เกิดการขยายพื้นที่การค้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุดเช่นกัน “ความต้องการ” อันไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษย์
ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร บ ริ โ ภ ค เ กิ น ค ว า ม จ า เ ป็ น
การแบ่งงานตามความถนัดดูจะเป็นกุญแจสาคัญในการสร้างเศรษฐกิจละขับเคลื่อนสังคมในยุคอุตสาหกร
รม พลังงานเป็ นของถูก ที่โลกจะทาให้กาเนิดเครื่องจักรมากมายเพื่อทดแท นกาลังค น
วันที่พลังงานมีราคาแพงขึ้น คือวันที่มนุษย์เริ่มตระหนักว่าพลังงานเป็นทรัพยากรสิ้นเปลือง
Dependence Independence Interdependence (ฉัน เธอ และคนอื่นๆ)
โลกนี้ถูกแบ่งออกเป็นสองบทบาท คือ ผู้นาและผู้ตาม โลกประชาธิปไตยมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นา
โ ล ก สั ง ค ม นิ ย ม มี ส ห ภ า พ โ ซ เ วี ย ด แ ล ะ จี น เ ป็ น ผู้ น า
การตัดสินใจทางการเมืองของประเทศผู้ตามทั้งหลายจึงพึ่งพิงอยู่กับประเทศผู้นาเสียเป็นอันมาก
เ ห ตุ ก า ร ณ์ น้ า ท่ ว ม ใ ห ญ่ ใ น ปี 2011
ถูกจัดให้เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความเสียหายในทางการเศรษฐกิจที่เลวร้ายที่สุดเป็นอันดับที่สี่ในประวิติศ
าสตร์ ผลกระท บ ต่อห่ว งโซ่อุป ทานของโลก โดย เฉพาะในอุตสาห กรรมเกษตร(ข้าว )
อิเล็กท รอนิกส์(ฮ าร์ดดิสก์) และย านย นต์ที่มีป ระเท ศ ไท ย เป็ นฐานการผลิตสาคัญ
ป ระเท ศ ที่ได้รับ ผลกระท บ จากเห ตุ การณ์น้ าท่ ว มให ญ่ ในป ระเท ศ ไท ย ก็คือ ญี่ ปุ่ น
ซึ่งเป็นประเทศที่มีการลงทุนทางตรงในประเทศไทยมากที่สุด การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน
ไม่ว่ าจะเกิดขึ้น ณ จุดใดข องโลก ย่ อมส่งผลกระท บ ต่อป ระเท ศ อื่นๆ ไป ตามๆ กัน
ท าให้ เ กิ ด ก า รเป ลี่ย น แ ป ลง จา ก ป ระเ ท ศ ที่ ย า ก จ น “พึ่ ง พิ ง ” ป ระ เท ศ ร่ าร ว ย
ไปสู่ภาวะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน
Self-dependence (การพึ่งพาตนเอง)
เช่นหลักการเศรษฐกิจพอเพียงที่มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตและการบริโภค
และความสามารถในการาจัดการทรัพยากรของชุมชน
The Economics of Sheep (แกะที่ผลิตในนิวซีแลนด์)
“แ ก ะ ” คื อ เ นื้ อ สั ต ว์ ที่ มี อั ต ร า ก า ร ป ล่ อ ย ค า ร์ บ อ น สู ง ที่ สุ ด
นักวิทยาศาสตร์แนะนาด้วยว่าผู้บริโภคชาวอังกฤษควรจะเลือกซื้อแกะที่นาเข้าจากนิวซีแลนด์มากกว่าแ
กะที่ผลิตในประเทศ เพราะแกะจากนิวซีแลนด์มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า
Sharing(การแบ่งปัน)
วิถีชีวิตในสังคมเกษตรกรรมสมัยก่อน เอื้อต่อการใช้ทรัพยากรส่วนบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดยไม่ต้องจ่าย ส่วนต่าง ให้กับคนกลางมากเหมือนกับปัจจุบัน ตัวอย่างที่ดีที่สุดคือ การแบ่งปัน
“แ ร ง ง า น ” ที่ พ ว ก เ ข า ใ ช้ ใ น ก า ร เ ก็ บ เ กี่ ย ว ผ ล ผ ลิ ต นั่ น เ อ ง
การก้าวเข้าสู่วิถีชีวิตสมัยใหม่และความเป็นเมืองที่มากขึ้น “ครอบครอง” มากขึ้น
บทที่ 3
Wisdom - ปัญญา
The Collaboration – ผู้สร้างร่วม
การเกิดขึ้นของ Viki.com ที่ทาให้ผู้ชมชาวโลกสามารถดูละครยอดฮิตได้แทบพร้อมๆกัน
โดย รว บ รว มราย การทีวี ภาพย นตร์ มิว สิกวิดีโอ ข่ าว และ เนื้อห าในรูป แบ บ อื่นๆ
แ ล ะ แ ป ล เ ป็ น ภ า ษ า ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย
ทาให้เราสามารถเลือกดูได้และเข้าใจได้ด้วยบทบรรยายที่เราสามารถตั้งไว้เป็นภาษาหลักที่ต้องการในปั
จจุบัน Viki ซึ่งสนธิมาจากคาว่า Video และ Wiki มีเนื้อห าอยู่ มากกว่าห นึ่งพันล้านชิ้น
มีการร่วมกันแปลเนื้อหาเป็นภาษาต่างๆมากกว่า 150 ภาษา และมีสานักงานใหญ่อยู่ในสามประเทศ คือ
สิงคโปร์ เกาหลี และสหรัฐอเมริกา
Life in a Day – ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประชาโลก
เ ค วิ น แ ม ค โ ด นั ล ด์ ผู้ ก า กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ส า ร ค ดี Life in a Day
ที่มีคนทั้งโลกเป็นผู้สร้างเนื้อหาร่วมกัน จากคาถามตั้งต้นที่ว่า เรารักอะไร กลัวอะไร และมีอะไร
แมคโดนัลด์ โยนคาถามนี้ให้กับชาวโลกและให้พวกเขาใช้เวลาหนึ่งวันในการถ่ายทาชีวิตของตัวเอง
แ ม ค โ ด นั ล ด์ ใ ห้ เ ห ตุ ผ ล ใน ก า ร ก า ห น ด เ ว ล า ถ่ า ย ท า ใ น ห นึ่ ง วั น ไ ว้ ว่ า
เพ ราะห นึ่งวันคือห น่ ว ย โค รงสร้างพื้นฐานสาห รับ ชีวิตข องผู้ค น สิ่ง ที่น่ าสนใจก็คือ
เท ค โน โล ยี ให ม่ น า ไ ป สู่ วิ ธี ก า ร ให ม่ แ ท น ที่ จ ะ ว า ง พ ล็อ ต เ รื่ อ ง ที่ ต้ อ ง ก า ร
แมคโดนัลด์กลับปล่อยให้เนื้อหาที่ได้รับเป็นตัวบอกว่าธีมและโครงสร้างของภาพยนตร์ว่าควรจะเป็นเช่น
ไร โดยที่จุดมุ่งหมาย ของภาพยนตร์ที่แท้จริง ไม่ใช่ เพียงแต่จานวนของผู้สร้างเนื้อห า
แต่เป็นความคิดและความเห็นของพวกเขาต่างหากที่ควรจะได้รับการแบ่งปัน
Collective Intelligence – ประชาธิปไตยมด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สตีเฟนแพรตต์ แห่งสานักวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐ
อริโซนา ได้ทาการศึกษาเรื่องปัญญารวมหมู่ (Collective Intelligence) ผ่านพฤติกรรมของมดและพบว่า
เมื่อมดถูกบังคับให้ย้ายที่อยู่ มันจะใช้ระบบเสียงส่วนใหญ่ในการตัดสินใจ ใน ก า ร ห า ท า เ ล นั้ น
ก ลุ่ ม ม ด จ ะ มี ส า ย ต ร ว จ เ พื่ อ ค้ น ห า ท า เ ล
เมื่อมดสายตรวจเจอทาเลน่าสนใจจะทาการประชาสัมพันธ์ถึงความยอดเยี่ยมของทาเลนั้น
แ ล ะ จ า น ว น ม ด ใ น แ ต่ ล ะ ท า เ ล ที่ ดี จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ
จนเมื่อถึงระดับหนึ่งจึงกลายเป็นการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่มไปในที่สุดแพรตต์ยังทาการศึกษาเพิ่มเติมเ
รื่องมดบนสมมติฐานที่ว่าอาณาจักรมดสามารถเลือกทาเลใหม่ที่มีคุณภาพสูงจากทางเลือกที่มีอยู่ได้ดีกว่า
มดแต่ละตัว พูดง่าย ๆคือมดแต่ละตัวไม่มีข้อมูลที่มากเกินที่ สาคัญ เข ายังพบ อีกว่ า
มดแต่ละตัว ตัดสินใจได้ไม่ดีพอเมื่อเทียบ กับ การตัดสินใจข องกลุ่มสิ่งที่เราต้องการคือ
ความเข้าใจที่ดีขึ้นว่าสังคมจะทางานด้วยระบบการกระจายกาลังของสมองอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไ
ร
The Wisdom of Crowds – ฝูงชนแห่งปัญญา
ห นั ง สื อ The Wisdom of Crowdsเ ขี ย น โ ด ย เ จ ม ส์ ซู โ ร วิ ค กี
แสดงให้เห็นถึงหลักฐานทางสถิติที่บอกว่าการตัดสินใจร่วมกันของคนที่การตัดสินใจเป็นอิสระต่อกัน
มักจะนามาสู่การตัดสินใจและการคาดการณ์ที่ดีกว่าการตัดสินใจหรือการคาดการณ์ที่มาจากคนๆเดียว
เ มื่ อ ห ล า ย หั ว ดี ก ว่ า หั ว เ ดี ย ว
เทคโนโลยีที่เอื้อต่อการทางานร่วมกันของคนทั้งโลกจึงเอื้อต่อการเข้าถึงเซลล์สมองที่มากขึ้น
นั่นหมายถึง การที่นักวิจัยสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลและกลุ่มตัวอย่างที่กว้างและหลากหลายมากขึ้น
ธุ ร กิ จ ส า ม า ร ถ ห า ตั ว เ ลื อ ก ที่ เ ห ม า ะ ส ม ส า ห รั บ แ ต่ ล ะ ง า น
รว มถึงการที่รัฐและห น่วยงานด้านสังค มมีผู้ช่วย ในกิ จกรรมต่างๆมากขึ้นด้ว ยเช่ นกัน
ถึงแม้ว่าโอกาสในการสร้างผลตอบแทนที่เป็นตัวเงินจะเป็นตัวขับเคลื่อนที่ดีในการเปิดพื้นที่สาหรับการ
ทางานร่วมกัน แต่สิ่งที่เราเห็นจากการทางานร่วมกันเพื่อจัดการความรู้อย่างวิกิพีเดียก็คือ
ค่านิยมใหม่ในการทางานเพื่อผลตอบแทนทางจิตใจ โดยมีความคล้ายคลึงกับค่านิยมแบบ “คุรุ”
ซึ่ง ห มาย ถึง ผู้ท รงค ว ามรู้ห รือค รูในค วามห าย ดั้งเดิม ที่มุ่ง “สอน” เพื่อ “สร้าง ค น”
แลกกับผลตอบแทนทางจิตใจเช่นกัน
The Consensus – ประชามติ
นั ก วิ ท ย า ศ าส ต ร์เ ค ย เ รีย ก ข าน โล ก ใน ยุ ค ที่ ไม่ มี สิ่ง มี ชี วิ ต เกิ ด ขึ้ น ว่ า
จีโอสเฟีย ร์และเรีย ก โลกที่เข้าสู่ยุ ค ที่มีสิ่งมีชีวิตมาตั้งแต่เมื่อ 3,500 ล้านปี ที่แล้ว ว่ า
ไบโอสเฟียร์และเมื่อมาถึงวันนี้มีหลายเสียงบอกว่าโลกได้เข้าสู่ยุคที่สาม โนโอสเฟียร์คือ
โลกที่วิวัฒน์มาจนถึงระดับที่ขับเคลื่อนด้วยจิตวิญญาณ
เ ต ย า ร ด์ เ ด อ ช า ร์ แ ด ง
นักป รัช ญ าชาวฝรั่ง เศ สผู้มีอิท ธิพลต่อแนว คิดเรื่องโนโอสเฟีย ร์ได้เค ย อธิบ ายไว้ว่ า
ยิ่งมนุ ษย ช าติเข้าสู่ระบ บ การจัดการตนเอง ในเครือข่ าย สังค มที่ซับ ซ้อนขึ้นเท่ าไห ร่
ภาวการณ์ขับเคลื่อนด้วยจิตวิญญาณที่เรียกว่าโนโอสเฟียร์จะยิ่งเติบโตมากขึ้นเท่านั้น
จัดการตนเองคือจุดเปลี่ยนอันสาคัญที่เป็นผลลัพธ์จากการเปิดพื้นที่อันไม่จากัดให้กับความเป็นหมู่
ไม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ท า ง า น ร ว ม ห มู่ ปั ญ ญ า ร ว ม ห มู่ จิ ต วิ ญ ญ า ณ ร ว ม ห มู่
อันห มาย ถึงการแสดงเจตจานงในการขับ เค ลื่อนโลกที่ต้องการในที่สุด พูดง่าย ๆคือ
เป็นระบบการอยู่ร่วมกันแบบไม่ต้องมีลาดับขั้นของการจัดการใดๆทั้งยังปราศจากอคติและความลาเอียง
ท า ง ส ถ า น ภ า พ ใน ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ร่ ว ม กั น อี ก ด้ ว ย แ ต่ นั่ น ขึ้ น อ ยู่ กั บ ว่ า
วิจารณญาณของเรานั้นจะมีประสิทธิภาพเพียงใด
บทที่4 Speed : ความเร็ว
The Mass Production : โรงงานของโลก
โล ก าภิวั ฒ น์ ไม่ เพี ย ง แต่ เป ลี่ย น โล ก ให้ ก ล าย เป็ น ต ลาด ใบ เดีย ว เท่ า นั้น
มันยังเปลี่ยนโฉมหน้าการผลิตของโลก และทาให้ศตวรรษที่ 20 กลายเป็นยุคทองของสิ้งที่เรียกว่า
"ประสิทธิภาพและการประหยัดจากขนาด” นาไปสู่แนวคิดการผลิตแบบตอบสนองเร่งด่วนที่เรียกว่า
Quick Response Manufacturing (QRM) ซึ่ ง ร ะ บ บ QRM
ท า ให้ ป ร ะสิท ธิภ า พ เกิ ด ขึ้ น ต ล อ ด ห่ ว ง โซ่ อุ ป ท า น ผ่ า น ก าร ต อ บ ค าถ าม ว่ า
ท าอย่ างไรจ ะย่ นระย ะเว ลาระห ว่ าง ก ารออก แบ บ การจัด ห าวัต ถุดิบ การผลิต
และการกระจายสินค้าให้ได้มากที่สุด
The Fast Production : สดจากรันเวย์
เมื่อโลกกลายเป็นตลาดใบเดียวหมายถึงการรวมเข้าด้วยกันของอุปสงค์จานวนมหาศาลที่จาเป็น
ต้องได้รับ การตอบ สนองอย่ างรวดเร็ว การเกิดขึ้นข องป รากฎ การณ์ "แฟชั่นด่ว น”
ที่มีผู้สนับ ส นุ น สาคัญ คือ ระบ บ ก ารผลิต แบ บ QRM จึง ก ลาย เป็ น คาต อบ สาคัญ
ซึ่งการผลิตที่ทั้งประหยัดและรวดเร็วนี้กาลังตอบสนองความต้องการอันไม่สิ้นสุดของผู้บริโภคแบบไม่มีเว
ลาหายใจ และนั่นทาให้ตลาดแฟชั่นด่วนเติบโตก้าวกระโดดแบบหยุดไม่อยู่
The Fast Generation : เจเนอเรชั่นนักทิ้ง
เ มื่ อ แ น ว คิ ด "อ า ยุ เ สื้ อ ผ้ า สั้ น ธุ ร ะ กิ จ ยื น ย า ว ”
กลาย เป็ นตรรกะสาคัญ ที่ห มุนสาย พานการผลิตและบ ริโภค ในอุตสาห กรรมแฟ ชั่น
ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ โ ภ ค ที่ ม า ก เ กิ น
จึงหมายถึงการเผาผลาญทรัพยากรและสร้างให้เกิดของเสียที่มากเกินกว่าโลกจะรับไหว
From Fast to Last : รื่นรมย์บนความช้า
แ ม้ ต ร ร ก ะ ที่ ง่ า ย แ ส น ง่ า ย จ ะ บ อ ก ว่ า เ มื่ อ เ ร า บ ริ โ ภ ค น้ อ ย ล ง
นั่ น ห ม า ย ถึ ง ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร แ ล ะ ก่ อ ข อ ง เ สี ย น้ อ ย ล ง
แต่สาหรับอุตสาหกรรมแฟชั่นที่เคยชินกับการกระตุ้นให้ผู้บริโภคเติมสินค้าใหม่ใส่ตู่บ่อยๆนี่ไม่ใช่โจทย์ที่ง่
าย ซึ่งวิธีการแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจเสื้อผ้าส่วนใหญ่จึงหันไปหาแนวคิด "การออกแบบยั่งยืน”
ที่โฟกัสอยู่บนการผลิตสินค้าที่คานึงถึงผลทางสังคมและสิ่งแวดล้อมตลอดอายุขัยของผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้น
The Value of Time: คุณค่าที่เวลามอบให้
กอรัง ซาห์ นักออกแบบชาวอินเดีย กาลังทางานร่วมกับศิลปินผ้าทอมือกว่าสี่ร้อยแห่งทั่วอินเดีย
และกลายเป็นแบรนด์ผู้นากระแสในการนาเอาส่าหรีทอมือกลับมาอยุ่ในความสนใจของรันเวย์อีกครั้ง
ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ไม่ใช่แค่คุณค่าจากการรอคอยและการสร้างสรรค์อย่างบรรจงเท่านั้นแต่ส่าหรีที่อาจมีราคา
สู ง ถึ ง 250,000 รู ปี (ป ร ะ ม า ณ 140,000 บ า ท )
ซึ่งทาจากผ้าคาดีอันเป็นการต่อสู้เพื่อเรียกร้องอิสรภาพจากอังกฤษในสมัยมหาตมะ คานธี
ยังหมายถึงคุณค่าที่ประวัติศาสตร์และวันเวลามอบให้กับลูกหลานชาวอินเดียเพื่อสืบสานความหมายบนเ
รื่องราว
บทที่ 5 Place (ถิ่น)
The Authenticity (ความจริงแท้)
ก า ร ใ ช้ วั ส ดุ ที่ มี อ ยู่ ใ น ท้ อ ง ถิ่ น ส า ห รั บ ค น ใ น ยุ ค ก่ อ น
เ ป็ น เ พี ย ง ค ว า ม ส ม เ ห ตุ ส ม ผ ล ท า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์
แต่พอมาถึงวันนี้กลับเป็นความกลมกลืนกับพื้นที่ราวกับหลอมรวมอัจฉริยภาพของธรรมชาติและมนุษย์เ
ข้าด้วยกัน กลายเป็น “ความจริงแท้” ที่ไม่ต้องการบทพิสูจน์อันใด
The Genius (อัจฉริยภาพแห่งถิ่น)
ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ส ไ ต ล์ กั ส โ ช ซึ คุ ริ พ บ เ ห็ น ไ ด้ ใ น “ชิ ร า ค า ว า โ ก ะ ”
เ ป็ น บ้ า น ไ ม้ ที่ ส ร้ า ง ใ ห้ มี ห ลั ง ค า สู ง แ ล ะ มี ค ว า ม ชั น 60 อ ง ศ า
เป็ นการออกแบ บที่ตอบโจท ย์ภูมิอากาศแบ บ หุบ เข า ที่ต้องรองรับ หิมะในหน้าหนาว
รวมถึงระบายอากาศในหน้าร้อน วัสดุที่ใช้มุงหลังคาใช้วัสดุจากธรรมชาติในท้องถิ่น เช่น เศษไม้
ดิ น เ ห นี ย ว ห ญ้ า ค า
และการสร้างบ้านให้หันหน้าไปทางเดียวกันตามทิศทางของลมยังช่วยให้บ้านเย็นในฤดูร้อนและให้ความ
อบอุ่นในฤดูหนาวอีกด้วย
The Happiness Designer (นักออกแบบสังคมความสุข)
แ ย น เ ก ฮ์ ล ส ถ า ป นิ ก ผู้ มี ชื่ อ เ สี ย ง ข อ ง เ ด น ม า ร์ ก
คื อ ผู้ ริ เ ริ่ ม ผ ลั ก ดั น ใ ห้ ถ น น ก ล า ย เ ป็ น ถ น น ป ล อ ด ม ล พิ ษ นั่ น คื อ
การออกแบบถนนให้รองรับเพียงการเดินเท้าและจักรยานเท่านั้น ทาให้เป็นเมืองที่ปราศจากรถยนต์
ต่ อ ม า ใน ปี 2012 จึ ง ไ ด้ เ ริ่ ม มี ก า ร ส ร้า ง ท า ง ด่ ว น จั ก ร ย า น ทั้ ง ห ม ด 26
สายเพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้ขับขี่ทาให้งานออกแบบของเดนมาร์กกลายเป็นทัศนคติในการสร้างสรร
ค์ที่สาคัญของโลก
The Soul Owner (จิตวิญญาณและความเป็นเจ้าของ)
เมื่อ”คน” มีความสัมพันธ์กับ ”พื้นที่” ก็จะกลายเป็น“เมือง” และจัดการเมืองตาม
วิจารณญ าณ ร่วม ข อง คนในพื้นที่ โดย ทีส่วนบ ริห ารและอานวย ค วามสะดว ก เช่ น
เมืองเชียงใหม่เป็นเมืองที่ใช้แนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจที่เน้นการสร้างมูลค่าจากคุณค่า
อ ย่ า ง หั ต ถ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร เ ก ษ ต ร ยั่ง ยื น ก าร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ พื่ อ สุ ข ภ า พ
ท าให้ก ลาย เป็ น เอก ลักษ ณ์เฉพ าะข องเมืองเชีย งให ม่ จึง ดึง ดูดทั้ง นักท่ อง เที่ ย ว
และผู้ที่มีวิชาชีพต่างๆให้มาที่เชียงใหม่
บทที่6 จิตวิญญาณ
คืนแห่งการเฉลิมฉลอง
ส า ห รั บ ปี 2 0 1 2
ไม่มีประเทศไหนจะอยู่ในความสนใจของสานักข่าวทั่วโลกไปมากกว่าประเทศพม่าที่ตัดสินใจเปิดประเทศ
อ ย่ า ง จ ริ ง จั ง แ ล ะ ก า ร เ ปิ ด รั บ ก า ร ล ง ทุ น จ า ก น า น า ช า ติ
ก า ร เ ปิ ด ป ร ะ เ ท ศ ยั ง ส่ ง ผ ล ถึ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง ช า ว พ ม่ า
รัฐบาลพม่าได้จับมือกับธุรกิจอีเวนต์รายใหญ่จากเมืองไทยจัดงานเคาท์ดาวน์คืนส่งท้ายปีเก่าในนครย่าง
กุ้ ง
ในคืนเดียวกันชาวอินเดียเลือกที่จะงดการฉลองเทศกาลปีใหม่เพื่อไว้อาลัยให้กับนักศึกษาหญิงวัย23ปี
เหยื่อผู้ถูกข่มขืนอย่างทารุณบนรถโดยสารในกรุงนิวเดลีจนเสียชีวิต
ยิ่งใช้ ยิ่งเหลือ
ส ส ส .จั ด แ ค ม เป ญ ส ว ด ม น ต์ข้ า ม ปี อ อ ก ม า ใน เ ท ศ ก า ล ฉ ล อ ง ปี ให ม่
พ.ศ.2556และประสบความสาเร็จอย่างมาก เป็นการดึงภาพ เมืองแห่งพุท ธศาสนิกช น
ข องป ระเท ศ กลับ มา วัฒ น ธรรมการสว ดมนต์ ก ารไห ว้ และการรดน้ าสงกร าน ต์
ไม่มีสิ่งไหนที่เป็ นวัฒ นธรรมดั้งเดิมของไทย แต่เป็นวัฒ นธรรมที่รับมาจากอินเดียทั้งสิ้น
วัฒนธรรมเป็นเรื่องของวิวัฒนาการ โลกาภิวัตน์ คือเครื่องมือในการทาให้วัฒ นธรรม ไหล
จ า ก ที่ ห นึ่ ง ไ ป อี ก ที่ ห นึ่ ง แ ล ะ ก า ล เ ว ล า คื อ เ ค รื่ อ ง มื อ ใน ก า ร ส่ ง ต่ อ
วัฒนธรรมจากเวลาหนึ่งไปยังอีกเวลาหนึ่ง
ยิ่งปน ยิ่งต่าง
ราย การ The voice Thailand คือเวอร์ชั่นที่มีการนาเอา สินท รัพย์ท างวัฒ นธรรม
มาใช้ได้อย่ างเจิดจ้าที่สุดป ระเท ศ ห นึ่ง ท ศกัณ ฐ์มานะ เพลงที่แต่งให้ กับ เก่ งธช ย
ถือเป็นเพลงที่นาเอาวัฒนธรรมเก่ามาเล่าในภาษาใหม่ ที่ร้อยความเป็นไทยเข้ากับความเป็นสากล
จารุง ใจ มหาวิทยาลัยบ้านนอก
เมื่อการเกษตรแบบ เดิมถูกเปลี่ยนให้เป็นเกษตรเชิงเดี่ย วเมื่อห ลายสิบปี ที่แล้ว
สิ่งที่ชาวบ้านเก็บหอมรอมริบได้กลับกลายเป็นหนี้สิน เมื่อเกิดปัญหางบประมาณจากภาครัฐมาไม่ถึง
ค น ใ น ชุ ม ช น จึ ง ตั้ ง ก อ ง ทุ น พั ฒ น า ห มู่ บ้ า น เ ป็ น ข อ ง ต น เ อ ง
เริ่มจากระดมหุ้นเพื่อสร้างร้านค้าชุ มช นและนากาไรไป ใช้ป ระโย ช น์ในกิจสาธารณ ะ
จน ก ล าย ม าเป็ น ท้ อ ง ถิ่น ที่ มี ค ว าม ส าม ารถ ใน ก ารจัด ก า รต น เอ ง ใน ด้าน ต่ าง ๆ
ทั้งหมดที่เป็นองค์ประกอบของความเป็นชุมชน ชุมชนนี้เรียนตัวเองว่า บ้านจารุง มหาวิทยาลัยบ้านนอก
เป็นแหล่งเรียนรู้สาคัญสาหรับภาคการศึกษา ในมหาวิทยาลัยรวมถึงชุมชนทั่วประเทศ
พรปีใหม่
เ พ ล ง Imagine ที่ จ อ ห์ น เ ล น น อ น
เขี ย น ขึ้ น แ ล ะ ร้อ ง ไว้ เ ป็ น เ พ ล ง ที่ แ ต่ ง ขึ้ น ใน ยุ ค แ ห่ ง ส ง ค รา ม แ ล ะสั น ติภ า พ
และเป็ น ธรรม เนีย มที่ เมือง นิว ย อร์กจะเปิ ดเพ ลง Imagine ในคืนวั นส่ง ท้ าย ปี เก่ า
สันติภาพคือพรปีใหม่ที่ทุกคนปรารถนามากที่สุด
บทที่7 (Responsibility) ความรับผิดชอบ
The New Challenges (ความท้าทายใหม่)
พอกล่าวถึงปัญ ห าวิก ฤตเศรษฐกิจในยุ โรป พร้อมที่จ ะเกิดปัญ ห าเมื่อไร่ก็ได้
โดย ที่ป ระเท ศ ไท ย จะได้รับ ผลกระท บ ทั้ง ท าง ตรง และท าง อ้อมอย่ าง ไม่ต้อง สง สัย
นอกจากนั้นประเทศไทยยังมีปัญหาสังคมเรื้อรังอย่างยาเสพติด เด็กเร่ร่อน ความรุนแรง
การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การศึกษาที่ด้อยคุณภาพ และค วามเหลื่อมล้าทางสังค ม
แต่สิ่งที่เกิดขึ้นจริงไม่ใช่แค่วิกฤตเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ดูเหมือนว่าโลกกาลังก้าวสู่ห้วงเวลาสาคัญที่เรียกว่า
“วิกฤตการณ์แห้งมนุษยชาติ” อันหมายถึงการท้าทายทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมนานัปการ
แรงสร้างสรรค์และปัญ ญ าทั้งหมดของมนุษย์จึงถูกขับ ออกมาใช้ต่อสู้กับสิ่งที่กาลังเผชิญ
ที่สาคัญมันคือความรับผิดชอบ
The New Norms (อานาจใหม่)
หลักเศรษฐศ าสตร์อันป กติ ยิ่งข องมีน้อย ห าย ากห รือผลิตยาก ราคาก็ยิ่งสูง
ค น มี ปั ญ ญ า เ ข้ า ถึ ง ก็ ต้ อ ง มี อ า น า จ ใ น ก า ร จั บ จ่ า ย ม า ก พ อ
อ า ห า ร จึ ง เ ป็ น สั ญ ลั ก ษ ณ์ ใ น ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ท า ง อ า น า จ อ ย่ า ง ห นึ่ ง
แต่ในสังคมที่ปะปนไปด้วยคนอีกส่วนหนึ่งซึ่งเลือกที่จะบริโภคด้วยความรู้มากกว่าความเชื่อ
หรือพูดให้ถูกต้องคือพวกเขาต้องการแสดงออกถึงความรับผิดชอบมากกว่าการเฉลิมฉลองความมั่งคั่ง
เช่นเดียวกับที่หลายคนหันมาไม่กินหูฉลาม เพราะว่าจะถูกปล่อยทิ้งกลับทะเลและตายลงอย่างช้าๆ
ในทุกๆมื้อ เราเลือกที่จะบริโภคอาหารที่ผลิตจากระบบอุตสาหกรรมที่สร้างสรรค์หรือทาลายสิ่งแวดล้อม
เพ รา ะใน ทุ ก ๆ ค รั้ง ที่ เรา เลือ ก บ ริโภ ค ใน แ ต่ ล ะวัน นั่น คือ เว ล าที่ เร าส่ง เสีย ง
“เ ลื อ ก ”แ ล้ ว ว่ า เ ร า ต้ อ ง บ ริ โ ภ ค แ บ บ ใ ด ใ น ฐ า น ะ ผู้ บ ริ โ ภ ค
เราคือจักรตัวสาคัญในการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต
The New Tools (นวัตกรรมโลกาภิวัตน์)
เมื่อใดก็ตามที่โจทย์ใหม่ๆไม่สามารถคลี่คลายได้ด้วยคาตอบเดิมๆเมื่อนั้นสิ่งที่เราเรียกว่า
“น วั ต ก ร ร ม ” ห า ก ป ร า ศ จ า ก น วั ต ก ร ร ม จ ะ ไ ม่ มี ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ กิ ด ขึ้ น
ห า ก ป ร า ศ จ า ก ค ว า ม ส า เ ร็ จ ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ
จะไม่มีนาย ทุ นที่ได้รับ ผลตอบ แท นจากการลงทุ นและตัวขับ เค ลื่อนให้เกิดการลงทุ น
เราจึงเห็นได้ว่าการเกิดขึ้นอย่างมากมายของ นวัตกรรม มันกลายเป็นเครื่องมือสาหรับติดต่อสื่อสาร
การแบ่งบันความรู้ การบริหารจักการและการทางานรวมหมู่
The New Freedom (ทุกคนคือผู้เปลี่ยนแปลง)
เมื่อมุมมองเปลี่ยน โลกก็สามารถเปลี่ยนสมาชิกที่เคยถูกมองเป็น “ภาระ” ของสังคมให้กลายเป็น
“อัจฉริยะ”ที่สร้างผลผลิตสาคัญให้กับสังคม เทคโนโลยีและโลกาภิวัตน์ไม่ได้มีความหมายเพียง
การเข้าถึง แบบไม่มีขีดจากัดเท่านั้น แต่มันยังสร้างให้เกิด ความเป็นไปได้ แบบใหม่
บทที่ 8 People(คน)
The Capitalทักษะการสร้างสังคม
การสร้างคน หมายถึงกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ ทั้งด้านกายภาพและความคิด
แบบไหนที่เหมาะสาหรับการสร้างสังคมในอนาคต จนมาถึงวันนี้ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่า ”คุณภาพ”
เป็นหัวใจสาคัญนี้คือวิสัยทัศน์แห่งอนาคตโลก
Multidisciplinary Skill ทักษะผสมผสาน
ทุนทางมนุษย์สาหรับอนาคตคือผู้ที่สามรถอบโจทย์การทางานหรือมีทักษะแบบผสมผสานที่เรีย
ก ว่ า “ พ หุ วิ ท ย า ก า ร ”
ทักษะผสมผสานไม่ได้หมายเพียงแค่การมีทักษะอันหลากหลายเท่านั้นยังหมายถึงความสามารถในการ
นาสิ่งต่างๆมาบูรณาการเข้าด้วยกัน รวมถึงการคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหา
Community Skillทักษะเฉพาะ
ทักษะเฉพาะ “ถิ่น” หมายถึงทักษะที่เห มาะกับการอยู่ ในท้องถิ่นข องพวกเข า
การนาเอาแนวคิดพระราชดาริ “บวร” เน้นความสัมพันธ์ระหว่างสามสถาบัน คือ บ้าน วัด โรงเรียน
พร้อมกับการนาเอาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นตัวขับเคลื่อน ด้วยการศึกษาแบบ “เฉพาะตัว
เฉพาะถิ่น”
Life Skillทักษะชีวิต
สิ่ง ส าคั ญ คื อ ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ ทั ก ษ ะ ใน ก าร เ ข้ า ใจ เ รื่อ ง เ ห ตุ แ ล ะ ผ ล
หรือผลกระทบจากสิ่งต่างๆจึงเป็นเรื่องสาคัญที่ต้องบ่มเพาะให้กับคนในสังคมเดียวกัน ทักษะความคิด
ความรับผิดชอบ และการหาจุดสมดุลของความสุขจึงน่าจะเป็นทักษะแห่งอนาคตของโลกนี้
บทที่9 สื่อ MEDIA
ฐานันดรที่สี่ (The Fourth Estate)
ด้านสังคม พูดถึง ในปี 2012 สถานีโทรทัศน์เอชบีโอนาซีรีย์ เรื่อง The newsroom
ซึ่งเป็นเรื่องราวของสถานีข่าวแห่งหนึ่งกับความพยายามในการฟื้นฟู ฐานันดรที่สี่ ของสื่อ ในสหรัฐ
บ่ ง ชี้ถึงค ว ามสาคัญ ข อง การเป็ น ที่ พึ่ง สาห รับ ป ระช าช นในก ารเข้าถึงค ว าม จริง
ซึ่งจุดเริ่มต้นของคาเรียกที่ว่า ฐานันดรที่สี่ เกิดในสมัยประชุมรัฐสภาของอังกฤษ ปี 1787
ฐานันดรที่สี่ คือที่พึ่งแห่งเดียวในการนาเสนอความจริงสู่สาธารณะ ความเสรีและคุณธรรม
ต้องมีวิจารณญานอันแม่นยา สื่อจะไม่ต้องรับใช้กลุ่มผลประโยชน์อื่น แต่คนกลุ่มเดียวที่สื่อรับใช้คือ
ประชาชน แต่พอผ่านไปไม่นานสื่อจานวนไม่น้อยกลับกลายเป็นเครื่องมือในการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐ
และเป็นพื้นที่ในการสร้างความขัดแย้งทางสังคมอีกด้วย
การเปลี่ยนผ่าน (The Last Print Issue)
ใ น สั ป ด า ห์ สุ ด ท้ า ย ข อ ง ปี 2 0 1 2 นิ ว ส์ วี ค
นิตยสารรายสัปดาห์ที่เคยมีบทบาทและพื้นที่อันสาคัญในการนาเสนอความเป็นไปของโลก
ตี พิ ม พ์ พ า ด หั ว บ น ป ก ฉ บั บ วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ว่ า #LASTPRINTISSUE
บ่งบ อกถึงการเป ลี่ย นแปลงจากสื่อโรงพิมพ์เป็ นพื้นที่ดิจิทัล ที่มีอายุ ยืนนานถึง79 ปี
จุดเริ่มต้นข องการเข้าสู่โลกดิจิทัลเต็มตัวและจุดเป ลี่ย นครั้งให ญ่ ห รืออาจห มาย ถึง
ก า ร ป ฏิ วั ติ เ พ ร า ะ ไ ม่ เ พี ย ง แ ต่ สื่ อ ดั้ ง เ ดิ ม เ ท่ า นั้ น ที่ ไ ด้ รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ
แต่มันคือเราทุ กค นต่าง ห าก ที่ ต้องท างานห นักมากขึ้น และมีวิจารณ ญ าณ มากขึ้น
ในขณะที่การแพร่กระจายของสื่อสังคมหมายถึงการเข้าถึงข้อมูลที่มากขึ้นหลากหลายเรื่อง
และอาจทาให้ผู้รับสื่อฉลาดขึ้นแต่ความเสรภาพที่เกิดขึ้นอาจนามาสู่ตวามเสียหายเมื่อตัวอย่างหนังเกรด
ต่ า เ รื่ อ ง Innocence of Muslims ถู ก เ ผ ย แ พ ร่ ท า ง ยู ทู ป
สร้างความต่อต้านจากชาวมุสลิมทั่วโลกและก็นาไปสู่การสูญเสียของทูตอเมริกาประจาประเทศลิเบีย
ในวันที่เรีภพถูกนามาใช้อย่ างบิ ดเบื อนและพื้นที่อันศักสิท ข องฐานันดรที่4 ห าย ไป
จนดูว่าโลกกกาลังเข้าสู่ภาวะไร้ระเบียบในการสื่อสาร
โลกที่เหลือ (Rise of the Rest,Voice of the voiceless)
จ ะ พู ด ถึ ง เ ห ตุ ก า ร ณ์ รุ น แ ร ง ใน จั ตุ รัส เ ที ย น อั น เ ห มิ น ใน ปี 1 9 8 9
ตามด้วยภาพการการสู้รบจากสถานที่จริงของสงครามอ่าวเปอร์เซีย 1991 และเป็นจุดเปลี่ยนของ CNN
กลาย เป็ นสื่อที่ค นทั้งโลกได้พึ่งพานาเสนอ ข่าวสด จนกลาย เป็ น ป รากฎ การณ์ CNN
Effectและสองสิ่งที่นามาสู่จุดเปลี่ยนของสื่ออีกครั้ง ก็คือ เหตุการณ์9/11 และบทบาทของสถานีข่าว
อัลจาชีราห์ ซึ่งเหตุการณ์นี้พูดถึงประเทศ กาตาร์ที่มีสถานีอัลจาซีราห์และรัฐบาลมีวิสัยทัศน์เดียวกัน
ซึ่งป ระเท ศนี้ได้รับ การย อมรับ ว่าเป็นป ระเท ศที่ป ระชาช นและสื่อมีเสรีภาพมาก ที่สุด
ซึ่งต่อมามีการเผยแพร่ภาพวิดีโอของโอซามา บิน ลาดิน จีงทาให้ข่าวของโลกอาหรับเป็นที่สนใจมากขึ้น
ต่อมาสถานีข่าวนี้ก็ได้ได้ทาภาคภาษาอังกฤษ ในปี2006
ต่ อ ม า ใ น ห นั ง สื อ The AlJazeera Effectโ ด ย เ ป็ น ห นั ง สื อ ข อ ง ฟิ ลิ ป ซี น
ซึ่งกล่าวถึงสถานีอัลจาซีราห์ว่าเป็นความเสรีของสื่อใหม่มอบให้กับสังคมโลก โดยเฉพาะความเป็นกลาง
จาก CNN Effect ซึ่งก ล่าว ถึง การน าเสน อข่ าว 2 4 ช ม . แต่อัลจาซีราห์ เอฟเฟ ก ต์
กล่าวถึงความท้าทายบนพื้นที่การเมือง และเสรีภาพของสื่อ และพลเมือง ส่วนที่เหลือ
อันหมายถึงส่วนที่ไม่ใช่แค่โลกตะวันตกเพราะฉะนั้นสื่อนั้นไม่ได้หมายถึงเพียงแค่ผู้นาเสนอความจริง
แต่เป็นสิ่งที่พิสูจน์ว่า สื่อเป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยงและสร้างอัตลักษณ์ของสังคม
บทที่10 Definitionนิยาม
เริ่มต้นจากสิ่งที่เรียกว่า “โลกาภิวัตน์” มันน่าจะหมายถึงกระบวนการเข้าสู่ความเป็นโลก
ผ่านการเข้าถึง แลกเปลี่ยน และหลวมรวม ซึ่งต่างจากสิ่งที่เรียกว่า “การทาให้เป็นสากล”
กระบวนการเข้าสู่ความเป็ นโลก จึงแตกต่างกับการทาให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
แต่เราจะอยู่อย่างไรในระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเข้าถึง แลกเปลี่ยน และหลอมรวมอย่างไม่จากัด
นอกจากนี้ยังมีนิยามคาว่า “ท้องถิ่นภิวัตน์” ก็น่าจะเป็นการเข้าสู่ภาวะความเป็นท้องถิ่น
ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งต่างจากสิ่งที่เรียกว่า “ท้องถิ่นนิยม”
ที่ ห ม า ย ถึ ง ก าร ให้ ค ว า ม ส าคั ญ กั บ ท รัพ ย าก ร วั ฒ น ธ ร รม ภ า ษ า ปั ญ ญ า
และความเป็นสังคมดั้งเดิมที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น
**ค ว า ม น่ า ส น ใจ ก็ คื อ ยิ่ ง ภ า ว ะ ค ว า ม เ ป็ น แ ข็ ง แ ร ง ม า ก ขึ้ น เ ท่ า ไ ร
ความเป็นท้องถิ่นยิ่งสาคัญมากขึ้นเท่านั้น มีนักเคลื่อนไหวสรุปว่า “ต้องคิดแบบโลก แต่ทาแบบท้องถิ่น”
เป็ น ค าต อ บ ท า ให้ โลก ดีขึ้ น แ ต่ สิ่ง ที่ ต้อง ท าอัน ดับ แรก ไม่ ใช่ ก ารแ ก้ ไข ปั ญ ห า
แต่เป็ นการกระตุ้นและส่ง เสริม ให้เกิ ดก ารตอบ ส น องต่ อปัญ ห าท้ อง ถิ่น เห ล่านั้น
ก ล่ าว คือ จ ะ ต้อ ง เ ป็ น ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ ร่ ว ม กั น ที่ ม าก ขึ้ น ระ ห ว่ า ง รัฐ ชุ ม ช น
และพลเมืองที่ตัดสินใจในเรื่องต่างๆ
นิยามใหม่ของการออกแบบ (Redefining Design)
บางทีเราต้องลองออกแบบหลายอย่างดูใหม่ หรืออาจต้องหานิยามใหม่ให้การออกแบบ
“มันอาจจะเป็นการออกแบบที่ทาให้เราใช้น้อยลง ซึ่งหมายถึงการผลิตและสร้างของเสียน้อยลง”
“การออกแบบที่ไม่กระตุ้นให้เกิดการบริโภคมากขึ้น แต่บริโภคที่ฉลาดกว่าเดิม”
เ มื่ อ ไ ม่ น า น มี ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ “แ อ ป เ ปิ้ ล ”
ไ ด้ เ ป ลี่ ย น นิ ย า ม ข อ ง ก า ร อ อ ก แ บ บ ใ ห้ เ ป็ น ”ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ”ใ ห ม่ ขึ้ น
มากกว่าการออกแบบที่คลี่คลายปัญหาหรือตอบสนองสิ่งที่เคยมี
* * สิ่ ง ที่ น่ า ส น ใ จ ก็ คื อ
ทัศนคติที่อาจพาให้เราหลุดพ้นจากกับดักการบริโภคแบบไม่รับผิดชอบนั้นอาจเป็นทัศนคติแบบอนุรักษ์
นิยม และทัศนคติแบบหัวก้าวหน้าในเวลาเดียวกัน
บ าง ที เราอาจต้อง ลอง ออก แบ บ ให ม่ ทั้ง ห ม ด ไม่ว่ าจะ เป็ น สิน ค้า บ ริก าร
จนไปถึงการออกแบบสังคมที่ปรารถนา และระบบคุณค่าที่ยกระดับจิตวิญญาณ
เงินทองต้องคิด (Redesigning Capital)
ยิ่ ง “โ ล ก า ภิ วั ต น์ ” ท า ง า น ม า ก เ ท่ า ไ ร
ธนาคารที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการระดมทุนยิ่งกลายเป็นกลไกสาคัญที่กระตุ้นให้เกิดการลงทุนและกา
รค้าขาย
นักบุญผู้เลี่ยงภาษี(Rethinking Inequality)
หนึ่งในวิธีการหลบเลี่ยงภาษี ซึ่งเป็นที่นิยมของผู้มีรายได้สูงส่วนใหญ่ ก็คือ “การบริจาค”
ไม่ว่าจะเป็ นการบ ริจาคอย่ างถูกกฎ ห มาย ห รือการฟอกเงิน มีเหตุผลห ลาย ป ระการ
ไม่ว่ าจะเป็ น ทั ศ นค ติที่ มอ งว่ าระบ บ ภ าษีไม่ เป็ นธรรม ต่อผู้ท าง าน ห นัก มากกว่ า
หรือผู้เสียภาษีปราศจากความเชื่อมั่นในการนาภาษีไปใช้จ่ายโดยรัฐ
อย่างไรก็ตาม “เสรีภาคและความเสมอภาค” ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนเชิดชูว่าต้องเท่ากัน
แ ต่ ใ น จิ ต วิ ญ ญ า ณ ก ลั บ ไ ม่ มี ทั้ ง ส อ ง สิ่ ง ค น ร ว ย ต้ อ ง เ สี ย ภ า ษี
ส่วนคนจนต้องได้รับผลระทบจากการกระทาของคนรวย เช่นโลกร้อน คนรวยก็จะซื้อแอร์มาใช้
ยิ่งร้อนมากก็ซื้อมากขึ้น ที่แอร์กลับเป็ นสิ่งที่ทาให้ร้อนยิ่งร้อนขึ้น แต่คนเหล่านั้นไม่สนใจ
ซึ่งคนที่ได้รับผลกระทบก็คือคนจน
ปัญหาโลกแตก (Reidentifying Identity)
“ความขัดแย้งทางผลประโยชน์”
จ า ก ก า ร ป ร ะ ชุ ม สุ ด ย อ ด สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม โ ล ก ค รั้ ง แ ร ก
มาจนถึงการประชุมสุดยอดว่าด้วยการรับมือกับภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
มีค ว า ม พ ย าย าม ข อ ง ทั่ว ป ร ะเท ศ ใน ก า รรับ มือ กั บ ปั ญ ห า สภ า พ ภู มิอ า ก า ศ
ประเทศผู้นาในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างสหรัฐอเมริกาไม่ยอมลงนามในพิธีสารโตเกียวเพราะอ้างว่
า ไ ม่ เ ป็ น ธ ร ร ม
เช่นเดียวกับประเทศอินเดียแต่แท้จริงแล้วทุกคนต้องปกป้องผลประโยชน์ของตัวเองมาก่อนการปกป้องโ
ลก
**หรือบางทีมันอาจจะถึงเวลาแล้วที่จะเหลือแค่ “ความเป็นโลก”หรือ “ความเป็นเรา”**
ส่วนที่ 2 การเชื่อมโยงแนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนกับ
หนังสือความเป็นโลก X ความเป็นเรา
โลกาภิวัตน์ กับ อุดมการณ์ท้องถิ่นนิยม (กลุ่มสตรีเหล็ก)
บทที่1 ตลาด (Market)
โลกหนึ่งใบและตลาดแห่งเดียว(One World,One Market)
ได้กล่าวถึงการพัฒ นาอย่ างยั่งยืนใน ด้านสังค ม คือ การเลือกซื้อสินค้าต่าง ๆ
ที่นาเข้ามาจากหลายแห่งที่เป็นที่นิยม มาไว้ในเมืองหลวง ให้คนชาวเมืองเข้าถึงสินค้านั้น เช่น
เสื้อผ้ายูนิโคล่,โดนัทชื่อดังจากนิวยอร์กฯ และด้านเศรษฐกิจคือกระเทียมที่นาเข้ามาจากจีนที่มา
ตีตลาดการค้ากระเทียมไทย เพราะมีราคาถูก ทาให้คนนิยมมากกว่า
ค่าขนส่งที่ถูกเกินจริง(One Planet)
ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร พั ฒ น า อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น ใ น ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ราค าน้ ามันที่ สูงแต่มีการราย งานที่สว นท าง ว่ าราค าน้ ามันที่ต่ าเกินค ว ามเป็ นจริง
ซึ่งมันกระทบ กับการขนส่งที่มีอิทธิพลของยอดการบ ริโภคน้ ามันของชาวอเมริกันมาก
จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภคหรือผลักดันการใช้พลังงานทดแทนอย่างจริงจัง
ความหมายของการบริโภค(The Consumer)
ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร พั ฒ น า ใ น ด้ า น สั ง ค ม
คือการบริโภคที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์และความเสมอภาคในการเป็นพลเมืองที่ดารงชีวิตด้ว
ย ทรัพยากรของโลกนี้เท่าๆกัน
ภูฏานกับมอนซานโต้(Bhutan VS. Monsanto)
ได้กล่าวถึงการพัฒนาอย่ายั่งยืนในด้านสิ่งแวดล้อม ภูฏานในเรื่องการเกษตรออร์แกนิก
เปลี่ยนผืนดินให้เป็นพื้นที่การเกษตรปลอดสารเคมีร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ในทางกลับกัน มอนซานโต้
นั้นเป็นบริษัทผู้ผลิตยากาจัดศัตรูพืชและเมล็ดพันธุ์ดัดแปลงพันธุกรรมยักษ์ใหญ่ ของโลก
โดยมีการผลิตสินค้าที่อยู่ภายใต้แบรนด์ต่างๆ
ความฝันแบบแคลิฟอร์เนีย(California Dream)
ได้กล่าวถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืนในด้านสังคมแคลิฟอร์เนียเป็นพื้นที่เปิดให้กับความเท่าเทียมกั
น ไ ป จ น ถึ ง ก า รเ รีย ก ร้อ ง สิ ท ธิ ข อ ง ช า ว รัก ร่ ว ม เ พ ศ อั น ย า ว น า น ก่ อ น ใค ร
จนทาให้มีการยกเลิกการกีดกันการแต่งงานระหว่างคนเพศเดียวกัน
อาณานิคมบรรษัท(The corporation)
ได้กล่าวถึงการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ บรรษัทเป็นนิติบุคล หมายถึงประเด็นทางกฎหมาย
มีความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ได้ไม่ต่างจากบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นซื้อ ขาย
หรือครอบครองทรัพย์สิน รวมถึงการเสียภาษี
ความเป็นท้องถิ่น(Localization)
ได้กล่าวถึงการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ เมื่อมีการผลิตด้วยวัตถุดิบท้องถิ่น ใช้งานจ้างในท้องถิ่น
ขายให้คนในท้องถิ่น และมีความจริงใจในการดาเนินธุรกิจ บนพื้นฐานความยั่งยืนของชุมชน
การเปลี่ยนผ่าน(Relocalization)
ได้กล่าวถึงการพัฒนาในด้านสิ่งแวดล้อมคือแนวคิดเมืองเปลี่ยนผ่านนี้ยังให้ความสาคัญกับการม
องปัญ ห าพลังงานให้เป็ นโอกาส มากก ว่าวิก ฤต มีคว ามสามารถในการพึ่งพาตัวเอง
และมีชีวิตที่มาขาดแคลน
สินค้าที่ดีที่สุด(Buy Local)
ได้ก ล่ า ว ถึ ง ก า รพั ฒ น า ใน ด้ า น เ ศ รษ ฐ กิ จ เมื่ อ ซื้ อ ข อ ง ที่ ผ ลิต เ อ ง ใน ท้ อ ง ถิ่ น
นั้นคือการกระจายรายได้ให้กับผู้ผลิต ผู้จัดหาวัตถุดิบ เกษตรกร และผู้ให้บริการในท้องถิ่นเองที่สาคัญ
เงินที่ใช้จ่ายออกไป มีการหมุนเวียนในท้องถิ่นนั้นต่อไป
บทที่ 2 Relationship (ความสัมพันธ์)
มีแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในมิติของเศรษฐกิจ คือ สิ่งที่เราผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าคนอื่น
และแลกเปลี่ยนสินค้ากับคนที่ทาอย่างอื่นได้ดีกว่า ทาให้เกิดการจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด
พ ลั ง แ ห่ ง โ ล ก า ภิ วั ต น์ คื อ ก า ร เ ข้ า ถึ ง อั น ไ ร้ ขี ด จ า กั ด
จึงทาให้เกิดการขยายพื้นที่การค้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุดเช่นกัน “ความต้องการ” อันไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษย์
ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร บ ริ โ ภ ค เ กิ น ค ว า ม จ า เ ป็ น
การแบ่งงานตามความถนัดดูจะเป็นกุญแจสาคัญในการสร้างเศรษฐกิจละขับเคลื่อนสังคมในยุคอุตสาหกร
รม พลังงานเป็ นของถูก ที่โลกจะทาให้กาเนิดเครื่องจักรมากมายเพื่อทดแท นกาลังค น
วันที่พลังงานมีราคาแพงขึ้น คือวันที่มนุษย์เริ่มตระหนักว่าพลังงานเป็นทรัพยากรสิ้นเปลือง
โลกนี้ถูกแบ่งออกเป็นสองบทบาท คือ ผู้นาและผู้ตาม โลกประชาธิปไตยมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นา
โ ล ก สั ง ค ม นิ ย ม มี ส ห ภ า พ โ ซ เ วี ย ด แ ล ะ จี น เ ป็ น ผู้ น า
การตัดสินใจทางการเมืองของประเทศผู้ตามทั้งหลายจึงพึ่งพิงอยู่กับประเทศผู้นาเสียเป็นอันมาก
เ ห ตุ ก า ร ณ์ น้ า ท่ ว ม ใ ห ญ่ ใ น ปี 2011
ถูกจัดให้เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความเสียหายในทางการเศรษฐกิจที่เลวร้ายที่สุดเป็นอันดับที่สี่ในประวิติศ
าสตร์ ผลกระท บ ต่อห่ว งโซ่อุป ทานของโลก โดย เฉพาะในอุตสาห กรรมเกษตร(ข้าว )
อิเล็กท รอนิกส์(ฮ าร์ดดิสก์) และย านย นต์ที่มีป ระเท ศ ไท ย เป็ นฐานการผลิตสาคัญ
ป ระเท ศ ที่ได้รับ ผลกระท บ จากเห ตุ ก ารณ์น้ าท่ ว มให ญ่ ในป ระเท ศ ไท ย ก็คือ ญี่ ปุ่ น
ซึ่งเป็ นประเทศที่มีการลงทุนท างตรงในประเทศไทยมากที่สุด ในหลายร้อยปีที่ผ่านมา
อัตราการเติบโตของผลผลิตในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนานั้นอิงอยู่กับอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของก
ลุ่มป ระเท ศ ที่พัฒ นาแล้ว ในช่ วงที่ เศ รษฐกิจข อง กลุ่มป ร ะเท ศ พัฒ นาแล้ว เติบ โตสูง
เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาก็เติบโตสูง การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน
ไม่ว่ าจะเกิดขึ้น ณ จุดใดข องโลก ย่ อมส่งผลกระท บ ต่อป ระเท ศ อื่นๆ ไป ตามๆ กัน
ท าให้ เ กิ ด ก า รเป ลี่ย น แ ป ลง จา ก ป ระเ ท ศ ที่ ย า ก จ น “พึ่ ง พิ ง ” ป ระ เท ศ ร่ าร ว ย
ไปสู่ภาวะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน
บทที่ 3 Wisdom - ปัญญา
The Collaboration – ผู้สร้างร่วม
หัวข้อนี้มีการเชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของมิติเทคโนโลยีในเรื่องการเกิดขึ้น
ของ Viki.com ที่ทาให้ผู้ชมชาวโลกสามารถดูละครยอดฮิตได้แทบพร้อมๆกัน โดยรวบรวมรายการทีวี
ภาพยนตร์ มิวสิกวิดีโอ ข่าว และ เนื้อหาในรูปแบบอื่นๆ และแปลเป็นภาษาต่างๆมากมาย ในปัจจุบัน
Vikiมีเนื้อหาอยู่มากกว่าหนึ่งพันล้านชิ้น มีการร่วมกันแปลเนื้อหาเป็นภาษาต่างๆมากกว่า 150 ภาษา
และมีสานัก งานให ญ่ อยู่ ใน สาม ป ระเท ศ คือ สิง ค โป ร์ เกาห ลี และสห รัฐอเม ริก า
ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของเทคโนโลยี
Life in a Day – ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประชาโลก
หัวข้อนี้มีการเชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของมิติเทคโนโลยีและสังคมในเรื่องข
องเควิน แมคโดนัลด์ ผู้กากับภาพยนตร์สารคดี Life in a Day ที่มีคนทั้งโลกเป็นผู้สร้างเนื้อหาร่วมกัน
โดยการให้ชาวโลกใช้เวลาหนึ่งวันในการถ่ายทาชีวิตของตัวเอง ซึ่งใช้เทคโนโลยีใหม่นาไปสู่วิธีการใหม่
แ ท น ที่ จ ะ ว า ง พ ล็ อ ต เ รื่ อ ง ที่ ต้ อ ง ก า ร
แมคโดนัลด์กลับปล่อยให้เนื้อหาที่ได้รับเป็นตัวบอกว่าธีมและโครงสร้างของภาพยนตร์ว่าควรจะเป็นเช่น
ไร
Collective Intelligence – ประชาธิปไตยมด
หัวข้อนี้มีการเชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของมิติสิ่งแวดล้อม ในการทาวิจัย
เรื่อ ง ปั ญ ญ า รว ม ห มู่ ( Collective Intelligence) ผ่ าน พ ฤ ติ ก รรม ข อ ง ม ด แ ล ะพ บ ว่ า
เมื่ อ ม ด ถู ก บั ง คับ ให้ ย้ าย ที่ อยู่ มัน จ ะใช้ ระบ บ เสีย ง ส่ ว น ให ญ่ ใน ก า รตัด สิน ใจ
พฤติกรรมนี้นามาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของมนุษย์ที่ว่าควรกระจายกาลังของสมองอย่างมีประสิทธิภาพ
The Wisdom of Crowds – ฝูงชนแห่งปัญญา
หัวข้อนี้มีการเชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของมิติสังคมเศรษฐกิจ
แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี โ ด ย มี ห นั ง สื อ The Wisdom of Crowds
ที่ แ ส ด ง ให้ เ ห็ น ถึ ง ห ลั ก ฐ า น ท า ง ส ถิ ติ ที่ บ อ ก ว่ า ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ร่ ว ม กั น
มักจะนามาสู่การตัดสินใจและการคาดการณ์ที่ดีกว่าการตัดสินใจหรือการคาดการณ์ที่มาจากคนๆเดียว
ซึ่งสอดคล้องกับมิติด้านสังคม และเมื่อโลกมีอินเทอร์เน็ตที่เร็วขึ้น ฉลาดขึ้น และครอบคลุมมากขึ้น
มันก็ได้เชื่ อมโย งทุ กค นเข้าไว้ด้ว ยกัน ซึ่งสอดคล้องกับ มิติด้านสังค มและเท คโนโลยี
เมื่อมีเทคโนโลยีมากขึ้นนักวิจัยสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลและกลุ่มตัวอย่างที่กว้างและหลากหลายมากขึ้
น ธุ ร กิ จ ต่ า ง ๆ ก็ ส า ม า ร ถ ห า ตั ว เ ลื อ ก ที่ เ ห ม า ะ ส ม ส า ห รับ แ ต่ ล ะ ง า น
รวมถึงการที่รัฐและหน่วยงานด้านสังคมมีผู้ช่วยในกิจกรรมต่างๆมากขึ้นซึ่งสอดคล้องกับมิติด้านเศรษฐกิ
จ
The Consensus – ประชามติ
หัว ข้อนี้มีการเชื่ อมโย ง กับ แนว คิดการพัฒ นาที่ ยั่งยื นในด้านข อง มิติสังค ม
ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ต น เ อ ง
คือจุดเปลี่ย นอันสาคัญ ที่เป็นผลลัพธ์จากการเปิ ดพื้นที่อันไม่จากัดให้กับคว ามเป็ นห มู่
ไม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ท า ง า น ร ว ม ห มู่ ปั ญ ญ า ร ว ม ห มู่ จิ ต วิ ญ ญ า ณ ร ว ม ห มู่
ซึ่งหมายถึงระบบการอยู่ร่วมกันแบบไม่ต้องมีลาดับขั้นของการจัดการใดๆทั้งยังปราศจากอคติและความ
ลาเอียงทางสถานภาพในการตัดสินใจร่วมกันอีกด้วย
บทที่4 Speed : ความเร็ว
The Mass Production : โรงงานของโลก
แนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนในมิติเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เอื้อให้เกิดการสื่อสารอันมีประสิทธิภาพระหว่างทุกฝ่าย
ซึ่ ง ร ะ บ บ QRM มี ข้ อ ไ ด้ เ ป รี ย บ ที่ ส า คั ญ คื อ
ทาให้ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนไอเดียในการนาเสนอสินค้าใหม่ออกสู่ตลาดให้เป็นสินค้าบนชึ้นวางได้อย่างรว
ดเร็ว รวมถึงความแม่นยาในการผลิตที่สร้างให้เกิดของเสียน้อยลง จึงทาให้ ระยะทาง มีความสาคัญ
เ มื่ อ ร ะ บ บ QRM ที่ ถู ก น า ม า ใ ช้ นั้ น ดึ ง ดู ด ผู้ ผ ลิ ต
เพื่อแลกกับการประหยัดต้นทุนการผลิตด้วยระยะเวลาระยะเวลาที่เร็วขึ้นในการนาเสนอสินค้าใหม่
The Fast Production : สดจากรันเวย์
แนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนในมิติเศรษฐกิจและสังคม
สินค้าหลักที่ออกแบบตามฤดูกาลซึ่งอิงกับเทรนด์การออกแบบจะถูกส่งไปให้ผู้ผลิตในประเทศห่า
ง ไ ก ล ที่ มี ต้ น ทุ น ต่ า ใ น ข ณ ะ ที่ สิ น ค้ า แ ฟ ชั่ น
จะใช้ผู้ผลิตที่อยู่ในประเทศหรืออยู่ใกล้กว่าเพื่อความรวดเร็วในการผลิตและนาเสนอสินค้าในตลาด
ซึ่งการผลิตที่ทั้งประหยัดและรวดเร็วนี้กาลังตอบสนองความต้องการอันไม่สิ้นสุดของผู้บริโภคแบบไม่มีเว
ลาหายใจ และนั่นทาให้ตลาดแฟชั่นด่วนเติบโตก้าวกระโดดแบบหยุดไม่อยู่
The Fast Generation : เจเนอเรชั่นนักทิ้ง
แนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนในมิติสิ่งแวดล้อมและสังคม
เครื่องนุ่งห่มที่ถูกทิ้งเป็นจานวนมหาศาลนี้มีผลิตภัณฑ์ที่ทาจากเส้นใยสังเคราะห์ซึ่งย่อยสลายไม่
ได้อยู่เป็นจานวนมาก ในขณะที่เส้นใยธรรมชาติก็สามารถปล่อยสารมีเทนที่ทาลายสภาพอากาศ
ซึ่ ง ก ร ะ บ ว น ก ร ะ ผ ลิ ต ที่ ใ ช้ น้ า จ า น ว น ม ห า ศ า ล
เส้นใยโพลีเอสเตอร์ที่นามาใช้อย่างกว้างขวางก็มาจากปิโตรเลียม ที่เป็นทรัพยากรสิ้นเปลือง
แ ล ะ ยั ง ป ล่ อ ย ก๊ า ซ ไ ฮ โ ด ร เ จ น ค ล อ ไ ร ด์ อ อ ก สู่ ชั่ น บ ร ร ย า ก า ศ
เส้น ใย ไน ล อ น ท า ให้ เ กิ ด ก๊ าซ ไน ต รัส อ อ ก ไซ ด์ ท าให้ ด กิ เ ภ า ว ะ เรือ น ก ร ะจ ก
รวมไปถึงปัญหาต้นทุนทางสังคม เช่น การกดขี่ค่าแรงและภาพการทางานที่เลวร้ายในประเทศผู้ผลิต
From Fast to Last : รื่นรมย์บนความช้า
แนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนในมิติสังคมและสิ่งแวดล้อม
ส ไ ต ล์ ค ล า ส สิ ก คื อ
การออกแบบเสื้อผ้าให้สวมใส่ได้แบบไม่ต้องเปลี่ยนตามเทรนด์กลายเป็นรสนิยมที่ไม่ทาร้ายโลก
ส ไ ต ล์ วิ น เ ท จ คื อ
การเปลี่ยนเสื้อผ้ามือสองหรือเสื้อผ้าค้างสต๊อกให้กลายเป็นสิ่งเติมเต็มอารมณ์ให้กับคนรุ่นใหม่
แ ถ ม ยั ง ไ ป กั น ด้ ว ย ดี กั บ ก า ร นิ ย ม สิ น ค้ า ท า มื อ ห รื อ ท า ด้ ว ย ตั ว เ อ ง
ที่นอกจากเปี่ยมไปด้วยเสน่ห์แล้วยังช่วยชะลอความเร็วในการบริโภคของมนุษย์
การหันกลับไปหาช่างตัดเย็บในท้องถิ่นแทนการเลือกซื้อเสื้อผ้ามาตรฐานตามขนาดต่างๆ
ซึ่งรวมไปจนถึงการซ่อมแซมหรือการนาเอาเสื้อผ้าเก่ามาทาใหม่ ในแบบที่เรียกว่า อัพไซเคิล
บทที่ 5 Place (ถิ่น)
มี แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ใ น มิ ติ ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม คื อ
การใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นสาหรับคนในยุคก่อน เป็นเพียงความสมเหตุสมผลทางด้านเศรษฐศาสตร์
แต่พอมาถึงวันนี้กลับเป็นความกลมกลืนกับพื้นที่ราวกับหลอมรวมอัจฉริยภาพของธรรมชาติและมนุษย์เ
ข้าด้ว ย กันอาทิเช่ นสถาปัตย ก รรมสไต ล์กัสโช ซึคุริพ บ เห็นได้ใน “ชิราค าว าโกะ ”
เป็นบ้านไม้ที่สร้างให้มีหลังคาสูงและมีความชัน 60 องศา มีความหนาถึงหนึ่งเมตร นั่นหมายความว่า
ในช่วงหิมะตกห นัก มันจะไหลลงมาตามความลาดเอียงโดย ไม่กองท่วมอยู่บ นหลังค า
ท า ใ ห้ ห ลั ง ค า ไ ม่ ต้ อ ง แ บ ก น้ า ห นั ก หิ ม ะ จ า น ว น ม า ก
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา
กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา

More Related Content

Similar to กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา

บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
artscolumn
artscolumnartscolumn
artscolumnRMIT
 
Charismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiCharismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiDrDanai Thienphut
 
Chiangmai Creative City USA Visit 2012
Chiangmai Creative City USA Visit 2012Chiangmai Creative City USA Visit 2012
Chiangmai Creative City USA Visit 2012Smith Taweelerdniti
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Prapatsorn Chaihuay
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังธนชิต จำปาทอง
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012DrDanai Thienphut
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1paisonmy
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศChainarong Maharak
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านprincess Thirteenpai
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนาfreelance
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Similar to กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา (20)

บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
artscolumn
artscolumnartscolumn
artscolumn
 
Charismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu ChiCharismatic Marketing Tzu Chi
Charismatic Marketing Tzu Chi
 
Chiangmai Creative City USA Visit 2012
Chiangmai Creative City USA Visit 2012Chiangmai Creative City USA Visit 2012
Chiangmai Creative City USA Visit 2012
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
Social network direct media
Social network direct mediaSocial network direct media
Social network direct media
 
S mbuyer 102
S mbuyer 102S mbuyer 102
S mbuyer 102
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอังเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันอัง
 
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
ดร.ดนัย เืทียนพุฒ มองทิศทางธุรกิจปี 2012
 
Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
H&f august 10
H&f august 10H&f august 10
H&f august 10
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
Online community & journalism
Online community & journalismOnline community & journalism
Online community & journalism
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
Online Collaboration
Online CollaborationOnline Collaboration
Online Collaboration
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

กลุ่มสตรีเหล็ก --ความเป็นโลก X ความเป็นเรา

  • 1. ความเป็นโลก X ความเป็นเรา โลกาภิวัตน์ กับ อุดมการณ์ท้องถิ่นนิยม (กลุ่มสตรีเหล็ก) บทที่1 ตลาด (Market) โลกหนึ่งใบและตลาดแห่งเดียว(One World,One Market) ได้กล่าวถึง การเลือกซื้อสินค้าต่างๆ ที่นาเข้ามาจากหลายแห่งที่เป็นที่นิยม มาไว้ในเมืองหลวง ให้ ค นช าว เมืองเข้ าถึงสิน ค้านั้น เช่ น เสื้อผ้ายู นิโค ล่,โดนั ท ชื่ อดังจากนิ ว ย อร์ก ฯ และยังมีรายการทางสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอสได้นาเสนอข่าวเกี่ยวกับ กระเทียมที่นาเข้ามาจากจีนที่มา ตีต ล า ด ก าร ค้ า ก ร ะ เที ย ม ไท ย เ พ รา ะ มี ร า ค าถู ก ท าให้ ค น นิ ย ม ม า ก ก ว่ า แ ล ะ ยั ง มี พื ช ผั ก ที่ น า เ ข้ า ท า ง เ ชี ย ง ร า ย แ ต่ ส่ ง ม า ยั ง ต ล า ด ใ ห ญ่ แ ต่ ก ลั บ ต้ อ ง ส่ ง จ า ก ต ล า ด ใ ห ญ่ ก ลั บ ไ ป ข า ย ใ น เ ชี ย ง ร า ย อี ก เป็นสิ่งที่บ่งบอกถึงการทาปฏิกิริยาของโลกาภิว้ตน์กับทัศนคติและรูปแบบการบริโภค ค่าขนส่งที่ถูกเกินจริง(One Planet) ได้กล่าวถึง ราคาน้ามันที่สูงแต่มีการรายงานที่สวนทางว่าราคาน้ามันที่ต่าเกินความเป็นจริง ซึ่งมันกระทบ กับการขนส่งที่มีอิทธิพลของยอดการบ ริโภคน้ ามันของชาวอเมริกันมาก จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภคหรือผลักดันการใช้พลังงานทดแทนอย่างจริงจัง ดังนั้นจึงมีการหลอมรวมเป็นหนึ่งเดียวในการขนส่งข้ามทวีปทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศ เป็นการเข้าถึงอันไร้ขีดจากัดที่มากับโลกาภิวัตน์นี้สร้างขึ้น ความหมายของการบริโภค(The Consumer) การบ ริโภ คนั้นไม่ได้ห มายถึงการตอบ สนองค วามต้อง การของมนุษย์เท่ านั้น แต่คือความเสมอภาคในการเป็นพลเมืองที่ดารงชีวิตด้วย ทรัพยากรของโลกนี้เท่าๆกัน ภูฏานกับมอนซานโต้(Bhutan VS. Monsanto) พู ด ถึ ง ภู ฏ า น ใ น เ รื่ อ ง ก า ร เ ก ษ ต ร อ อ ร์ แ ก นิ ก เปลี่ยนผืนดินให้เป็นพื้นที่การเกษตรปลอดสารเคมีร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ในทางกลับกัน มอนซานโต้ นั้นเป็นบริษัทผู้ผลิตยากาจัดศัตรูพืชและเมล็ดพันธุ์ดัดแปลงพันธุกรรมยักษ์ใหญ่ ของโลก โ ด ย มี ก า ร ผ ลิ ต สิ น ค้ า ที่ อ ยู่ ภ า ย ใ ต้ แ บ ร น ด์ ต่ า ง ๆ เราก็ปฏิเสธไม่ได้เลยว่าโลกก็จะได้บริโภคอาหารที่ผลิตจากวัตถุดิบซึ่งผ่านการดัดแปลงทางพันธุกรรมมา กขึ้น ความฝันแบบแคลิฟอร์เนีย(California Dream) แ ค ลิ ฟ อ ร์ เ นี ย เ ป็ น พื้ น ที่ เ ปิ ด ใ ห้ กั บ ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม กั น ไป จ น ถึ ง ก า ร เ รีย ก ร้ อ ง สิ ท ธิ ข อ ง ช า ว รัก ร่ ว ม เ พ ศ อั น ย า ว น า น ก่ อ น ใค ร จนทาให้มีการยกเลิกการกีดกันการแต่งงานระหว่างคนเพศเดียวกัน อาณานิคมบรรษัท(The corporation)
  • 2. บ ร ร ษั ท เ ป็ น นิ ติ บุ ค ล ห ม า ย ถึ ง ป ร ะ เ ด็ น ท า ง ก ฎ ห ม า ย มีความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ได้ไม่ต่างจากบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นซื้อ ขาย หรือครอบครองทรัพย์สิน รวมถึงการเสียภาษี ความเป็นท้องถิ่น(Localization) เมื่อมีการผลิตด้ว ยวัตถุดิบ ท้องถิ่น ใช้งานจ้างในท้องถิ่น ขาย ให้ค นในท้องถิ่น และมีความจริงใจในการดาเนินธุรกิจ บนพื้นฐานความยั่งยืนของชุมชน การเปลี่ยนผ่าน(Relocalization) แนวคิดเมืองเปลี่ยนผ่านนี้ยังให้ความสาคัญกับการมองปัญหาพลังงานให้เป็นโอกาส มากกว่าวิกฤต มีความสามารถในการพึ่งพาตัวเอง และมีชีวิตที่มาขาดแคลน สินค้าที่ดีที่สุด(Buy Local) เมื่อซื้อของที่ผลิตเองในท้องถิ่น นั้นคือการกระจายรายได้ให้กับผู้ผลิต ผู้จัดหาวัตถุดิบ เกษตรกร และผู้ให้บริการในท้องถิ่นเองที่สาคัญ เงินที่ใช้จ่ายออกไป มีการหมุนเวียนในท้องถิ่นนั้นต่อไป บทที่ 2 Relationship (ความสัมพันธ์) The Comparative Advantage(โลกาภิวัตน์และการแบ่งงานตามความคิด) สิ่งที่เราผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าคนอื่น และแลกเปลี่ยนสินค้ากับคนที่ทาอย่างอื่นได้ดีกว่า ทาให้เกิดการจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด พลังแห่งโลกาภิวัตน์ คือ การเข้าถึงอันไร้ขีดจากัด จึงทาให้เกิดการขยายพื้นที่การค้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุดเช่นกัน “ความต้องการ” อันไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษย์ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร บ ริ โ ภ ค เ กิ น ค ว า ม จ า เ ป็ น การแบ่งงานตามความถนัดดูจะเป็นกุญแจสาคัญในการสร้างเศรษฐกิจละขับเคลื่อนสังคมในยุคอุตสาหกร รม พลังงานเป็ นของถูก ที่โลกจะทาให้กาเนิดเครื่องจักรมากมายเพื่อทดแท นกาลังค น วันที่พลังงานมีราคาแพงขึ้น คือวันที่มนุษย์เริ่มตระหนักว่าพลังงานเป็นทรัพยากรสิ้นเปลือง Dependence Independence Interdependence (ฉัน เธอ และคนอื่นๆ) โลกนี้ถูกแบ่งออกเป็นสองบทบาท คือ ผู้นาและผู้ตาม โลกประชาธิปไตยมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นา โ ล ก สั ง ค ม นิ ย ม มี ส ห ภ า พ โ ซ เ วี ย ด แ ล ะ จี น เ ป็ น ผู้ น า การตัดสินใจทางการเมืองของประเทศผู้ตามทั้งหลายจึงพึ่งพิงอยู่กับประเทศผู้นาเสียเป็นอันมาก เ ห ตุ ก า ร ณ์ น้ า ท่ ว ม ใ ห ญ่ ใ น ปี 2011 ถูกจัดให้เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความเสียหายในทางการเศรษฐกิจที่เลวร้ายที่สุดเป็นอันดับที่สี่ในประวิติศ าสตร์ ผลกระท บ ต่อห่ว งโซ่อุป ทานของโลก โดย เฉพาะในอุตสาห กรรมเกษตร(ข้าว ) อิเล็กท รอนิกส์(ฮ าร์ดดิสก์) และย านย นต์ที่มีป ระเท ศ ไท ย เป็ นฐานการผลิตสาคัญ ป ระเท ศ ที่ได้รับ ผลกระท บ จากเห ตุ การณ์น้ าท่ ว มให ญ่ ในป ระเท ศ ไท ย ก็คือ ญี่ ปุ่ น ซึ่งเป็นประเทศที่มีการลงทุนทางตรงในประเทศไทยมากที่สุด การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน ไม่ว่ าจะเกิดขึ้น ณ จุดใดข องโลก ย่ อมส่งผลกระท บ ต่อป ระเท ศ อื่นๆ ไป ตามๆ กัน
  • 3. ท าให้ เ กิ ด ก า รเป ลี่ย น แ ป ลง จา ก ป ระเ ท ศ ที่ ย า ก จ น “พึ่ ง พิ ง ” ป ระ เท ศ ร่ าร ว ย ไปสู่ภาวะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน Self-dependence (การพึ่งพาตนเอง) เช่นหลักการเศรษฐกิจพอเพียงที่มุ่งเน้นความสัมพันธ์ระหว่างการผลิตและการบริโภค และความสามารถในการาจัดการทรัพยากรของชุมชน The Economics of Sheep (แกะที่ผลิตในนิวซีแลนด์) “แ ก ะ ” คื อ เ นื้ อ สั ต ว์ ที่ มี อั ต ร า ก า ร ป ล่ อ ย ค า ร์ บ อ น สู ง ที่ สุ ด นักวิทยาศาสตร์แนะนาด้วยว่าผู้บริโภคชาวอังกฤษควรจะเลือกซื้อแกะที่นาเข้าจากนิวซีแลนด์มากกว่าแ กะที่ผลิตในประเทศ เพราะแกะจากนิวซีแลนด์มีกระบวนการผลิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมมากกว่า Sharing(การแบ่งปัน) วิถีชีวิตในสังคมเกษตรกรรมสมัยก่อน เอื้อต่อการใช้ทรัพยากรส่วนบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยไม่ต้องจ่าย ส่วนต่าง ให้กับคนกลางมากเหมือนกับปัจจุบัน ตัวอย่างที่ดีที่สุดคือ การแบ่งปัน “แ ร ง ง า น ” ที่ พ ว ก เ ข า ใ ช้ ใ น ก า ร เ ก็ บ เ กี่ ย ว ผ ล ผ ลิ ต นั่ น เ อ ง การก้าวเข้าสู่วิถีชีวิตสมัยใหม่และความเป็นเมืองที่มากขึ้น “ครอบครอง” มากขึ้น บทที่ 3 Wisdom - ปัญญา The Collaboration – ผู้สร้างร่วม การเกิดขึ้นของ Viki.com ที่ทาให้ผู้ชมชาวโลกสามารถดูละครยอดฮิตได้แทบพร้อมๆกัน โดย รว บ รว มราย การทีวี ภาพย นตร์ มิว สิกวิดีโอ ข่ าว และ เนื้อห าในรูป แบ บ อื่นๆ แ ล ะ แ ป ล เ ป็ น ภ า ษ า ต่ า ง ๆ ม า ก ม า ย ทาให้เราสามารถเลือกดูได้และเข้าใจได้ด้วยบทบรรยายที่เราสามารถตั้งไว้เป็นภาษาหลักที่ต้องการในปั จจุบัน Viki ซึ่งสนธิมาจากคาว่า Video และ Wiki มีเนื้อห าอยู่ มากกว่าห นึ่งพันล้านชิ้น มีการร่วมกันแปลเนื้อหาเป็นภาษาต่างๆมากกว่า 150 ภาษา และมีสานักงานใหญ่อยู่ในสามประเทศ คือ สิงคโปร์ เกาหลี และสหรัฐอเมริกา Life in a Day – ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประชาโลก เ ค วิ น แ ม ค โ ด นั ล ด์ ผู้ ก า กั บ ภ า พ ย น ต ร์ ส า ร ค ดี Life in a Day ที่มีคนทั้งโลกเป็นผู้สร้างเนื้อหาร่วมกัน จากคาถามตั้งต้นที่ว่า เรารักอะไร กลัวอะไร และมีอะไร แมคโดนัลด์ โยนคาถามนี้ให้กับชาวโลกและให้พวกเขาใช้เวลาหนึ่งวันในการถ่ายทาชีวิตของตัวเอง แ ม ค โ ด นั ล ด์ ใ ห้ เ ห ตุ ผ ล ใน ก า ร ก า ห น ด เ ว ล า ถ่ า ย ท า ใ น ห นึ่ ง วั น ไ ว้ ว่ า เพ ราะห นึ่งวันคือห น่ ว ย โค รงสร้างพื้นฐานสาห รับ ชีวิตข องผู้ค น สิ่ง ที่น่ าสนใจก็คือ เท ค โน โล ยี ให ม่ น า ไ ป สู่ วิ ธี ก า ร ให ม่ แ ท น ที่ จ ะ ว า ง พ ล็อ ต เ รื่ อ ง ที่ ต้ อ ง ก า ร แมคโดนัลด์กลับปล่อยให้เนื้อหาที่ได้รับเป็นตัวบอกว่าธีมและโครงสร้างของภาพยนตร์ว่าควรจะเป็นเช่น
  • 4. ไร โดยที่จุดมุ่งหมาย ของภาพยนตร์ที่แท้จริง ไม่ใช่ เพียงแต่จานวนของผู้สร้างเนื้อห า แต่เป็นความคิดและความเห็นของพวกเขาต่างหากที่ควรจะได้รับการแบ่งปัน Collective Intelligence – ประชาธิปไตยมด ผู้ช่วยศาสตราจารย์สตีเฟนแพรตต์ แห่งสานักวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ มหาวิทยาลัยแห่งรัฐ อริโซนา ได้ทาการศึกษาเรื่องปัญญารวมหมู่ (Collective Intelligence) ผ่านพฤติกรรมของมดและพบว่า เมื่อมดถูกบังคับให้ย้ายที่อยู่ มันจะใช้ระบบเสียงส่วนใหญ่ในการตัดสินใจ ใน ก า ร ห า ท า เ ล นั้ น ก ลุ่ ม ม ด จ ะ มี ส า ย ต ร ว จ เ พื่ อ ค้ น ห า ท า เ ล เมื่อมดสายตรวจเจอทาเลน่าสนใจจะทาการประชาสัมพันธ์ถึงความยอดเยี่ยมของทาเลนั้น แ ล ะ จ า น ว น ม ด ใ น แ ต่ ล ะ ท า เ ล ที่ ดี จ ะ เ พิ่ ม ขึ้ น เ รื่ อ ย ๆ จนเมื่อถึงระดับหนึ่งจึงกลายเป็นการตัดสินใจร่วมกันของกลุ่มไปในที่สุดแพรตต์ยังทาการศึกษาเพิ่มเติมเ รื่องมดบนสมมติฐานที่ว่าอาณาจักรมดสามารถเลือกทาเลใหม่ที่มีคุณภาพสูงจากทางเลือกที่มีอยู่ได้ดีกว่า มดแต่ละตัว พูดง่าย ๆคือมดแต่ละตัวไม่มีข้อมูลที่มากเกินที่ สาคัญ เข ายังพบ อีกว่ า มดแต่ละตัว ตัดสินใจได้ไม่ดีพอเมื่อเทียบ กับ การตัดสินใจข องกลุ่มสิ่งที่เราต้องการคือ ความเข้าใจที่ดีขึ้นว่าสังคมจะทางานด้วยระบบการกระจายกาลังของสมองอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างไ ร The Wisdom of Crowds – ฝูงชนแห่งปัญญา ห นั ง สื อ The Wisdom of Crowdsเ ขี ย น โ ด ย เ จ ม ส์ ซู โ ร วิ ค กี แสดงให้เห็นถึงหลักฐานทางสถิติที่บอกว่าการตัดสินใจร่วมกันของคนที่การตัดสินใจเป็นอิสระต่อกัน มักจะนามาสู่การตัดสินใจและการคาดการณ์ที่ดีกว่าการตัดสินใจหรือการคาดการณ์ที่มาจากคนๆเดียว เ มื่ อ ห ล า ย หั ว ดี ก ว่ า หั ว เ ดี ย ว เทคโนโลยีที่เอื้อต่อการทางานร่วมกันของคนทั้งโลกจึงเอื้อต่อการเข้าถึงเซลล์สมองที่มากขึ้น นั่นหมายถึง การที่นักวิจัยสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลและกลุ่มตัวอย่างที่กว้างและหลากหลายมากขึ้น ธุ ร กิ จ ส า ม า ร ถ ห า ตั ว เ ลื อ ก ที่ เ ห ม า ะ ส ม ส า ห รั บ แ ต่ ล ะ ง า น รว มถึงการที่รัฐและห น่วยงานด้านสังค มมีผู้ช่วย ในกิ จกรรมต่างๆมากขึ้นด้ว ยเช่ นกัน ถึงแม้ว่าโอกาสในการสร้างผลตอบแทนที่เป็นตัวเงินจะเป็นตัวขับเคลื่อนที่ดีในการเปิดพื้นที่สาหรับการ ทางานร่วมกัน แต่สิ่งที่เราเห็นจากการทางานร่วมกันเพื่อจัดการความรู้อย่างวิกิพีเดียก็คือ ค่านิยมใหม่ในการทางานเพื่อผลตอบแทนทางจิตใจ โดยมีความคล้ายคลึงกับค่านิยมแบบ “คุรุ” ซึ่ง ห มาย ถึง ผู้ท รงค ว ามรู้ห รือค รูในค วามห าย ดั้งเดิม ที่มุ่ง “สอน” เพื่อ “สร้าง ค น” แลกกับผลตอบแทนทางจิตใจเช่นกัน The Consensus – ประชามติ นั ก วิ ท ย า ศ าส ต ร์เ ค ย เ รีย ก ข าน โล ก ใน ยุ ค ที่ ไม่ มี สิ่ง มี ชี วิ ต เกิ ด ขึ้ น ว่ า จีโอสเฟีย ร์และเรีย ก โลกที่เข้าสู่ยุ ค ที่มีสิ่งมีชีวิตมาตั้งแต่เมื่อ 3,500 ล้านปี ที่แล้ว ว่ า ไบโอสเฟียร์และเมื่อมาถึงวันนี้มีหลายเสียงบอกว่าโลกได้เข้าสู่ยุคที่สาม โนโอสเฟียร์คือ โลกที่วิวัฒน์มาจนถึงระดับที่ขับเคลื่อนด้วยจิตวิญญาณ
  • 5. เ ต ย า ร ด์ เ ด อ ช า ร์ แ ด ง นักป รัช ญ าชาวฝรั่ง เศ สผู้มีอิท ธิพลต่อแนว คิดเรื่องโนโอสเฟีย ร์ได้เค ย อธิบ ายไว้ว่ า ยิ่งมนุ ษย ช าติเข้าสู่ระบ บ การจัดการตนเอง ในเครือข่ าย สังค มที่ซับ ซ้อนขึ้นเท่ าไห ร่ ภาวการณ์ขับเคลื่อนด้วยจิตวิญญาณที่เรียกว่าโนโอสเฟียร์จะยิ่งเติบโตมากขึ้นเท่านั้น จัดการตนเองคือจุดเปลี่ยนอันสาคัญที่เป็นผลลัพธ์จากการเปิดพื้นที่อันไม่จากัดให้กับความเป็นหมู่ ไม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ท า ง า น ร ว ม ห มู่ ปั ญ ญ า ร ว ม ห มู่ จิ ต วิ ญ ญ า ณ ร ว ม ห มู่ อันห มาย ถึงการแสดงเจตจานงในการขับ เค ลื่อนโลกที่ต้องการในที่สุด พูดง่าย ๆคือ เป็นระบบการอยู่ร่วมกันแบบไม่ต้องมีลาดับขั้นของการจัดการใดๆทั้งยังปราศจากอคติและความลาเอียง ท า ง ส ถ า น ภ า พ ใน ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ร่ ว ม กั น อี ก ด้ ว ย แ ต่ นั่ น ขึ้ น อ ยู่ กั บ ว่ า วิจารณญาณของเรานั้นจะมีประสิทธิภาพเพียงใด บทที่4 Speed : ความเร็ว The Mass Production : โรงงานของโลก โล ก าภิวั ฒ น์ ไม่ เพี ย ง แต่ เป ลี่ย น โล ก ให้ ก ล าย เป็ น ต ลาด ใบ เดีย ว เท่ า นั้น มันยังเปลี่ยนโฉมหน้าการผลิตของโลก และทาให้ศตวรรษที่ 20 กลายเป็นยุคทองของสิ้งที่เรียกว่า "ประสิทธิภาพและการประหยัดจากขนาด” นาไปสู่แนวคิดการผลิตแบบตอบสนองเร่งด่วนที่เรียกว่า Quick Response Manufacturing (QRM) ซึ่ ง ร ะ บ บ QRM ท า ให้ ป ร ะสิท ธิภ า พ เกิ ด ขึ้ น ต ล อ ด ห่ ว ง โซ่ อุ ป ท า น ผ่ า น ก าร ต อ บ ค าถ าม ว่ า ท าอย่ างไรจ ะย่ นระย ะเว ลาระห ว่ าง ก ารออก แบ บ การจัด ห าวัต ถุดิบ การผลิต และการกระจายสินค้าให้ได้มากที่สุด The Fast Production : สดจากรันเวย์ เมื่อโลกกลายเป็นตลาดใบเดียวหมายถึงการรวมเข้าด้วยกันของอุปสงค์จานวนมหาศาลที่จาเป็น ต้องได้รับ การตอบ สนองอย่ างรวดเร็ว การเกิดขึ้นข องป รากฎ การณ์ "แฟชั่นด่ว น” ที่มีผู้สนับ ส นุ น สาคัญ คือ ระบ บ ก ารผลิต แบ บ QRM จึง ก ลาย เป็ น คาต อบ สาคัญ ซึ่งการผลิตที่ทั้งประหยัดและรวดเร็วนี้กาลังตอบสนองความต้องการอันไม่สิ้นสุดของผู้บริโภคแบบไม่มีเว ลาหายใจ และนั่นทาให้ตลาดแฟชั่นด่วนเติบโตก้าวกระโดดแบบหยุดไม่อยู่ The Fast Generation : เจเนอเรชั่นนักทิ้ง เ มื่ อ แ น ว คิ ด "อ า ยุ เ สื้ อ ผ้ า สั้ น ธุ ร ะ กิ จ ยื น ย า ว ” กลาย เป็ นตรรกะสาคัญ ที่ห มุนสาย พานการผลิตและบ ริโภค ในอุตสาห กรรมแฟ ชั่น ก า ร ผ ลิ ต แ ล ะ ก า ร บ ริ โ ภ ค ที่ ม า ก เ กิ น จึงหมายถึงการเผาผลาญทรัพยากรและสร้างให้เกิดของเสียที่มากเกินกว่าโลกจะรับไหว From Fast to Last : รื่นรมย์บนความช้า แ ม้ ต ร ร ก ะ ที่ ง่ า ย แ ส น ง่ า ย จ ะ บ อ ก ว่ า เ มื่ อ เ ร า บ ริ โ ภ ค น้ อ ย ล ง นั่ น ห ม า ย ถึ ง ก า ร ใ ช้ ท รั พ ย า ก ร แ ล ะ ก่ อ ข อ ง เ สี ย น้ อ ย ล ง
  • 6. แต่สาหรับอุตสาหกรรมแฟชั่นที่เคยชินกับการกระตุ้นให้ผู้บริโภคเติมสินค้าใหม่ใส่ตู่บ่อยๆนี่ไม่ใช่โจทย์ที่ง่ าย ซึ่งวิธีการแสดงความรับผิดชอบของธุรกิจเสื้อผ้าส่วนใหญ่จึงหันไปหาแนวคิด "การออกแบบยั่งยืน” ที่โฟกัสอยู่บนการผลิตสินค้าที่คานึงถึงผลทางสังคมและสิ่งแวดล้อมตลอดอายุขัยของผลิตภัณฑ์แต่ละชิ้น The Value of Time: คุณค่าที่เวลามอบให้ กอรัง ซาห์ นักออกแบบชาวอินเดีย กาลังทางานร่วมกับศิลปินผ้าทอมือกว่าสี่ร้อยแห่งทั่วอินเดีย และกลายเป็นแบรนด์ผู้นากระแสในการนาเอาส่าหรีทอมือกลับมาอยุ่ในความสนใจของรันเวย์อีกครั้ง ซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ไม่ใช่แค่คุณค่าจากการรอคอยและการสร้างสรรค์อย่างบรรจงเท่านั้นแต่ส่าหรีที่อาจมีราคา สู ง ถึ ง 250,000 รู ปี (ป ร ะ ม า ณ 140,000 บ า ท ) ซึ่งทาจากผ้าคาดีอันเป็นการต่อสู้เพื่อเรียกร้องอิสรภาพจากอังกฤษในสมัยมหาตมะ คานธี ยังหมายถึงคุณค่าที่ประวัติศาสตร์และวันเวลามอบให้กับลูกหลานชาวอินเดียเพื่อสืบสานความหมายบนเ รื่องราว บทที่ 5 Place (ถิ่น) The Authenticity (ความจริงแท้) ก า ร ใ ช้ วั ส ดุ ที่ มี อ ยู่ ใ น ท้ อ ง ถิ่ น ส า ห รั บ ค น ใ น ยุ ค ก่ อ น เ ป็ น เ พี ย ง ค ว า ม ส ม เ ห ตุ ส ม ผ ล ท า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร์ แต่พอมาถึงวันนี้กลับเป็นความกลมกลืนกับพื้นที่ราวกับหลอมรวมอัจฉริยภาพของธรรมชาติและมนุษย์เ ข้าด้วยกัน กลายเป็น “ความจริงแท้” ที่ไม่ต้องการบทพิสูจน์อันใด The Genius (อัจฉริยภาพแห่งถิ่น) ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ส ไ ต ล์ กั ส โ ช ซึ คุ ริ พ บ เ ห็ น ไ ด้ ใ น “ชิ ร า ค า ว า โ ก ะ ” เ ป็ น บ้ า น ไ ม้ ที่ ส ร้ า ง ใ ห้ มี ห ลั ง ค า สู ง แ ล ะ มี ค ว า ม ชั น 60 อ ง ศ า เป็ นการออกแบ บที่ตอบโจท ย์ภูมิอากาศแบ บ หุบ เข า ที่ต้องรองรับ หิมะในหน้าหนาว รวมถึงระบายอากาศในหน้าร้อน วัสดุที่ใช้มุงหลังคาใช้วัสดุจากธรรมชาติในท้องถิ่น เช่น เศษไม้ ดิ น เ ห นี ย ว ห ญ้ า ค า และการสร้างบ้านให้หันหน้าไปทางเดียวกันตามทิศทางของลมยังช่วยให้บ้านเย็นในฤดูร้อนและให้ความ อบอุ่นในฤดูหนาวอีกด้วย The Happiness Designer (นักออกแบบสังคมความสุข) แ ย น เ ก ฮ์ ล ส ถ า ป นิ ก ผู้ มี ชื่ อ เ สี ย ง ข อ ง เ ด น ม า ร์ ก คื อ ผู้ ริ เ ริ่ ม ผ ลั ก ดั น ใ ห้ ถ น น ก ล า ย เ ป็ น ถ น น ป ล อ ด ม ล พิ ษ นั่ น คื อ การออกแบบถนนให้รองรับเพียงการเดินเท้าและจักรยานเท่านั้น ทาให้เป็นเมืองที่ปราศจากรถยนต์ ต่ อ ม า ใน ปี 2012 จึ ง ไ ด้ เ ริ่ ม มี ก า ร ส ร้า ง ท า ง ด่ ว น จั ก ร ย า น ทั้ ง ห ม ด 26 สายเพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้ขับขี่ทาให้งานออกแบบของเดนมาร์กกลายเป็นทัศนคติในการสร้างสรร ค์ที่สาคัญของโลก The Soul Owner (จิตวิญญาณและความเป็นเจ้าของ)
  • 7. เมื่อ”คน” มีความสัมพันธ์กับ ”พื้นที่” ก็จะกลายเป็น“เมือง” และจัดการเมืองตาม วิจารณญ าณ ร่วม ข อง คนในพื้นที่ โดย ทีส่วนบ ริห ารและอานวย ค วามสะดว ก เช่ น เมืองเชียงใหม่เป็นเมืองที่ใช้แนวทางในการพัฒนาเศรษฐกิจที่เน้นการสร้างมูลค่าจากคุณค่า อ ย่ า ง หั ต ถ อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร เ ก ษ ต ร ยั่ง ยื น ก าร ท่ อ ง เ ที่ ย ว เ พื่ อ สุ ข ภ า พ ท าให้ก ลาย เป็ น เอก ลักษ ณ์เฉพ าะข องเมืองเชีย งให ม่ จึง ดึง ดูดทั้ง นักท่ อง เที่ ย ว และผู้ที่มีวิชาชีพต่างๆให้มาที่เชียงใหม่ บทที่6 จิตวิญญาณ คืนแห่งการเฉลิมฉลอง ส า ห รั บ ปี 2 0 1 2 ไม่มีประเทศไหนจะอยู่ในความสนใจของสานักข่าวทั่วโลกไปมากกว่าประเทศพม่าที่ตัดสินใจเปิดประเทศ อ ย่ า ง จ ริ ง จั ง แ ล ะ ก า ร เ ปิ ด รั บ ก า ร ล ง ทุ น จ า ก น า น า ช า ติ ก า ร เ ปิ ด ป ร ะ เ ท ศ ยั ง ส่ ง ผ ล ถึ ง ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง วิ ถี ชี วิ ต ข อ ง ช า ว พ ม่ า รัฐบาลพม่าได้จับมือกับธุรกิจอีเวนต์รายใหญ่จากเมืองไทยจัดงานเคาท์ดาวน์คืนส่งท้ายปีเก่าในนครย่าง กุ้ ง ในคืนเดียวกันชาวอินเดียเลือกที่จะงดการฉลองเทศกาลปีใหม่เพื่อไว้อาลัยให้กับนักศึกษาหญิงวัย23ปี เหยื่อผู้ถูกข่มขืนอย่างทารุณบนรถโดยสารในกรุงนิวเดลีจนเสียชีวิต ยิ่งใช้ ยิ่งเหลือ ส ส ส .จั ด แ ค ม เป ญ ส ว ด ม น ต์ข้ า ม ปี อ อ ก ม า ใน เ ท ศ ก า ล ฉ ล อ ง ปี ให ม่ พ.ศ.2556และประสบความสาเร็จอย่างมาก เป็นการดึงภาพ เมืองแห่งพุท ธศาสนิกช น ข องป ระเท ศ กลับ มา วัฒ น ธรรมการสว ดมนต์ ก ารไห ว้ และการรดน้ าสงกร าน ต์ ไม่มีสิ่งไหนที่เป็ นวัฒ นธรรมดั้งเดิมของไทย แต่เป็นวัฒ นธรรมที่รับมาจากอินเดียทั้งสิ้น วัฒนธรรมเป็นเรื่องของวิวัฒนาการ โลกาภิวัตน์ คือเครื่องมือในการทาให้วัฒ นธรรม ไหล จ า ก ที่ ห นึ่ ง ไ ป อี ก ที่ ห นึ่ ง แ ล ะ ก า ล เ ว ล า คื อ เ ค รื่ อ ง มื อ ใน ก า ร ส่ ง ต่ อ วัฒนธรรมจากเวลาหนึ่งไปยังอีกเวลาหนึ่ง ยิ่งปน ยิ่งต่าง ราย การ The voice Thailand คือเวอร์ชั่นที่มีการนาเอา สินท รัพย์ท างวัฒ นธรรม มาใช้ได้อย่ างเจิดจ้าที่สุดป ระเท ศ ห นึ่ง ท ศกัณ ฐ์มานะ เพลงที่แต่งให้ กับ เก่ งธช ย ถือเป็นเพลงที่นาเอาวัฒนธรรมเก่ามาเล่าในภาษาใหม่ ที่ร้อยความเป็นไทยเข้ากับความเป็นสากล จารุง ใจ มหาวิทยาลัยบ้านนอก เมื่อการเกษตรแบบ เดิมถูกเปลี่ยนให้เป็นเกษตรเชิงเดี่ย วเมื่อห ลายสิบปี ที่แล้ว สิ่งที่ชาวบ้านเก็บหอมรอมริบได้กลับกลายเป็นหนี้สิน เมื่อเกิดปัญหางบประมาณจากภาครัฐมาไม่ถึง ค น ใ น ชุ ม ช น จึ ง ตั้ ง ก อ ง ทุ น พั ฒ น า ห มู่ บ้ า น เ ป็ น ข อ ง ต น เ อ ง เริ่มจากระดมหุ้นเพื่อสร้างร้านค้าชุ มช นและนากาไรไป ใช้ป ระโย ช น์ในกิจสาธารณ ะ
  • 8. จน ก ล าย ม าเป็ น ท้ อ ง ถิ่น ที่ มี ค ว าม ส าม ารถ ใน ก ารจัด ก า รต น เอ ง ใน ด้าน ต่ าง ๆ ทั้งหมดที่เป็นองค์ประกอบของความเป็นชุมชน ชุมชนนี้เรียนตัวเองว่า บ้านจารุง มหาวิทยาลัยบ้านนอก เป็นแหล่งเรียนรู้สาคัญสาหรับภาคการศึกษา ในมหาวิทยาลัยรวมถึงชุมชนทั่วประเทศ พรปีใหม่ เ พ ล ง Imagine ที่ จ อ ห์ น เ ล น น อ น เขี ย น ขึ้ น แ ล ะ ร้อ ง ไว้ เ ป็ น เ พ ล ง ที่ แ ต่ ง ขึ้ น ใน ยุ ค แ ห่ ง ส ง ค รา ม แ ล ะสั น ติภ า พ และเป็ น ธรรม เนีย มที่ เมือง นิว ย อร์กจะเปิ ดเพ ลง Imagine ในคืนวั นส่ง ท้ าย ปี เก่ า สันติภาพคือพรปีใหม่ที่ทุกคนปรารถนามากที่สุด บทที่7 (Responsibility) ความรับผิดชอบ The New Challenges (ความท้าทายใหม่) พอกล่าวถึงปัญ ห าวิก ฤตเศรษฐกิจในยุ โรป พร้อมที่จ ะเกิดปัญ ห าเมื่อไร่ก็ได้ โดย ที่ป ระเท ศ ไท ย จะได้รับ ผลกระท บ ทั้ง ท าง ตรง และท าง อ้อมอย่ าง ไม่ต้อง สง สัย นอกจากนั้นประเทศไทยยังมีปัญหาสังคมเรื้อรังอย่างยาเสพติด เด็กเร่ร่อน ความรุนแรง การตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร การศึกษาที่ด้อยคุณภาพ และค วามเหลื่อมล้าทางสังค ม แต่สิ่งที่เกิดขึ้นจริงไม่ใช่แค่วิกฤตเศรษฐกิจเท่านั้น แต่ดูเหมือนว่าโลกกาลังก้าวสู่ห้วงเวลาสาคัญที่เรียกว่า “วิกฤตการณ์แห้งมนุษยชาติ” อันหมายถึงการท้าทายทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมนานัปการ แรงสร้างสรรค์และปัญ ญ าทั้งหมดของมนุษย์จึงถูกขับ ออกมาใช้ต่อสู้กับสิ่งที่กาลังเผชิญ ที่สาคัญมันคือความรับผิดชอบ The New Norms (อานาจใหม่) หลักเศรษฐศ าสตร์อันป กติ ยิ่งข องมีน้อย ห าย ากห รือผลิตยาก ราคาก็ยิ่งสูง ค น มี ปั ญ ญ า เ ข้ า ถึ ง ก็ ต้ อ ง มี อ า น า จ ใ น ก า ร จั บ จ่ า ย ม า ก พ อ อ า ห า ร จึ ง เ ป็ น สั ญ ลั ก ษ ณ์ ใ น ก า ร แ ส ด ง อ อ ก ท า ง อ า น า จ อ ย่ า ง ห นึ่ ง แต่ในสังคมที่ปะปนไปด้วยคนอีกส่วนหนึ่งซึ่งเลือกที่จะบริโภคด้วยความรู้มากกว่าความเชื่อ หรือพูดให้ถูกต้องคือพวกเขาต้องการแสดงออกถึงความรับผิดชอบมากกว่าการเฉลิมฉลองความมั่งคั่ง เช่นเดียวกับที่หลายคนหันมาไม่กินหูฉลาม เพราะว่าจะถูกปล่อยทิ้งกลับทะเลและตายลงอย่างช้าๆ ในทุกๆมื้อ เราเลือกที่จะบริโภคอาหารที่ผลิตจากระบบอุตสาหกรรมที่สร้างสรรค์หรือทาลายสิ่งแวดล้อม เพ รา ะใน ทุ ก ๆ ค รั้ง ที่ เรา เลือ ก บ ริโภ ค ใน แ ต่ ล ะวัน นั่น คือ เว ล าที่ เร าส่ง เสีย ง “เ ลื อ ก ”แ ล้ ว ว่ า เ ร า ต้ อ ง บ ริ โ ภ ค แ บ บ ใ ด ใ น ฐ า น ะ ผู้ บ ริ โ ภ ค เราคือจักรตัวสาคัญในการเปลี่ยนแปลงระบบการผลิต The New Tools (นวัตกรรมโลกาภิวัตน์) เมื่อใดก็ตามที่โจทย์ใหม่ๆไม่สามารถคลี่คลายได้ด้วยคาตอบเดิมๆเมื่อนั้นสิ่งที่เราเรียกว่า “น วั ต ก ร ร ม ” ห า ก ป ร า ศ จ า ก น วั ต ก ร ร ม จ ะ ไ ม่ มี ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ กิ ด ขึ้ น ห า ก ป ร า ศ จ า ก ค ว า ม ส า เ ร็ จ ใ น ก า ร ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ
  • 9. จะไม่มีนาย ทุ นที่ได้รับ ผลตอบ แท นจากการลงทุ นและตัวขับ เค ลื่อนให้เกิดการลงทุ น เราจึงเห็นได้ว่าการเกิดขึ้นอย่างมากมายของ นวัตกรรม มันกลายเป็นเครื่องมือสาหรับติดต่อสื่อสาร การแบ่งบันความรู้ การบริหารจักการและการทางานรวมหมู่ The New Freedom (ทุกคนคือผู้เปลี่ยนแปลง) เมื่อมุมมองเปลี่ยน โลกก็สามารถเปลี่ยนสมาชิกที่เคยถูกมองเป็น “ภาระ” ของสังคมให้กลายเป็น “อัจฉริยะ”ที่สร้างผลผลิตสาคัญให้กับสังคม เทคโนโลยีและโลกาภิวัตน์ไม่ได้มีความหมายเพียง การเข้าถึง แบบไม่มีขีดจากัดเท่านั้น แต่มันยังสร้างให้เกิด ความเป็นไปได้ แบบใหม่ บทที่ 8 People(คน) The Capitalทักษะการสร้างสังคม การสร้างคน หมายถึงกระบวนการเรียนรู้และพัฒนาทักษะ ทั้งด้านกายภาพและความคิด แบบไหนที่เหมาะสาหรับการสร้างสังคมในอนาคต จนมาถึงวันนี้ไม่มีใครปฏิเสธได้ว่า ”คุณภาพ” เป็นหัวใจสาคัญนี้คือวิสัยทัศน์แห่งอนาคตโลก Multidisciplinary Skill ทักษะผสมผสาน ทุนทางมนุษย์สาหรับอนาคตคือผู้ที่สามรถอบโจทย์การทางานหรือมีทักษะแบบผสมผสานที่เรีย ก ว่ า “ พ หุ วิ ท ย า ก า ร ” ทักษะผสมผสานไม่ได้หมายเพียงแค่การมีทักษะอันหลากหลายเท่านั้นยังหมายถึงความสามารถในการ นาสิ่งต่างๆมาบูรณาการเข้าด้วยกัน รวมถึงการคิด วิเคราะห์และแก้ปัญหา Community Skillทักษะเฉพาะ ทักษะเฉพาะ “ถิ่น” หมายถึงทักษะที่เห มาะกับการอยู่ ในท้องถิ่นข องพวกเข า การนาเอาแนวคิดพระราชดาริ “บวร” เน้นความสัมพันธ์ระหว่างสามสถาบัน คือ บ้าน วัด โรงเรียน พร้อมกับการนาเอาแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นตัวขับเคลื่อน ด้วยการศึกษาแบบ “เฉพาะตัว เฉพาะถิ่น” Life Skillทักษะชีวิต สิ่ง ส าคั ญ คื อ ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ ทั ก ษ ะ ใน ก าร เ ข้ า ใจ เ รื่อ ง เ ห ตุ แ ล ะ ผ ล หรือผลกระทบจากสิ่งต่างๆจึงเป็นเรื่องสาคัญที่ต้องบ่มเพาะให้กับคนในสังคมเดียวกัน ทักษะความคิด ความรับผิดชอบ และการหาจุดสมดุลของความสุขจึงน่าจะเป็นทักษะแห่งอนาคตของโลกนี้ บทที่9 สื่อ MEDIA ฐานันดรที่สี่ (The Fourth Estate) ด้านสังคม พูดถึง ในปี 2012 สถานีโทรทัศน์เอชบีโอนาซีรีย์ เรื่อง The newsroom ซึ่งเป็นเรื่องราวของสถานีข่าวแห่งหนึ่งกับความพยายามในการฟื้นฟู ฐานันดรที่สี่ ของสื่อ ในสหรัฐ บ่ ง ชี้ถึงค ว ามสาคัญ ข อง การเป็ น ที่ พึ่ง สาห รับ ป ระช าช นในก ารเข้าถึงค ว าม จริง ซึ่งจุดเริ่มต้นของคาเรียกที่ว่า ฐานันดรที่สี่ เกิดในสมัยประชุมรัฐสภาของอังกฤษ ปี 1787
  • 10. ฐานันดรที่สี่ คือที่พึ่งแห่งเดียวในการนาเสนอความจริงสู่สาธารณะ ความเสรีและคุณธรรม ต้องมีวิจารณญานอันแม่นยา สื่อจะไม่ต้องรับใช้กลุ่มผลประโยชน์อื่น แต่คนกลุ่มเดียวที่สื่อรับใช้คือ ประชาชน แต่พอผ่านไปไม่นานสื่อจานวนไม่น้อยกลับกลายเป็นเครื่องมือในการโฆษณาชวนเชื่อของรัฐ และเป็นพื้นที่ในการสร้างความขัดแย้งทางสังคมอีกด้วย การเปลี่ยนผ่าน (The Last Print Issue) ใ น สั ป ด า ห์ สุ ด ท้ า ย ข อ ง ปี 2 0 1 2 นิ ว ส์ วี ค นิตยสารรายสัปดาห์ที่เคยมีบทบาทและพื้นที่อันสาคัญในการนาเสนอความเป็นไปของโลก ตี พิ ม พ์ พ า ด หั ว บ น ป ก ฉ บั บ วั น ที่ 3 1 ธั น ว า ว่ า #LASTPRINTISSUE บ่งบ อกถึงการเป ลี่ย นแปลงจากสื่อโรงพิมพ์เป็ นพื้นที่ดิจิทัล ที่มีอายุ ยืนนานถึง79 ปี จุดเริ่มต้นข องการเข้าสู่โลกดิจิทัลเต็มตัวและจุดเป ลี่ย นครั้งให ญ่ ห รืออาจห มาย ถึง ก า ร ป ฏิ วั ติ เ พ ร า ะ ไ ม่ เ พี ย ง แ ต่ สื่ อ ดั้ ง เ ดิ ม เ ท่ า นั้ น ที่ ไ ด้ รั บ ผ ล ก ร ะ ท บ แต่มันคือเราทุ กค นต่าง ห าก ที่ ต้องท างานห นักมากขึ้น และมีวิจารณ ญ าณ มากขึ้น ในขณะที่การแพร่กระจายของสื่อสังคมหมายถึงการเข้าถึงข้อมูลที่มากขึ้นหลากหลายเรื่อง และอาจทาให้ผู้รับสื่อฉลาดขึ้นแต่ความเสรภาพที่เกิดขึ้นอาจนามาสู่ตวามเสียหายเมื่อตัวอย่างหนังเกรด ต่ า เ รื่ อ ง Innocence of Muslims ถู ก เ ผ ย แ พ ร่ ท า ง ยู ทู ป สร้างความต่อต้านจากชาวมุสลิมทั่วโลกและก็นาไปสู่การสูญเสียของทูตอเมริกาประจาประเทศลิเบีย ในวันที่เรีภพถูกนามาใช้อย่ างบิ ดเบื อนและพื้นที่อันศักสิท ข องฐานันดรที่4 ห าย ไป จนดูว่าโลกกกาลังเข้าสู่ภาวะไร้ระเบียบในการสื่อสาร โลกที่เหลือ (Rise of the Rest,Voice of the voiceless) จ ะ พู ด ถึ ง เ ห ตุ ก า ร ณ์ รุ น แ ร ง ใน จั ตุ รัส เ ที ย น อั น เ ห มิ น ใน ปี 1 9 8 9 ตามด้วยภาพการการสู้รบจากสถานที่จริงของสงครามอ่าวเปอร์เซีย 1991 และเป็นจุดเปลี่ยนของ CNN กลาย เป็ นสื่อที่ค นทั้งโลกได้พึ่งพานาเสนอ ข่าวสด จนกลาย เป็ น ป รากฎ การณ์ CNN Effectและสองสิ่งที่นามาสู่จุดเปลี่ยนของสื่ออีกครั้ง ก็คือ เหตุการณ์9/11 และบทบาทของสถานีข่าว อัลจาชีราห์ ซึ่งเหตุการณ์นี้พูดถึงประเทศ กาตาร์ที่มีสถานีอัลจาซีราห์และรัฐบาลมีวิสัยทัศน์เดียวกัน ซึ่งป ระเท ศนี้ได้รับ การย อมรับ ว่าเป็นป ระเท ศที่ป ระชาช นและสื่อมีเสรีภาพมาก ที่สุด ซึ่งต่อมามีการเผยแพร่ภาพวิดีโอของโอซามา บิน ลาดิน จีงทาให้ข่าวของโลกอาหรับเป็นที่สนใจมากขึ้น ต่อมาสถานีข่าวนี้ก็ได้ได้ทาภาคภาษาอังกฤษ ในปี2006 ต่ อ ม า ใ น ห นั ง สื อ The AlJazeera Effectโ ด ย เ ป็ น ห นั ง สื อ ข อ ง ฟิ ลิ ป ซี น ซึ่งกล่าวถึงสถานีอัลจาซีราห์ว่าเป็นความเสรีของสื่อใหม่มอบให้กับสังคมโลก โดยเฉพาะความเป็นกลาง จาก CNN Effect ซึ่งก ล่าว ถึง การน าเสน อข่ าว 2 4 ช ม . แต่อัลจาซีราห์ เอฟเฟ ก ต์ กล่าวถึงความท้าทายบนพื้นที่การเมือง และเสรีภาพของสื่อ และพลเมือง ส่วนที่เหลือ อันหมายถึงส่วนที่ไม่ใช่แค่โลกตะวันตกเพราะฉะนั้นสื่อนั้นไม่ได้หมายถึงเพียงแค่ผู้นาเสนอความจริง แต่เป็นสิ่งที่พิสูจน์ว่า สื่อเป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยงและสร้างอัตลักษณ์ของสังคม
  • 11. บทที่10 Definitionนิยาม เริ่มต้นจากสิ่งที่เรียกว่า “โลกาภิวัตน์” มันน่าจะหมายถึงกระบวนการเข้าสู่ความเป็นโลก ผ่านการเข้าถึง แลกเปลี่ยน และหลวมรวม ซึ่งต่างจากสิ่งที่เรียกว่า “การทาให้เป็นสากล” กระบวนการเข้าสู่ความเป็ นโลก จึงแตกต่างกับการทาให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน แต่เราจะอยู่อย่างไรในระบบนิเวศที่เอื้อต่อการเข้าถึง แลกเปลี่ยน และหลอมรวมอย่างไม่จากัด นอกจากนี้ยังมีนิยามคาว่า “ท้องถิ่นภิวัตน์” ก็น่าจะเป็นการเข้าสู่ภาวะความเป็นท้องถิ่น ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม ซึ่งต่างจากสิ่งที่เรียกว่า “ท้องถิ่นนิยม” ที่ ห ม า ย ถึ ง ก าร ให้ ค ว า ม ส าคั ญ กั บ ท รัพ ย าก ร วั ฒ น ธ ร รม ภ า ษ า ปั ญ ญ า และความเป็นสังคมดั้งเดิมที่มีอยู่ในแต่ละท้องถิ่น **ค ว า ม น่ า ส น ใจ ก็ คื อ ยิ่ ง ภ า ว ะ ค ว า ม เ ป็ น แ ข็ ง แ ร ง ม า ก ขึ้ น เ ท่ า ไ ร ความเป็นท้องถิ่นยิ่งสาคัญมากขึ้นเท่านั้น มีนักเคลื่อนไหวสรุปว่า “ต้องคิดแบบโลก แต่ทาแบบท้องถิ่น” เป็ น ค าต อ บ ท า ให้ โลก ดีขึ้ น แ ต่ สิ่ง ที่ ต้อง ท าอัน ดับ แรก ไม่ ใช่ ก ารแ ก้ ไข ปั ญ ห า แต่เป็ นการกระตุ้นและส่ง เสริม ให้เกิ ดก ารตอบ ส น องต่ อปัญ ห าท้ อง ถิ่น เห ล่านั้น ก ล่ าว คือ จ ะ ต้อ ง เ ป็ น ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ ร่ ว ม กั น ที่ ม าก ขึ้ น ระ ห ว่ า ง รัฐ ชุ ม ช น และพลเมืองที่ตัดสินใจในเรื่องต่างๆ นิยามใหม่ของการออกแบบ (Redefining Design) บางทีเราต้องลองออกแบบหลายอย่างดูใหม่ หรืออาจต้องหานิยามใหม่ให้การออกแบบ “มันอาจจะเป็นการออกแบบที่ทาให้เราใช้น้อยลง ซึ่งหมายถึงการผลิตและสร้างของเสียน้อยลง” “การออกแบบที่ไม่กระตุ้นให้เกิดการบริโภคมากขึ้น แต่บริโภคที่ฉลาดกว่าเดิม” เ มื่ อ ไ ม่ น า น มี ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ “แ อ ป เ ปิ้ ล ” ไ ด้ เ ป ลี่ ย น นิ ย า ม ข อ ง ก า ร อ อ ก แ บ บ ใ ห้ เ ป็ น ”ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ”ใ ห ม่ ขึ้ น มากกว่าการออกแบบที่คลี่คลายปัญหาหรือตอบสนองสิ่งที่เคยมี * * สิ่ ง ที่ น่ า ส น ใ จ ก็ คื อ ทัศนคติที่อาจพาให้เราหลุดพ้นจากกับดักการบริโภคแบบไม่รับผิดชอบนั้นอาจเป็นทัศนคติแบบอนุรักษ์ นิยม และทัศนคติแบบหัวก้าวหน้าในเวลาเดียวกัน บ าง ที เราอาจต้อง ลอง ออก แบ บ ให ม่ ทั้ง ห ม ด ไม่ว่ าจะ เป็ น สิน ค้า บ ริก าร จนไปถึงการออกแบบสังคมที่ปรารถนา และระบบคุณค่าที่ยกระดับจิตวิญญาณ เงินทองต้องคิด (Redesigning Capital) ยิ่ ง “โ ล ก า ภิ วั ต น์ ” ท า ง า น ม า ก เ ท่ า ไ ร ธนาคารที่ทาหน้าที่เป็นตัวกลางในการระดมทุนยิ่งกลายเป็นกลไกสาคัญที่กระตุ้นให้เกิดการลงทุนและกา รค้าขาย นักบุญผู้เลี่ยงภาษี(Rethinking Inequality)
  • 12. หนึ่งในวิธีการหลบเลี่ยงภาษี ซึ่งเป็นที่นิยมของผู้มีรายได้สูงส่วนใหญ่ ก็คือ “การบริจาค” ไม่ว่าจะเป็ นการบ ริจาคอย่ างถูกกฎ ห มาย ห รือการฟอกเงิน มีเหตุผลห ลาย ป ระการ ไม่ว่ าจะเป็ น ทั ศ นค ติที่ มอ งว่ าระบ บ ภ าษีไม่ เป็ นธรรม ต่อผู้ท าง าน ห นัก มากกว่ า หรือผู้เสียภาษีปราศจากความเชื่อมั่นในการนาภาษีไปใช้จ่ายโดยรัฐ อย่างไรก็ตาม “เสรีภาคและความเสมอภาค” ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกคนเชิดชูว่าต้องเท่ากัน แ ต่ ใ น จิ ต วิ ญ ญ า ณ ก ลั บ ไ ม่ มี ทั้ ง ส อ ง สิ่ ง ค น ร ว ย ต้ อ ง เ สี ย ภ า ษี ส่วนคนจนต้องได้รับผลระทบจากการกระทาของคนรวย เช่นโลกร้อน คนรวยก็จะซื้อแอร์มาใช้ ยิ่งร้อนมากก็ซื้อมากขึ้น ที่แอร์กลับเป็ นสิ่งที่ทาให้ร้อนยิ่งร้อนขึ้น แต่คนเหล่านั้นไม่สนใจ ซึ่งคนที่ได้รับผลกระทบก็คือคนจน ปัญหาโลกแตก (Reidentifying Identity) “ความขัดแย้งทางผลประโยชน์” จ า ก ก า ร ป ร ะ ชุ ม สุ ด ย อ ด สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม โ ล ก ค รั้ ง แ ร ก มาจนถึงการประชุมสุดยอดว่าด้วยการรับมือกับภาวะการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ มีค ว า ม พ ย าย าม ข อ ง ทั่ว ป ร ะเท ศ ใน ก า รรับ มือ กั บ ปั ญ ห า สภ า พ ภู มิอ า ก า ศ ประเทศผู้นาในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างสหรัฐอเมริกาไม่ยอมลงนามในพิธีสารโตเกียวเพราะอ้างว่ า ไ ม่ เ ป็ น ธ ร ร ม เช่นเดียวกับประเทศอินเดียแต่แท้จริงแล้วทุกคนต้องปกป้องผลประโยชน์ของตัวเองมาก่อนการปกป้องโ ลก **หรือบางทีมันอาจจะถึงเวลาแล้วที่จะเหลือแค่ “ความเป็นโลก”หรือ “ความเป็นเรา”**
  • 13. ส่วนที่ 2 การเชื่อมโยงแนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนกับ หนังสือความเป็นโลก X ความเป็นเรา โลกาภิวัตน์ กับ อุดมการณ์ท้องถิ่นนิยม (กลุ่มสตรีเหล็ก) บทที่1 ตลาด (Market) โลกหนึ่งใบและตลาดแห่งเดียว(One World,One Market) ได้กล่าวถึงการพัฒ นาอย่ างยั่งยืนใน ด้านสังค ม คือ การเลือกซื้อสินค้าต่าง ๆ ที่นาเข้ามาจากหลายแห่งที่เป็นที่นิยม มาไว้ในเมืองหลวง ให้คนชาวเมืองเข้าถึงสินค้านั้น เช่น เสื้อผ้ายูนิโคล่,โดนัทชื่อดังจากนิวยอร์กฯ และด้านเศรษฐกิจคือกระเทียมที่นาเข้ามาจากจีนที่มา ตีตลาดการค้ากระเทียมไทย เพราะมีราคาถูก ทาให้คนนิยมมากกว่า ค่าขนส่งที่ถูกเกินจริง(One Planet) ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร พั ฒ น า อ ย่ า ง ยั่ ง ยื น ใ น ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ราค าน้ ามันที่ สูงแต่มีการราย งานที่สว นท าง ว่ าราค าน้ ามันที่ต่ าเกินค ว ามเป็ นจริง ซึ่งมันกระทบ กับการขนส่งที่มีอิทธิพลของยอดการบ ริโภคน้ ามันของชาวอเมริกันมาก จึงมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการบริโภคหรือผลักดันการใช้พลังงานทดแทนอย่างจริงจัง ความหมายของการบริโภค(The Consumer) ไ ด้ ก ล่ า ว ถึ ง ก า ร พั ฒ น า ใ น ด้ า น สั ง ค ม คือการบริโภคที่ตอบสนองความต้องการของมนุษย์และความเสมอภาคในการเป็นพลเมืองที่ดารงชีวิตด้ว ย ทรัพยากรของโลกนี้เท่าๆกัน ภูฏานกับมอนซานโต้(Bhutan VS. Monsanto)
  • 14. ได้กล่าวถึงการพัฒนาอย่ายั่งยืนในด้านสิ่งแวดล้อม ภูฏานในเรื่องการเกษตรออร์แกนิก เปลี่ยนผืนดินให้เป็นพื้นที่การเกษตรปลอดสารเคมีร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ในทางกลับกัน มอนซานโต้ นั้นเป็นบริษัทผู้ผลิตยากาจัดศัตรูพืชและเมล็ดพันธุ์ดัดแปลงพันธุกรรมยักษ์ใหญ่ ของโลก โดยมีการผลิตสินค้าที่อยู่ภายใต้แบรนด์ต่างๆ ความฝันแบบแคลิฟอร์เนีย(California Dream) ได้กล่าวถึงการพัฒนาอย่างยั่งยืนในด้านสังคมแคลิฟอร์เนียเป็นพื้นที่เปิดให้กับความเท่าเทียมกั น ไ ป จ น ถึ ง ก า รเ รีย ก ร้อ ง สิ ท ธิ ข อ ง ช า ว รัก ร่ ว ม เ พ ศ อั น ย า ว น า น ก่ อ น ใค ร จนทาให้มีการยกเลิกการกีดกันการแต่งงานระหว่างคนเพศเดียวกัน อาณานิคมบรรษัท(The corporation) ได้กล่าวถึงการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ บรรษัทเป็นนิติบุคล หมายถึงประเด็นทางกฎหมาย มีความสามารถในการประกอบกิจกรรมต่างๆ ได้ไม่ต่างจากบุคคลทั่วไป ไม่ว่าจะเป็นซื้อ ขาย หรือครอบครองทรัพย์สิน รวมถึงการเสียภาษี ความเป็นท้องถิ่น(Localization) ได้กล่าวถึงการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจ เมื่อมีการผลิตด้วยวัตถุดิบท้องถิ่น ใช้งานจ้างในท้องถิ่น ขายให้คนในท้องถิ่น และมีความจริงใจในการดาเนินธุรกิจ บนพื้นฐานความยั่งยืนของชุมชน การเปลี่ยนผ่าน(Relocalization) ได้กล่าวถึงการพัฒนาในด้านสิ่งแวดล้อมคือแนวคิดเมืองเปลี่ยนผ่านนี้ยังให้ความสาคัญกับการม องปัญ ห าพลังงานให้เป็ นโอกาส มากก ว่าวิก ฤต มีคว ามสามารถในการพึ่งพาตัวเอง และมีชีวิตที่มาขาดแคลน สินค้าที่ดีที่สุด(Buy Local) ได้ก ล่ า ว ถึ ง ก า รพั ฒ น า ใน ด้ า น เ ศ รษ ฐ กิ จ เมื่ อ ซื้ อ ข อ ง ที่ ผ ลิต เ อ ง ใน ท้ อ ง ถิ่ น นั้นคือการกระจายรายได้ให้กับผู้ผลิต ผู้จัดหาวัตถุดิบ เกษตรกร และผู้ให้บริการในท้องถิ่นเองที่สาคัญ เงินที่ใช้จ่ายออกไป มีการหมุนเวียนในท้องถิ่นนั้นต่อไป บทที่ 2 Relationship (ความสัมพันธ์) มีแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในมิติของเศรษฐกิจ คือ สิ่งที่เราผลิตได้ด้วยต้นทุนที่ถูกกว่าคนอื่น และแลกเปลี่ยนสินค้ากับคนที่ทาอย่างอื่นได้ดีกว่า ทาให้เกิดการจัดการทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพสูงสุด พ ลั ง แ ห่ ง โ ล ก า ภิ วั ต น์ คื อ ก า ร เ ข้ า ถึ ง อั น ไ ร้ ขี ด จ า กั ด จึงทาให้เกิดการขยายพื้นที่การค้าอย่างไม่มีที่สิ้นสุดเช่นกัน “ความต้องการ” อันไม่มีที่สิ้นสุดของมนุษย์ ท า ใ ห้ เ กิ ด ก า ร บ ริ โ ภ ค เ กิ น ค ว า ม จ า เ ป็ น การแบ่งงานตามความถนัดดูจะเป็นกุญแจสาคัญในการสร้างเศรษฐกิจละขับเคลื่อนสังคมในยุคอุตสาหกร
  • 15. รม พลังงานเป็ นของถูก ที่โลกจะทาให้กาเนิดเครื่องจักรมากมายเพื่อทดแท นกาลังค น วันที่พลังงานมีราคาแพงขึ้น คือวันที่มนุษย์เริ่มตระหนักว่าพลังงานเป็นทรัพยากรสิ้นเปลือง โลกนี้ถูกแบ่งออกเป็นสองบทบาท คือ ผู้นาและผู้ตาม โลกประชาธิปไตยมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้นา โ ล ก สั ง ค ม นิ ย ม มี ส ห ภ า พ โ ซ เ วี ย ด แ ล ะ จี น เ ป็ น ผู้ น า การตัดสินใจทางการเมืองของประเทศผู้ตามทั้งหลายจึงพึ่งพิงอยู่กับประเทศผู้นาเสียเป็นอันมาก เ ห ตุ ก า ร ณ์ น้ า ท่ ว ม ใ ห ญ่ ใ น ปี 2011 ถูกจัดให้เป็นเหตุการณ์ที่สร้างความเสียหายในทางการเศรษฐกิจที่เลวร้ายที่สุดเป็นอันดับที่สี่ในประวิติศ าสตร์ ผลกระท บ ต่อห่ว งโซ่อุป ทานของโลก โดย เฉพาะในอุตสาห กรรมเกษตร(ข้าว ) อิเล็กท รอนิกส์(ฮ าร์ดดิสก์) และย านย นต์ที่มีป ระเท ศ ไท ย เป็ นฐานการผลิตสาคัญ ป ระเท ศ ที่ได้รับ ผลกระท บ จากเห ตุ ก ารณ์น้ าท่ ว มให ญ่ ในป ระเท ศ ไท ย ก็คือ ญี่ ปุ่ น ซึ่งเป็ นประเทศที่มีการลงทุนท างตรงในประเทศไทยมากที่สุด ในหลายร้อยปีที่ผ่านมา อัตราการเติบโตของผลผลิตในกลุ่มประเทศกาลังพัฒนานั้นอิงอยู่กับอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของก ลุ่มป ระเท ศ ที่พัฒ นาแล้ว ในช่ วงที่ เศ รษฐกิจข อง กลุ่มป ร ะเท ศ พัฒ นาแล้ว เติบ โตสูง เศรษฐกิจของกลุ่มประเทศกาลังพัฒนาก็เติบโตสูง การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค์และอุปทาน ไม่ว่ าจะเกิดขึ้น ณ จุดใดข องโลก ย่ อมส่งผลกระท บ ต่อป ระเท ศ อื่นๆ ไป ตามๆ กัน ท าให้ เ กิ ด ก า รเป ลี่ย น แ ป ลง จา ก ป ระเ ท ศ ที่ ย า ก จ น “พึ่ ง พิ ง ” ป ระ เท ศ ร่ าร ว ย ไปสู่ภาวะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน บทที่ 3 Wisdom - ปัญญา The Collaboration – ผู้สร้างร่วม หัวข้อนี้มีการเชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของมิติเทคโนโลยีในเรื่องการเกิดขึ้น ของ Viki.com ที่ทาให้ผู้ชมชาวโลกสามารถดูละครยอดฮิตได้แทบพร้อมๆกัน โดยรวบรวมรายการทีวี ภาพยนตร์ มิวสิกวิดีโอ ข่าว และ เนื้อหาในรูปแบบอื่นๆ และแปลเป็นภาษาต่างๆมากมาย ในปัจจุบัน Vikiมีเนื้อหาอยู่มากกว่าหนึ่งพันล้านชิ้น มีการร่วมกันแปลเนื้อหาเป็นภาษาต่างๆมากกว่า 150 ภาษา และมีสานัก งานให ญ่ อยู่ ใน สาม ป ระเท ศ คือ สิง ค โป ร์ เกาห ลี และสห รัฐอเม ริก า ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของเทคโนโลยี Life in a Day – ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประชาโลก หัวข้อนี้มีการเชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของมิติเทคโนโลยีและสังคมในเรื่องข องเควิน แมคโดนัลด์ ผู้กากับภาพยนตร์สารคดี Life in a Day ที่มีคนทั้งโลกเป็นผู้สร้างเนื้อหาร่วมกัน โดยการให้ชาวโลกใช้เวลาหนึ่งวันในการถ่ายทาชีวิตของตัวเอง ซึ่งใช้เทคโนโลยีใหม่นาไปสู่วิธีการใหม่ แ ท น ที่ จ ะ ว า ง พ ล็ อ ต เ รื่ อ ง ที่ ต้ อ ง ก า ร แมคโดนัลด์กลับปล่อยให้เนื้อหาที่ได้รับเป็นตัวบอกว่าธีมและโครงสร้างของภาพยนตร์ว่าควรจะเป็นเช่น ไร
  • 16. Collective Intelligence – ประชาธิปไตยมด หัวข้อนี้มีการเชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของมิติสิ่งแวดล้อม ในการทาวิจัย เรื่อ ง ปั ญ ญ า รว ม ห มู่ ( Collective Intelligence) ผ่ าน พ ฤ ติ ก รรม ข อ ง ม ด แ ล ะพ บ ว่ า เมื่ อ ม ด ถู ก บั ง คับ ให้ ย้ าย ที่ อยู่ มัน จ ะใช้ ระบ บ เสีย ง ส่ ว น ให ญ่ ใน ก า รตัด สิน ใจ พฤติกรรมนี้นามาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนของมนุษย์ที่ว่าควรกระจายกาลังของสมองอย่างมีประสิทธิภาพ The Wisdom of Crowds – ฝูงชนแห่งปัญญา หัวข้อนี้มีการเชื่อมโยงกับแนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนในด้านของมิติสังคมเศรษฐกิจ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี โ ด ย มี ห นั ง สื อ The Wisdom of Crowds ที่ แ ส ด ง ให้ เ ห็ น ถึ ง ห ลั ก ฐ า น ท า ง ส ถิ ติ ที่ บ อ ก ว่ า ก า ร ตั ด สิ น ใ จ ร่ ว ม กั น มักจะนามาสู่การตัดสินใจและการคาดการณ์ที่ดีกว่าการตัดสินใจหรือการคาดการณ์ที่มาจากคนๆเดียว ซึ่งสอดคล้องกับมิติด้านสังคม และเมื่อโลกมีอินเทอร์เน็ตที่เร็วขึ้น ฉลาดขึ้น และครอบคลุมมากขึ้น มันก็ได้เชื่ อมโย งทุ กค นเข้าไว้ด้ว ยกัน ซึ่งสอดคล้องกับ มิติด้านสังค มและเท คโนโลยี เมื่อมีเทคโนโลยีมากขึ้นนักวิจัยสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลและกลุ่มตัวอย่างที่กว้างและหลากหลายมากขึ้ น ธุ ร กิ จ ต่ า ง ๆ ก็ ส า ม า ร ถ ห า ตั ว เ ลื อ ก ที่ เ ห ม า ะ ส ม ส า ห รับ แ ต่ ล ะ ง า น รวมถึงการที่รัฐและหน่วยงานด้านสังคมมีผู้ช่วยในกิจกรรมต่างๆมากขึ้นซึ่งสอดคล้องกับมิติด้านเศรษฐกิ จ The Consensus – ประชามติ หัว ข้อนี้มีการเชื่ อมโย ง กับ แนว คิดการพัฒ นาที่ ยั่งยื นในด้านข อง มิติสังค ม ใ น เ รื่ อ ง ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ต น เ อ ง คือจุดเปลี่ย นอันสาคัญ ที่เป็นผลลัพธ์จากการเปิ ดพื้นที่อันไม่จากัดให้กับคว ามเป็ นห มู่ ไม่ ว่ า จ ะ เ ป็ น ก า ร ท า ง า น ร ว ม ห มู่ ปั ญ ญ า ร ว ม ห มู่ จิ ต วิ ญ ญ า ณ ร ว ม ห มู่ ซึ่งหมายถึงระบบการอยู่ร่วมกันแบบไม่ต้องมีลาดับขั้นของการจัดการใดๆทั้งยังปราศจากอคติและความ ลาเอียงทางสถานภาพในการตัดสินใจร่วมกันอีกด้วย บทที่4 Speed : ความเร็ว The Mass Production : โรงงานของโลก แนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนในมิติเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เอื้อให้เกิดการสื่อสารอันมีประสิทธิภาพระหว่างทุกฝ่าย ซึ่ ง ร ะ บ บ QRM มี ข้ อ ไ ด้ เ ป รี ย บ ที่ ส า คั ญ คื อ ทาให้ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนไอเดียในการนาเสนอสินค้าใหม่ออกสู่ตลาดให้เป็นสินค้าบนชึ้นวางได้อย่างรว ดเร็ว รวมถึงความแม่นยาในการผลิตที่สร้างให้เกิดของเสียน้อยลง จึงทาให้ ระยะทาง มีความสาคัญ เ มื่ อ ร ะ บ บ QRM ที่ ถู ก น า ม า ใ ช้ นั้ น ดึ ง ดู ด ผู้ ผ ลิ ต เพื่อแลกกับการประหยัดต้นทุนการผลิตด้วยระยะเวลาระยะเวลาที่เร็วขึ้นในการนาเสนอสินค้าใหม่ The Fast Production : สดจากรันเวย์ แนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนในมิติเศรษฐกิจและสังคม
  • 17. สินค้าหลักที่ออกแบบตามฤดูกาลซึ่งอิงกับเทรนด์การออกแบบจะถูกส่งไปให้ผู้ผลิตในประเทศห่า ง ไ ก ล ที่ มี ต้ น ทุ น ต่ า ใ น ข ณ ะ ที่ สิ น ค้ า แ ฟ ชั่ น จะใช้ผู้ผลิตที่อยู่ในประเทศหรืออยู่ใกล้กว่าเพื่อความรวดเร็วในการผลิตและนาเสนอสินค้าในตลาด ซึ่งการผลิตที่ทั้งประหยัดและรวดเร็วนี้กาลังตอบสนองความต้องการอันไม่สิ้นสุดของผู้บริโภคแบบไม่มีเว ลาหายใจ และนั่นทาให้ตลาดแฟชั่นด่วนเติบโตก้าวกระโดดแบบหยุดไม่อยู่ The Fast Generation : เจเนอเรชั่นนักทิ้ง แนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนในมิติสิ่งแวดล้อมและสังคม เครื่องนุ่งห่มที่ถูกทิ้งเป็นจานวนมหาศาลนี้มีผลิตภัณฑ์ที่ทาจากเส้นใยสังเคราะห์ซึ่งย่อยสลายไม่ ได้อยู่เป็นจานวนมาก ในขณะที่เส้นใยธรรมชาติก็สามารถปล่อยสารมีเทนที่ทาลายสภาพอากาศ ซึ่ ง ก ร ะ บ ว น ก ร ะ ผ ลิ ต ที่ ใ ช้ น้ า จ า น ว น ม ห า ศ า ล เส้นใยโพลีเอสเตอร์ที่นามาใช้อย่างกว้างขวางก็มาจากปิโตรเลียม ที่เป็นทรัพยากรสิ้นเปลือง แ ล ะ ยั ง ป ล่ อ ย ก๊ า ซ ไ ฮ โ ด ร เ จ น ค ล อ ไ ร ด์ อ อ ก สู่ ชั่ น บ ร ร ย า ก า ศ เส้น ใย ไน ล อ น ท า ให้ เ กิ ด ก๊ าซ ไน ต รัส อ อ ก ไซ ด์ ท าให้ ด กิ เ ภ า ว ะ เรือ น ก ร ะจ ก รวมไปถึงปัญหาต้นทุนทางสังคม เช่น การกดขี่ค่าแรงและภาพการทางานที่เลวร้ายในประเทศผู้ผลิต From Fast to Last : รื่นรมย์บนความช้า แนวคิดการพัฒนาที่ยังยืนในมิติสังคมและสิ่งแวดล้อม ส ไ ต ล์ ค ล า ส สิ ก คื อ การออกแบบเสื้อผ้าให้สวมใส่ได้แบบไม่ต้องเปลี่ยนตามเทรนด์กลายเป็นรสนิยมที่ไม่ทาร้ายโลก ส ไ ต ล์ วิ น เ ท จ คื อ การเปลี่ยนเสื้อผ้ามือสองหรือเสื้อผ้าค้างสต๊อกให้กลายเป็นสิ่งเติมเต็มอารมณ์ให้กับคนรุ่นใหม่ แ ถ ม ยั ง ไ ป กั น ด้ ว ย ดี กั บ ก า ร นิ ย ม สิ น ค้ า ท า มื อ ห รื อ ท า ด้ ว ย ตั ว เ อ ง ที่นอกจากเปี่ยมไปด้วยเสน่ห์แล้วยังช่วยชะลอความเร็วในการบริโภคของมนุษย์ การหันกลับไปหาช่างตัดเย็บในท้องถิ่นแทนการเลือกซื้อเสื้อผ้ามาตรฐานตามขนาดต่างๆ ซึ่งรวมไปจนถึงการซ่อมแซมหรือการนาเอาเสื้อผ้าเก่ามาทาใหม่ ในแบบที่เรียกว่า อัพไซเคิล บทที่ 5 Place (ถิ่น) มี แ น ว คิ ด ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ใ น มิ ติ ข อ ง สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม คื อ การใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นสาหรับคนในยุคก่อน เป็นเพียงความสมเหตุสมผลทางด้านเศรษฐศาสตร์ แต่พอมาถึงวันนี้กลับเป็นความกลมกลืนกับพื้นที่ราวกับหลอมรวมอัจฉริยภาพของธรรมชาติและมนุษย์เ ข้าด้ว ย กันอาทิเช่ นสถาปัตย ก รรมสไต ล์กัสโช ซึคุริพ บ เห็นได้ใน “ชิราค าว าโกะ ” เป็นบ้านไม้ที่สร้างให้มีหลังคาสูงและมีความชัน 60 องศา มีความหนาถึงหนึ่งเมตร นั่นหมายความว่า ในช่วงหิมะตกห นัก มันจะไหลลงมาตามความลาดเอียงโดย ไม่กองท่วมอยู่บ นหลังค า ท า ใ ห้ ห ลั ง ค า ไ ม่ ต้ อ ง แ บ ก น้ า ห นั ก หิ ม ะ จ า น ว น ม า ก