SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
โครงงาน
เรื่อง Education Inter
จัดทาโดย
นางสาววณิชยา ประพันธุ์ เลขที่ 11
นางสาวมุกอาภา แม้นจิตต์ เลขที่ 18
นางสาวศรัณย์พร รุ่งเรือง เลขที่ 19
นางสาวธณาภา ศรีวลีรัตน์ เลขที่ 22
นางสาวธันย์ชนก หงษ์โต เลขที่ 37
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2
เสนอ
ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม
รายวิชา IS2
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
ก
คานา
ปัจจุบันโลกเรามีระบบการศึกษาในแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันไปตามแต่สภาพ
ทางภูมิศาสตร์ อากาศ สังคม และวัฒนธรรมแต่ละประเทศมีโครงสร้างที่แตกต่าง โครงงานเล่มนี้จะ
ช่วยให้เข้าใจระบบการศึกษาของประเทศต่างๆได้ เช่น ประเทศไทย ประเทศเกาหลี ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศสิงคโปร์ แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ ผลิตเยาวชนให้มีความรู้เพื่อพัฒนาประเทศโครงงานเล่มนี้ให้
ช่วยให้เห็นถึงความแตกต่างของระบบการศึกษา วิธีการเรียนของประเทศต่างๆ และผู้อ่านก็สามารถ
นาวิธีการเรียนที่คิดว่าดีมาปรับใช้ในการเรียนของตนเองได้ หากโครงงานเล่มนี้ผิดพลาดประการใด
คณะผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
ข
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง Education Inter จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากครูที่
ปรึกษาโครงงานได้แก่ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะแนวทางในการศึกษา
และแนะนาขั้นตอนวิธีการจัดทาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
ขอขอบคุณพี่สาวของ นางสาวศรัณย์พร รุ่งเรือง ที่ให้การช่วยเหลือหาแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม
ที่เป็นประโยชน์และมีผลแก่โครงงานเรื่องนี้
ขอขอบคุณเพื่อนประเทศเกาหลีของ นางสาวมุกอาภา แม้นจิตต์ ที่ได้ให้การช่วยเหลือเรื่อง
การให้ข้อมูลวิธีการเรียนของนักเรียนประเทศเกาหลี
ขอกราบขอบคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน และขอบคุณสมาชิกใน
กลุ่มทุกคนที่ร่วมมือกันทาโครงงานครั้งนี้อย่างเต็มที่จนกระทั่งประสบความสาเร็จคณะผู้จัดทา
โครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
ค
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญรูปภาพ ง
สารบัญตาราง จ
บทที่ 1 บทนา 1
1.1 ที่มาและความสาคัญ 1
1.2 การบูรนาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2
1.3 จุดประสงค์ของการทาโครงงาน 2
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
1.5 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้าโครงงาน 3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4-21
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 22
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 23-24
บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน 25
บรรณานุกรม 26-27
ภาคผนวก 28
ง
สารบัญภาพ
ภาพ หน้า
ภาพที่ 2.1 รูปเปรียบเทียบเวลาของแต่ละประเทศ 9
ภาพที่ 2.2 รูปตารางเรียนของเด็กเกาหลี ในวันจันทร์ 18
ภาพที่ 2.3 รูปตารางเรียนของเด็กเกาหลี ในวันเสาร์ 18
ภาคผนวก
ภาพที่ 1 รูปการประชุมวางแผนการทางาน 28
ภาพที่ 2 รูปสมาชิกทุกคนช่วยกันค้นหาข้อมูลในการทาโครงงานจากอินเทอร์เน็ต 28
จ
สารบัญตาราง
ตาราง หน้า
ตารางที่ 3.1 วิธีดาเนินงาน 22
ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงข้อเกี่ยวกับการศึกษาและวิธีการเรียนของประเทศที่ศึกษา 23
ตารางที่ 4.2 ข้อมูลแสดงผลคะแนนสอบ PISA เฉลี่ย 4 ปีที่ผ่านมา 24
1
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
จากผลงานการสารวจเกี่ยวกับเรื่องการศึกษาพบว่าคนส่วนใหญ่คิดว่า การศึกษาเป็ น
กระบวนการสร้างและพัฒนาประชากรของประเทศให้มีพลังมีความสามารถที่จะพัฒนาประเทศชาติ
ให้เจริญก้าวหน้าอย่างมีสันติสุข การศึกษาจึงเป็นเครื่องมือในการพัฒนาประชากรและประเทศชาติ
และการที่จะดาเนินไปได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพจะต้องอาศัยกระบวนการศึกษาที่ได้รับการ
พัฒนา การศึกษามีส่วนสาคัญและจาเป็นในการพัฒนาประเทศให้รุ่งเรืองทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็น
การถ่ายทอดวัฒนธรรมและสร้างภูมิปัญญาให้แก่สังคมคนส่วนใหญ่จึงให้ความสาคัญแก่การศึกษา
ซึ่งในประเทศไทยให้ความสาคัญกับระบบการศึกษาโดยการศึกษามีความสาคัญต่อการพัฒนา
ประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะการศึกษาเปรียบประดุจเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของคน ซึ่งหาก
สังคมหรือประเทศใดประชาชนโดยเฉลี่ยมีการศึกษาอยู่ในระดับต่าสังคมหรือประเทศนั้นก็จะด้อย
การพัฒนากว่าสังคมหรือประเทศที่ประชาชนโดยเฉลี่ยมีการศึกษาอยู่ในระดับสูง
ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงอยากจะทราบถึงระบบการศึกษาของประเทศต่างๆที่มีระบบ
การศึกษาที่ดี และแตกต่างกัน เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ และ ไทย เพื่อจะได้ทราบว่าแต่ละ
ประเทศมีการเรียนการสอนอย่างไรบ้าง และนามาเป็นแนวทางมาปรับใช้ในชีวิตประจาวันของ
ตนเองได้อย่างถูกต้อง
2
1.2 การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ก. ความพอประมาณ คือ เราควรจัดหาเนื้อหาที่จะนามาทาโครงงานให้มีปริมาณไม่มากหรือ
น้อยจนเกินไป และควรจัดสรรข้อมูลที่นามาศึกษาให้มีความพอดีและเหมาะสมกับโครงงานที่ทา
ข. ความมีเหตุผล คือ เราควรศึกษาหาข้อมูลและคัดเลือกข้อมูลมาจากหลายๆแหล่งความรู้ซึ่ง
เราควรศึกษาข้อมูลที่จะนามาใส่ในโครงงานให้ข้อมูลมีความเหมาะสมกับโครงงานที่เราศึกษาให้มาก
ที่สุด และเราควรพิจารณาเนื้อหาที่จะนามาศึกษาอย่างรอบคอบและมีวิจารญาณ
ค. การมีภูมิคุ้มกันที่ดี คือ ศึกษาข้อมูลจากแหล่งความรู้ที่มีความหลากหลาย เพื่อให้ข้อมูลที่
นามาศึกษามีความถูกต้องมากขึ้น และเราควรคัดลอกข้อมูลเก็บไว้หลายๆที่ เพื่อถ้าข้อมูลหายเราจะ
ได้มีข้อมูลสารองเก็บไว้ในการทาโครงงานต่อไป
ง. เงื่อนไข
เงื่อนไขความรู้ คือ เราควรนาความรู้หรือโครงงานที่เราจัดทาขึ้นมาเผยแพร่ออกสู่สังคม
เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษาโครงงานที่เราจัดทาขึ้น ซึ่งโครงงานที่เราจัดทาขึ้นยังเป็นการสร้าง
ฐานความรู้การศึกษาที่ถูกต้องให้กับผู้ที่สนใจเรื่องการศึกษาได้อีกด้วย
เงื่อนไขคุณธรรม คือ โครงงานของเราเป็นโครงงานที่ช่วยในการส่งเสริมด้านการศึกษา และ
มีส่วนช่วยในการกระตุ้นให้ผู้ที่ศึกษาโครงงานของเราหันมาสนใจเกี่ยวกับ เรื่องการศึกษาที่อยู่ใกล้ตัว
กับทุกคนมากขึ้นได้อีกด้วย
1.3 จุดประสงค์ของการทาโครงงาน
1. เพื่อเปรียบเทียบวิธีการศึกษาของนักเรียนในการเรียนของประเทศที่ศึกษา
2. เพื่อนาวิธีการเรียนของประเทศที่ศึกษามาเป็นแนวทางในการนามาประยุกต์ใช้กับตนเอง
และผู้ที่สนใจ
3
1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รู้ถึงศักยภาพของผู้เรียนในประเทศที่ศึกษาว่าประเทศใดมี ศักยภาพดีที่สุด
2. ได้นาความรู้และวิธีการเรียนมาเป็นแนวในการนามาประยุกต์ใช้กับตัวเองได้
1.5 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้าโครงงาน
ศึกษาการเรียนของนักเรียนใน 4 ประเทศ ได้ ประเทศเกาหลี ญี่ปุ่น สิงคโปร์ และ
ประเทศไทยเท่านั้น
4
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
2.1 ความหมายและแนวคิดของระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาหมายถึง การกาหนดหลักสูตร จุดมุ่งหมาย แนวนโยบาย ระบบการจัด และ
แนวทางในการจัดการศึกษา เพื่อให้การศึกษาช่วยพัฒนาชีวิตของคนไปในแนวทางที่พึงประสงค์
การศึกษาเป็นกระบวนการสร้างและพัฒนาประชากรของประเทศให้มีพลัง มีความสามารถ
ที่จะพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าอย่างมีสันติสุข การศึกษาจึงเป็นเครื่องมือพัฒนาพัฒนา
ประชากรและประเทศชาติ และการที่จะดาเนินไปได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพจะต้องอาศัย
กระบวนการศึกษาที่ได้รับการพัฒนามีดีแล้ว
การศึกษามีส่วนสาคัญและจาเป็นในการพัฒนาประเทศให้รุ่งเรืองทั้งทางด้านเศรษฐกิจ
สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์เป็นการถ่ายทอดวัฒนธรรม และสร้างภูมิปัญญาให้แก่สังคม
ระบบการศึกษาที่มีประสิทธิภาพต้องมีเนื้อหาสาระและกระบวนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ มีหลักการที่ดี และจาเป็นต้องอาศัยการบริหารที่กระจายอานาจให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
และชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมให้มากที่สุด
ระบบการศึกษาได้รับการพัฒนามาตลอด แต่ยังไม่สามารถบรรลุผลตามที่กาหนดไว้เท่าใด
นัก เพราะยังมีปัญหาด้านคุณภาพของผลผลิต ด้านการกระจายโอกาสทางการศึกษา ด้านการบริหาร
การศึกษา และด้านการระดมสรรพกาลังเพื่อจัดการศึกษา
ความจาเป็นในการปรับปรุงระบบการศึกษาให้สอดคล้องกับเงื่อนไข และการเปลี่ยนแปลง
ด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมอย่างเป็นระยะๆ เป็นสิ่งที่ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องตระหนัก ทั้งนี้เพื่อให้
สามารถพัฒนาประเทศได้อย่างเหมาะสมกับสภาพ และความต้องการของประเทศในอนาคต
ดังนั้น การพัฒนาพลเมืองของประเทศให้เป็นผู้มีปัญญา มีคุณธรรม มีความสามารถพื้นฐาน
หรือศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองและสังคมต่อไป กอปรทั้งให้ความสามารถประกอบอาชีพหรือเป็น
แรงงานสาหรับพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจาเป็นต้องอาศัยกระบวนการศึกษาที่ดี
ระบบการศึกษาที่ดีจะต้องมีความยืดหยุ่น ให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสนใจ ความพร้อม ได้
อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาและตลอดชีวิต มีเครือข่ายการเรียนรู้ที่สามารถถ่ายทอดความรู้ประเภทต่างๆ
5
จากแหล่งต่างๆ ไปยังผู้เรียนได้อย่างต่อเนื่องโดยอาศัยทั้งระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน และถึง
ระบบโรงเรียน
2.2 การสอบPISA (Programme for International Student Assessment)
PISA (Programme for International Student Assessment) เป็นโครงการประเมินผลผู้เรียน
นานาชาติ ริเริ่มโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ OECD (Organisation for
Economic Co-operation and Development) ซึ่งมีการดาเนินการมาจั้งแต่ปี 1999 หรือ พ.ศ.2541 โดยมี
ประเทศสมาชิกเข้าร่วมจากทั่วโลก 65 ประเทศ โดยมีประเทศเขตเศรษฐกิจเอเชียที่เข้าร่วมอันได้แก่
ฮ่องกง ไทเป เซี่ยงไฮ้ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ไทย และในปี 2012 ได้มีการเพิ่มประเทศ
มาเลเซีย และเวียดนาม มาเป็นประเทศสมาชิก OECD PISA ประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อเปรียบเทียบ
ศักยภาพในการแข่งขันของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สาหรับระดับนานาชาติ ดาเนินการ
โดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจและมีหน่วยงานต่างๆร่วมดาเนินการ ใน
ประเทศไทยมีสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นผู้ดาเนินงานวิจัย
และเป็นศูนย์ประสานงานระดับชาติ PISA จะประเมินให้กับประเทศสมาชิกขององค์การเพื่อความ
ร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจรวมทั้งประเทศอื่นๆที่ต้องการเข้าร่วมการประเมิน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000
(พ.ศ.2543) ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ PISA เริ่มการประเมิน
PISA ประเมินคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกและประเทศที่เข้าร่วมโครงการ โดย
การศึกษาว่าระบบการศึกษาของแต่ละประเทศได้เตรียมความพร้อมให้กับประชาชนสาหรับการใช้
ชีวิต และการมีส่วนร่วมในสังคมในอนาคตเพียงพอหรือไม่ PISA ไม่เน้นการประเมินความรู้ของ
ผู้เรียนที่กาลังเรียนอยู่ในห้องเรียนโดยตรง แต่เน้นการประเมินสมรรถนะของผู้เรียนในการใช้ความรู้
และทักษะที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริงสาหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการใช้ชีวิตในสังคมยุคใหม่ เพื่อ
การศึกษาต่อในระดับสูง การงานอาชีพ และการดาเนินชีวิต ซึ่ง PISA เรียกว่า การรู้เรื่อง (Literacy)
โดยมีการประเมินการรู้เรื่องใน 3 ด้าน คือ
6
2.2.1 การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy)
2.2.2 การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematics Literacy)
2.2.3 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy)
PISA จะประเมินผู้เรียนทุกๆ 3 ปี โดยหนึ่งรอบของการประเมินจะใช้เวลารวม 9 ปี การ
ประเมินแต่ละครั้งจะครอบคลุมการเรียนรู้ใน 3 ด้านข้างต้น ซึ่งเน้นการให้น้าหนักการประเมินแต่ละ
ด้านแตกต่างกัน การประเมินของ PISA ปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) และปี ค.ศ. 2009 (พ.ศ. 2552) เน้น
การรู้เรื่องการอ่าน ปี ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) และปี ค.ศ. 2012 (พ.ศ. 2555) เน้นการรู้เรื่องคณิตศาสตร์
ส่วนปี ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) และ ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) เน้นการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ในด้านที่
เน้นจะมีน้าหนักการประเมินร้อยละ 60 และส่วนที่เหลือจะมีน้าหนักการประเมินแต่ละด้านประมาณ
ร้อยละ 20
2.3 การศึกษาของประเทศไทย
ระบบการศึกษาไทย ปัจจุบันตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษา
ขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น)
หรือระบบ 6-3-3
นอกจากนั้นระบบการศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอก
ระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติฉบับนี้
จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจากการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่า
การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน
หรือรูปแบบของการเรียนการสอนที่ภาษาอังกฤษใช้คาว่า "Modes of learning" ฉะนั้น แนวทางใหม่
คือสถานศึกษาสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรู้ทั้ง 3 รูปแบบ โดย
พระราชบัญญัติการศึกษาฯ มาตรา 15 กล่าวว่าการจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ
การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ
7
2.3.1 การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร
ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน
2.3.2 การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ
วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการ
สาเร็จการศึกษาโดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ
ต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม
2.3.3 การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ
ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือ
แหล่งความรู้อื่นๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการ
เทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผล
การเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึก
อาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางานการสอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ
การศึกษาในระบบมีสองระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา
2.3.3.1 การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปี ก่อน
ระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวง การแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้
เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
2.3.3.2 การศึกษาในระบบที่เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็นสามระดับ
- การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่มีอายุ 3 – 6 ปี
- การศึกษาระดับประถมศึกษา โดยปกติใช้เวลาเรียน 6 ปี
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็นสองระดับ ดังนี้
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี
- การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็นสองประเภทดังนี้
8
ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อใน
ระดับอุดมศึกษา
ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการ
ประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป
2.3.4 การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญาและระดับ
ปริญญา การใช้คาว่า "อุดมศึกษา" แทนคาว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุม
การศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว
ทั้งนี้การศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปีโดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้น
พื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหกเว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับหลักเกณฑ์และ
วิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง
การศึกษาภาคบังคับนั้นต่างจากการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่บังคับให้ประชาชน
ต้องเข้าเรียนแต่เป็นสิทธิ์ของคนไทย ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นการบังคับให้เข้าเรียนถือเป็นหน้าที่
ของพลเมืองตามมาตรา 69 ของรัฐธรรมนูญ
2.3.5 วิธีการศึกษาของเด็กไทย
เรียนตั้งแต่ 8 โมงครึ่ง ถึง 4 โมงเย็น มีกิจกรรม และเรียนพิเศษ กว่าจะกลับบ้านก็ทุ่มสองทุ่ม
พ่อแม่ไม่ทันได้เห็นหน้าลูก ก็ต้องเข้าห้องไปนอนแล้ว...ว่ากันว่า เรียนหนักที่สุด ก็คือ อายุ 11 ปี หรือ
ประมาณ ป.5 นั่นเอง โดยมีชั่วโมงเรียนถึง 1,200 ชั่วโมงต่อปี ในขณะที่ประเทศอื่นๆ เรียนกัน
ประมาณ 1,000 ชั่วโมง และในบางประเทศก็ไม่ถึง 1,000 ชั่วโมงด้วยซ้า ลองไปดูกราฟข้อมูลนี้กัน
9
ภาพที่ 2.1 รูปเปรียบเทียบเวลาของแต่ละประเทศ
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/vcafe/203742
ผลของการเรียนหนัก ในแง่หนึ่งมันก็มีข้อดี ที่ช่วยเคี่ยวเข็ญให้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยได้ แต่
ลึกๆ แล้วคงเครียดกันน่าดู เรียนอาทิตย์ละ 5 วัน วันละ 8 ชั่วโมง กลับไปยังเจอการบ้าน และสอบกัน
รายเดือน ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่มีคุณหมอสาขากุมารแพทย์ได้ให้ความเห็นว่าควรปรับลด เวลาเรียน
ของเด็กไทยลง เพราะการสอนที่อัดแน่นเกินไปจะปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์
ดร.ปรีชา เมธาวัสรภาคย์ ผอ.สานักวิจัยเอแบคโพล สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
เปิดเผยว่า เอแบคโพล ร่วมกับ สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ทา
การสารวจเรื่อง เด็กและเยาวชนไทยอยากเห็นอะไรที่เปลี่ยนแปลงจากการศึกษาไทย โดยสารวจเด็ก
และเยาวชนอายุ 14-18 ปี ใน 17 จังหวัดทั่วประเทศ จานวน 4,255 คน ระหว่างวันที่ 1-15เม.ย.2557
ผลปรากฏว่า ร้อยละ 58.9 เห็นว่าโอกาสและมาตรฐานทางการศึกษาของไทยไม่เท่าเทียมกัน ร้อยละ
58.7 เห็นว่าเด็กไทยเรียนหนักมากที่สุดในโลก แต่ไม่สามารถนาความรู้ในห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ได้
ร้อยละ 54.8 เด็กไทยไม่ได้เรียนในสิ่งที่อยากเรียน ร้อยละ 53.1 เห็นว่าการเรียนการสอนเริ่มต้นจาก
ความรู้ในหนังสือและจบลงที่ข้อสอบ ร้อยละ 30.7 ระบุว่าความรู้ที่ใช้สอบได้จากการเรียนกวดวิชา
10
ร้อยละ 25.0 อยากถามครูเกี่ยวกับวิธีการสอนของครู เช่น ทาไมครูไม่หาวิธีการสอนที่สนุก และไม่น่า
เบื่อ, ทาไมสอนต้องอ่านตามหนังสือ ทาไมสอนในห้องเรียนไม่รู้เรื่อง แต่สอนพิเศษรู้เรื่อง เป็นต้น
2.3.8 แนวทางการศึกษาของประเทศไทย
เน้นให้เด็กนักเรียนเรียนสายวิทย์– คณิต มากว่าการเรียนสายอาชีพและสายศิลป์ เพื่อให้เด็ก
นักเรียนจบออกมาได้ทางานรับราชการมากว่าการทาอาชีพบริษัทหรือทางานในเอกชน และมุ่งให้เด็ก
นักเรียนส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีเป็นอย่างน้อย
2.4 การศึกษาของประเทศญี่ปุ่ น
ระบบศึกษาของญี่ปุ่น สังคมญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก เด็กๆจะได้รับ
การศึกษาใน 3 ทาง ได้แก่ เรียนโรงเรียนรัฐบาลสาหรับการศึกษาภาคบังคับ เรียนโรงเรียนเอกชน
สาหรับการศึกษาภาคบังคับ หรือ เรียนโรงเรียนเอกชนที่ไม่ได้ยึดมาตรฐานของกระทรวงการศึกษา
วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (MEXT) แม้ว่าการเรียนในชั้นมัธยมปลาย จะไม่เป็น
การศึกษาภาคบังคับ ประชาชนมากกว่า 90% ก็เข้าเรียนในชั้นมัธยมปลาย นักเรียนมากกว่า 2.5 ล้าน
คนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ในอดีต กระบวนการคัดเลือกเพื่อเรียนในชั้นสูงขึ้น ถูกมอง
ว่า "โหด" หรือ "ราวกับสงคราม" แต่ด้วยจานวนของเด็กญี่ปุ่นที่มีอัตราการเกิดน้อยลง กระแสนี้ก็
เปลี่ยนไปในทางอื่น ปัจจุบันโรงเรียนต่างแข่งขันกันเองเพื่อรับนักเรียน เด็กๆจานวนมากถูกส่งไปยัง
จุกุ (โรงเรียนกวดวิชา) นอกเหนือจากการเรียนในโรงเรียน
การศึกษาในสังคมญี่ปุ่น วัฒนธรรมญี่ปุ่นสอนให้เคารพต่อสังคมและมีการสร้างแรงจูงใจให้
อยู่รวมเป็นกลุ่มโดยให้รางวัลเป็นกลุ่มมากกว่าจะให้รางวัลเป็นบุคคลการศึกษาของญี่ปุ่นเน้นหนักใน
เรื่องความขยัน การตาหนิตนเอง และอุปนิสัยการเรียนรู้ที่ดี ชาวญี่ปุ่นถูกปลูกฝังว่าการทางานหนัก
และความขยันหมั่นเพียรจะทาให้ประสบความสาเร็จในชีวิต โรงเรียนจึงอุทิศให้กับการสอนทัศนคติ
คุณธรรม จริยธรรมให้กับนักเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อมเพื่อที่จะพัฒนาอุปนิสัยและมีเป้ าหมายการ
สร้างประชากรที่สามารถอ่านออกเขียนได้และปรับตัวให้เข้ากับค่านิยมและวัฒนธรรมของสังคมได้
11
ความสาเร็จทางการศึกษาของญี่ปุ่นอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับมาตรฐานสากล ในการสอบ
วัดความรู้ด้านคณิตศาสตร์นานาชาติ เด็กญี่ปุ่นถูกจัดให้อยู่ในอันดับต้นๆมาโดยตลอด ระบบนี้เป็นผล
มาจากการสมัครเข้าเรียนสูง ตลอดจนอัตราการรับ ระบบการสอบเข้า (การสอบเอนทรานซ์)
โดยเฉพาะในระดับมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลต่อการศึกษาทั้งระบบเป็นอย่างมาก รัฐบาลไม่ได้เป็น
ผู้สนับสนุนทางการศึกษาแต่เพียงผู้เดียว โรงเรียนเอกชนก็มีบทบาทสาคัญในด้านการศึกษา รวมถึง
โรงเรียนที่อยู่นอกระบบเช่นวิทยาลัยของเอกชน ก็มีบทบาทสาคัญในการศึกษาและเป็นส่วนมากใน
การศึกษา
เด็กๆส่วนใหญ่จะเข้าโรงเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล แม้ว่าจะไม่ใช่ส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาก็
ตาม ระบบการศึกษาเป็นภาคบังคับ เลือกโรงเรียนได้อิสระและให้การศึกษาที่พอเหมาะแก่เด็กๆทุก
คนตั้งแต่ เกรด 1 (เทียบเท่า ป.1) จนถึง เกรด 9 (เทียบเท่า ม.3) ส่วนเกรด 10 ถึงเกรด 12 (ม.4 - 6) นั้น
ไม่บังคับ แต่ 94% ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมต้น เข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมปลาย ประมาณ 1 ใน 3 ของ
นักเรียนที่จบชั้นมัธยมปลายเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย 4 ปี junior colleges 2 ปี หรือเรียนต่อที่
สถาบันอื่นๆ
ญี่ปุ่นเป็นสังคมที่ให้ความสาคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก และเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย
การศึกษาเป็นสิ่งที่น่าเคารพยกย่อง และความสาเร็จเป็นเงื่อนไขสาคัญสาหรับการประสบความสาเร็จ
ในงานและในสังคม ทุกวันนี้ มุมมองแตกต่างออกไป โรงเรียนต่างแข่งขันกันเพื่อรับนักเรียน การ
สอบเอนทรานซ์กลายเป็นสิ่งที่ stolid in an attempt to maintain operations ทุกวันนี้ โรงเรียนรับ
นักเรียนในอัตราต่ากว่าที่รับได้มาก ถือเป็นปัญหาด้านงบประมาณขั้นรุนแรง โรงเรียนถูกสร้างเพื่อรับ
นักเรียน 1,000 คน แต่กลับรับนักเรียนเพียง 1 ใน 3 ของจานวนที่รับได้ แต่นี้ไม่ได้ทาให้จานวน
นักเรียนในแต่ละห้องน้อยลง ห้องเรียนส่วนใหญ่มีนักเรียนอยู่ระหว่าง 35 - 45 คน
2.4.1 การศึกษาชั้นประถมและชั้นมัธยม
- ชั้นประถม ( 小学校 โชกักโก ): 6 ปี, อายุ 6–12 ปี
ปีการศึกษาจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป การเรียนจะ
แบ่งเป็น 3 เทอม โดยมีช่วงปิดเทอม ในสมัยก่อน เด็กญี่ปุ่นจะต้องเรียนที่โรงเรียนตั้งแต่วันจันทร์ถึง
12
ศุกร์เต็มวัน และเรียนวันเสาร์อีกครึ่งวัน สิ่งเหล่านี้หมดไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 อย่างไรก็ตาม ครูหลาย
คนยังสอนในช่วงสุดสัปดาห์รวมถึงวันหยุดภาคฤดูร้อนซึ่งมักจะเป็นเดือนสิงหาคมกฎหมาย
กาหนดให้หนึ่งปีการศึกษามีการเรียนอย่างน้อย 210 วัน แต่โรงเรียนส่วนมากมักจะเพิ่มอีก 30 วัน
สาหรับเทศกาลของโรงเรียน การแข่งขันกีฬา และพิธีที่ไม่เกี่ยวกับการเรียน โดยเฉพาะการสนับสนุน
ให้ร่วมมือกันทางานเป็นกลุ่มและสปิริตของโรงเรียน จานวนวันที่มีการเรียนการสอนจึงเหลืออยู่
ประมาณ 195 วัน
ชาวญี่ปุ่นมีความเชื่อในเรื่องของการศึกษาว่า เด็กๆทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ ความ
พยายาม ความพากเพียร และการมีระเบียบวินัยต่อตนเองต่างหาก ที่เป็นตัวกาหนดความสาเร็จทาง
การศึกษา ไม่ใช่ความสามารถทางการเรียน การศึกษาและพฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถฝึกอบรมได้
ดังนั้น นักเรียนในชั้นประถมและชั้นมัธยมต้นจึงไม่ได้ถูกแบ่งกลุ่มหรือสอนตามความสามารถของ
แต่ละคน การสอนจะไม่ถูกปรับให้เหมาะสมกับความแตกต่างของบุคคล
หลักสูตรการศึกษาแห่งชาติกาหนดให้นักเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่พอเหมาะ และ
การเรียนภาคบังคับถือเป็นการปฏิบัติต่อนักเรียนด้วยความเสมอภาค มีการกระจายงบประมาณไป
ตามโรงเรียนต่างๆอย่างเท่าเทียมกัน อย่างไรก็ตาม การที่หลักสูตรกาหนดเช่นนี้ส่งผลให้ขาดความ
ยืดหยุ่น รวมถึงความสอดคล้องกันของพฤติกรรม ความพยายามเพียงน้อยนิดที่จะกระตุ้นนักเรียนให้
มีความสนใจพิเศษ การปฏิรูปการศึกษาในปลายทศวรรษที่ 198 มีเป้ าหมายเพื่อเน้นในเรื่องความ
ยืดหยุ่น ความคิดสร้างสรรค์ และการเพิ่มโอกาสให้นักเรียนได้แสดงออกในสิ่งที่ตนเองชอบ แต่
กระนั้นความพยายามก็บังเกิดผลเพียงน้อยนิด การคิดเชิงวิพากษ์ไม่ถือเป็นสิ่งที่มีคุณค่าในระบบ
การศึกษาญี่ปุ่น นักเรียนจะถูกสอนให้จาเนื้อหาที่พวกเขาต้องใช้สอบ ผลการเรียนที่สูงจึงไม่ได้ชี้วัด
หรือสะท้อนความสามารถที่แท้จริงของนักเรียน
ปัญหาที่มีมาโดยตลอดคือ ความคิดเกี่ยวกับการ"กด"นักเรียนที่ทาตัวโดดเด่นในห้องเรียน
เนื่องจากนักเรียนจะถูกจากัดให้ทาเกรดในแต่ละวิชา จึงไม่มีความต้องการรับนักเรียนที่มี
ความสามารถเป็นเลิศหรือนักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียน เช่น นักเรียนที่เกิดในประเทศที่
พูดภาษาอังกฤษเป็นหลัก ก็ยังต้องเรียนวิชาภาษาอังกฤษในระดับชั้นที่เขาเรียน เช่นเดียวกับนักเรียน
ชั้นมัธยม 3 ที่ยังไม่ได้เรียนวิชาคณิตศาสตร์ปีแรก เขาจะต้องเข้าเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับที่เกิน
13
กว่าความสามารถของเขา นักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียนจะถูกจัดให้เรียนในชั้นเรียนปกติ
ซึ่งครูไม่ได้รับการฝึกมาเป็นพิเศษสาหรับการสอนพวกเขา ไม่มีวิธีแก้ไขหรือมีชั้นเรียนพิเศษสาหรับ
ความต้องการของนักเรียนแต่ละคน
เป็นที่น่าสังเกตว่า ปัญหาเหล่านี้ทาให้ผู้ปกครองบางคนปฏิเสธที่จะยอมรับว่าบุตรหลานของ
ตนมีความต้องการพิเศษ เทียบกับในสหรัฐอเมริกา หลายเขตในญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีการเรียนการสอน
พิเศษสาหรับนักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียนรู้ขั้นรุนแรง ในกรณีนี้ นักเรียนแต่ละคนจะมีครู
หรือผู้ดูแลคอยช่วยเหลือพวกเขา ขณะที่โรงเรียนเหล่านี้มีบริการพิเศษสาหรับคนกลุ่มน้อย
adult service กาลังจะหายไปอย่างช้าๆเพราะการตัดงบประมาณ
มีข้อยกเว้นสาหรับการศึกษาภาคบังคับ นักเรียนที่พ่อแม่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่น เช่น ลูกของผู้ใช้
แรงงานที่อพยพเข้ามา ก็สามารถเข้าเรียนในโรงเรียนได้ แม้จะไม่ได้บังคับก็ตาม ซึ่งในกรณีนี้ ความ
รับผิดชอบสาหรับการสอนภาษาให้กับนักเรียนกลุ่มนี้จะตกอยู่กับโรงเรียนซึ่งมักจะไม่สามารถ
จัดการเรียนการสอนตามภาษาของนักเรียนได้ยิ่งกว่านั้น การสอนจะไม่ถูกปรับให้เหมาะสมกับความ
แตกต่างของแต่ละคน ลูกของผู้ใช้แรงงานที่ไม่สามารถใช้ภาษาได้ดีแทบจะไม่ประสบความสาเร็จใน
โรงเรียนของญี่ปุ่น แม้แต่ผู้ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ พวกเขาก็ต้องเจอกับการแบ่งแยก ด้วยเหตุนี้ นักเรียนที่
ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นมักจะมีชื่อภาษาญี่ปุ่น และบางครั้งก็ถูกบีบบังคับให้ซ่อนความเป็นตัวของตัวเองไม่ให้
ผู้อื่นเห็นแม้แต่เพื่อนสนิทของเขาเอง อย่างไรก็ตาม มีความเข้าใจผิดว่านักเรียนที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นจะไม่
สามารถเข้าร่วมการประกวดสุนทรพจน์ หรือโปรแกรมแลกเปลี่ยนต่างประเทศได้ แม้ว่านักเรียนที่
เติบโตในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นหลักมักจะถูกกีดกันไม่ให้เข้าร่วมประกวดสุนทรพจน์ แต่เชื้อ
ชาติก็ไม่ได้เป็นปัจจัย ตัวอย่างเช่น ในโตเกียว นักเรียนชาวจีนและชาวเกาหลีก็เข้าร่วมการประกวด
สุนทรพจน์ และโปรแกรมแลกเปลี่ยนต่างประเทศ
นักเรียนที่เรียนในการศึกษาภาคบังคับจะได้รับตาราเรียนฟรี คณะบริหารของโรงเรียนเป็นผู้
เลือกตาราเรียนทุกๆสามปีโดยเลือกจากรายชื่อหนังสือที่กระทรวงการศึกษาได้รับรองแล้วหรือ
หนังสือที่กระทรวงจัดทาขึ้นเองกระทรวงจะเป็นผู้รับภาระค่าตาราทั้งในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียน
เอกชน ตาราเรียนมีขนาดเล็ก ใช้ปกอ่อนหุ้ม สามารถพกพาได้โดยง่าย และถือเป็นสมบัติของนักเรียน
14
โรงเรียนส่วนใหญ่จะมีระบบดูแลด้านสุขภาพมีสิ่งของด้านการศึกษาและกีฬาอยู่พอประมาณ
โรงเรียนประถมส่วนใหญ่มีสนามเด็กเล่นกลางแจ้ง ประมาณร้อยละ 90 มีโรงยิม และ 75% มีสระว่าย
น้ากลางแจ้ง ห้องเรียนส่วนมากยังขาดแคลนคอมพิวเตอร์และเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ การเรียนการ
สอนและโครงงานของนักเรียนมักไม่ใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย อินเทอร์เน็ตยังไม่ถูกนามาใช้ประโยชน์
ทางด้านการศึกษามากนัก
ตั้งแต่ประถมจนถึงมัธยม นักเรียนจะต้องอยู่ในกลุ่มโฮมรูมของตน หมายความว่า พวกเขา
จะต้องทางานกับนักเรียนที่อยู่ในโฮมรูมเดียวกันตลอดทั้งปี โฮมรูมและหลักสูตรการศึกษาญี่ปุ่น
ปลูกฝังเรื่องการทางานเป็นกลุ่มและความภาคภูมิใจในโรงเรียนของตน โรงเรียนที่ญี่ปุ่นมีนักการภาร
โรงที่ทางานด้านความสะอาดอยู่น้อยมาก
2.4.2 วิธีการเรียนของเด็กญี่ปุ่น
การเรียนการสอน
- มักจะเน้นการเรียนนอกห้องเรียน เพื่อเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง
- ในการเรียนภาษาญี่ปุ่น เด็กจะลุกขึ้นมาอ่านคนละประโยคเอง ไม่มีการชี้หรือบังคับ
- การเรียนมักจะปล่อยให้เด็กได้ทาอะไรได้อย่างอิสระ เรียนด้วยความสุข สนุก
- ครูจะไม่มีการดุ หรือต่อว่านักเรียนที่คุยกันในห้องเรียน เด็กนักเรียนจะมีความตั้งใจใน
การเรียน แย่งกันตอบ แข่งขันกันอย่างเต็มที่ เด็กที่ตอบจะได้ติดป้ ายชื่อขึ้นบนกระดาน
- วิชาดนตรีทาให้เด็กๆ มีจิตใจที่อ่อนโยน โรงเรียนก็จะจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาดนตรี
- ครูจะให้เด็กเป็นคนคิดเอง ว่าจะต้องทาอะไร ตัดสินใจเองว่า เรื่องนี้ควรทา เรื่องนั้นต้อง
ทาอย่างไร
ก่อนจะเลิกเรียน
- จะมีการประชุมกัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ผ่านมา 1วัน สิ่งที่ดี ที่เพื่อนทาให้ ก็
จะมีการชมเชย สิ่งใดที่ผิดพลาด ก็จะนากลับไปแก้ไข คุณครูก็จะช่วยสรุปว่า ให้เด็กทุก
คน ทาดีทุกวัน
15
- ก่อนกลับบ้านก็จะมีเสียงตามสาย จากนักเรียนรุ่นพี่ จะกล่าวคาลาลา และย้าเตือนว่าเรื่อง
ของพรุ่งนี้ อย่าลืมทาตามเป้ าหมายที่ตั้งใจไว้อย่าลืมของ และดูแลรักษาสุขภาพตนเอง
2.4.3 แนวทางการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น
เด็กญี่ปุ่นเรียนหนักแข่งขันกันเองสูง การได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยที่ดีมีชื่อเสียงคือความ
ต้องการของนักเรียนและผู้ปกครองจานวนมาก การเรียนกวดวิชาเพื่อเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงจึง
เป็นความจาเป็น
2.5 การศึกษาของประเทศเกาหลี
ระบบการศึกษาของเกาหลีใต้ จัดตามข้อกาหนดของกฎหมายการศึกษาซึ่งประกาศใช้เมื่อปี
ค.ศ. 1949 กาหนดให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิได้รับการศึกษาตามความสามารถ โดยเด็กทุกคนต้อง
ได้รับการศึกษาในระดับประถมศึกษาเป็นอย่างน้อย ซึ่งรัฐจัดให้ฟรี ระบบการศึกษาของเกาหลีใต้เป็น
ระบบ 6 – 3 – 3 – 4 คือ ชั้นประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี
และวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย 4 ปี กฎหมายการศึกษาได้กาหนดวันเวลาการเรียนใน 1 รอบปี
การศึกษาของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายเท่ากับ 220 วัน ระดับ
วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเท่ากับ 32 สัปดาห์ ภาคเรียนมี 2 ภาค ภาคต้นเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ถึง 31
สิงหาคม ภาคเรียนที่ 2 เริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน ถึง สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ระบบการศึกษาของเกาหลี
จัดแยกได้เป็น 3 ประเภท คือ
2.5.1 การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานมี 3 ระดับคือ อนุบาลศึกษาหรือก่อน
ประถมศึกษา ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา
2.5.2 การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาของเกาหลีระดับอุดมศึกษา แบ่ง
สถาบันการศึกษาออกเป็น 5 ประเภท คือ วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยหลักสูตร 4 ปี (ซึ่งรวมทั้ง
มหาวิทยาลัยเปิด) วิทยาลัยครู วิทยาลัยอาชีวศึกษา โพลีเทคนิคและโรงเรียนพิเศษ (miscellaneous
schools) โดยสถาบันทั้งหมดสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ แต่ละประเภทมีลักษณะดังนี้คือ
2.5.3 วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย หลักสูตรปริญญาตรีจะมีหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 140 หน่วยกิต
ในมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งอาจจะมีบัณฑิตวิทยาลัยที่เปิดสอนถึงปริญญาโทและเอก ได้ปัจจุบัน
มหาวิทยาลัยพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงการบริหารวิชาการโดยพยายามรวมภาควิชาที่มีลักษณะ
ใกล้เคียงกันให้อยู่เป็นภาค วิชาเดียวกัน เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันผลิตบัณฑิตและเป็นการลด
พรมแดนการแบ่งแยกภาควิชาไปในตัว
16
ในส่วนของมหาวิทยาลัยเปิด (Korea National Open University) มีต้นกาเนิดมาจาก
มหาวิทยาลัยทางอากาศเกาหลี ที่มีฐานะเป็นสถาบันสมทบกับมหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล ในปี 1972
มุ่งเน้นการสอนในด้านอาชีวศึกษา และปรับมาเป็นมหาวิทยาลัยเปิดแห่งชาติเกาหลีในปี 1994
รัฐจะกาหนดเกณฑ์มาตรฐานเป็นบรรทัดฐานเพื่อการรับรองคุณภาพมหาวิทยาลัย ซึ่ง
มาตรฐานจะแตกต่างไปตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย ปัจจุบันรัฐอนุญาตให้ตั้งมหาวิทยาลัยในระดับ
จังหวัดได้เพื่อให้เกิดมหาวิทยาลัยขนาดเล็กที่สามารถตอบสนองชุมชนหรือความต้องการของ สาขา
วิชาชีพซึ่งเป็นแนวคิด ที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งของระบบการศึกษาของเกาหลี แต่มหาวิทยาลัย
ก็ต้องมีการประเมินตนเองเป็นประจาทุกปี ในแง่ของการประเมินจากองค์กรภายนอกจะดูที่คุณภาพ
ของงานวิจัยและจานวนผู้จบการศึกษาปัจจุบันมีองค์กรอิสระที่ไม่ขึ้นต่อรัฐทาหน้าที่ประเมินเพื่อการ
รับรองคุณภาพของมหาวิทยาลัยในเกาหลี องค์กรนี้เรียกว่า สภาการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยเกาหลี
(Korea Council for University Education – KCUE) เป็นองค์กรที่ได้รับการยอมรับจาก
กระทรวงศึกษาธิการ วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยโดยทั่วไป
2.5.4 สถาบันผลิตครู มี 2 รูปแบบ คือ วิทยาลัยครูและวิทยาลัยวิชาการศึกษา 
วิทยาลัยครู
ผลิตครูเพื่อไปสอนระดับประถมศึกษาผู้ที่เรียนจบจะได้รับปริญญาบัตรและประกาศนียบัตรการสอน
ประถมศึกษา นักเรียนที่เข้าเรียนจะเป็นนักเรียนทุนได้รับการยกเว้นค่าลงทะเบียนและค่าสอน แต่เมื่อ
จบแล้วต้องไปเป็นครูในโรงเรียนประถมศึกษาอย่างน้อย 4 ปี ส่วนวิทยาลัยวิชาการศึกษา ใช้หลักสูตร
4 ปี เช่นกันเพื่อผลิตครูระดับมัธยมศึกษา นอกจากนั้นยังมีมหาวิทยาลัยทางการศึกษาชื่อว่า Korea
National University of Education ตั้งขึ้นในปี 1985 เพื่อผลิตครูชั้นนาที่สามารถสอนและวิจัย เกี่ยวกับ
การศึกษาในระดับอนุบาล ประถมและมัธยมได้รวมทั้งสร้างบุคลากรที่จะเป็นหัวหอกของการปฏิรูป
การศึกษา ตลอดจนการเน้นบทบาทด้านการฝึกอบรมครูและวิจัยทางการศึกษา
2.5.5 วิทยาลัยอาชีวศึกษา 
เป็นสถาบันที่สอน 2-3 ปี หลังระดับมัธยมศึกษา สาขาวิชาที่ยอด
นิยมคือ วิศวกรรม เทคโนโลยี และพยาบาล
2.5.6 โพลีเทคนิคหรือมหาวิทยาลัยเปิดทางอุตสาหกรรม (Open Industrial University)

สถาบันนี้มุ่งให้การศึกษาทางอาชีวะแก่ผู้ใหญ่ที่กาลังทางานและประสงค์จะเรียนในระดับอุดมศึกษา
2.5.7 โรงเรียนเสริมพิเศษ (Miscellaneous school) เป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อเปิดสอนสาขาวิชา
ที่ไม่ได้เปิดสอนในวิทยาลัยโดยปกติทั่วไป สถาบันจึงมีขนาดเล็กกว่าวิทยาลัยแต่ก็เปิดสอนหลักสูตร
4 ปีเช่นกันในบางแห่ง เมื่อจบแล้วผู้เรียนจะได้รับวุฒิบัตรและประกาศนียบัตร มีศักดิ์และสิทธิ์เท่ากับ
วิทยาลัยอื่น ถ้าสถาบันที่จบได้รับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการ
2.5.8 ระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่ เป็นการจัดการศึกษาโดยสร้างระบบการศึกษาใหม่
(New Education System) เพื่อมุ่งสู่ ยุคสารสนเทศและโลกาภิวัตน์โดยเป้ าหมายสูงสุดของระบบ
17
การศึกษาของเกาหลียุคใหม่ คือความเป็นรัฐสวัสดิการทางการศึกษา สร้างสังคมการศึกษาแบบเปิด
และตลอดชีวิต ทาให้ชาวเกาหลีทุกคนสามารถใช้ประโยชน์จากการศึกษาได้ทุกเวลาและทุกสถานที่
รัฐปรับโครงสร้างระบบการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและเทคนิค นาเยาวชนเข้าสู่ชีวิตยุคสารสนเทศมี
เสรีภาพที่จะถ่ายโอนการเรียน สามารถถ่ายโอนหน่วยกิตข้ามโรงเรียนหรือข้ามสถาบันการศึกษา
ตลอดจนข้ามสาขาวิชาได้ ณ วันนี้ระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่ ได้ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียน จัด
ให้มีโรงเรียนและการศึกษาเฉพาะทางหลายรูปแบบ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถหาความรู้
พัฒนาตนเองตามความสนใจ โรงเรียนมีอานาจในการบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนและ
ผู้ปกครองมากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่และอุปกรณ์ในระบบมัลติมีเดียช่วยให้บุคคล
ศึกษาหาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา รวมทั้งจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาวิชาชีพในยุค
เทคโนโลยีสารสนเทศ
กล่าวโดยสรุป เกาหลีได้สร้างระบบการศึกษาสมัยใหม่ ที่มุ่งพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศเพื่อ
การเป็นสังคมแห่งความรู้ (Knowledge-based Society) สร้างสภาวะแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการ
เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้คนเกาหลีมีความรู้ ความสามารถ มีความทันสมัย และที่สาคัญคือมี
จริยธรรม แต่ยังคงความเป็นเลิศด้านการศึกษาและดารงมาตรฐานของระบบการศึกษาของเกาหลีได้
อีกด้วย
2.5.9 วิธีการเรียนของเด็กเกาหลี
- เด็ก (วัยรุ่น) นักเรียนเกาหลีแทบทุกคนต้องเรียนพิเศษ การเรียนพิเศษเลิก 4 ทุ่มทุกวัน ถือ
เป็นเรื่องธรรมดา ช่วงสอบ ปลายภาคอาจมีคอร์สพิเศษเปิดสอนถึงตี 2 โดยเฉพาะวิชาเลขเป็นวิชาที่
วัยรุ่น เกาหลีทุ่มเทมาก
- นักเรียนเกาหลีเวลาเรียนเสร็จมักจะจดโน้ตย่อเอาไว้อ่านเวลาสอบ
- ตารางเรียนของนักเรียนเกาหลี เช่นดังตารางต่อไปนี้
18
ภาพที่ 2.2 รูปตารางเรียนของเด็กเกาหลี ในวันจันทร์
ที่มา : http://www.dek-d.com/studyabroad/26296/
ภาพที่ 2.3 รูปรูปตารางเรียนของเด็กเกาหลี ในวันเสาร์
ที่มา : http://www.dek-d.com/studyabroad/26296/
2.5.10 แนวทางการศึกษาของประเทศเกาหลี
เป้าหมายการศึกษาต้องเป็นที่ 1 ให้ได้ ต้องเอาชนะประเทศเพื่อนบ้านให้ได้ มีหลักสูตร
กิจกรรมบริการสาธารณะให้นักเรียนได้ดูแลชุมชนด้วย ปีละ 10-20 คาบ สิ่งที่น่าเรียนแบบคือ ความ
ทุ่มเท มุ่งมั่น และการนานวัตกรรมมาช่วยสอน
19
2.6 การศึกษาของประเทศสิงคโปร์
ระบบการศึกษาของสิงคโปร์ สิงคโปร์มีระบบการศึกษาที่เป็นเลิศประเทศหนึ่งของโลกทุก
โรงเรียนควบคุมโดยกระทรวงศึกษาธิการโดยตรงระบบการศึกษาของสิงคโปร์แบ่งเป็นชั้น
ประถมศึกษาใช้ระยะเวลา 6 ปี และมัธยมศึกษาใช้ระยะเวลา 4 ปี จากนั้น ต่อด้วยการเรียนในระดับสูง
ขึ้น เช่น โปลีเทคนิค จูเนียร์คอลเลจ และมหาวิทยาลัย และการที่จะได้คัดเลือกเข้าเรียนที่โรงเรียน
สิงคโปร์นั้น นักเรียนจาเป็นจะต้องทาการสอบเพื่อประเมินผลโดยการสอบเข้าโรงเรียนนั้น นักเรียน
จาเป็นต้องสอบภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ เป็นวิชาหลัก และอาจมีการทดสอบภาษาจีน ขึ้นอยู่กับ
โรงเรียนที่นักเรียนต้องการสอบเข้า และสาหรับนักเรียนต่างชาติที่มีความประสงค์จะเข้าศึกษาต่อใน
ประเทศสิงคโปร์จาเป็นต้องเสียค่าบารุงการศึกษา (Donations) ให้กับ กระทรวงศึกษาธิการของ
สิงคโปร์เป็นจานวนเงิน $ 1,000 ทุก ๆ 2 ปีสาหรับเงินบริจาคนี้ไม่สามารถขอคืนได้
ประเทศสิงคโปร์มีค่าใช้จ่ายถูกกว่าประเทศอื่น เช่น ออสเตรเลีย อเมริกา อังกฤษทั้งด้านการ
เรียน และ ค่าที่อยู่อาศัย ค่าตั๋วเครื่องบิน และยังสะดวกในการเดินทาง เนื่องจาก ประเทศสิงคโปร์อยู่
ใกล้กับประเทศไทย โดยใช้ระยะเวลาการบินเพียง 2 ชั่วโมงเท่านั้น และนอกจากนี้ การที่ได้ไปศึกษา
ที่ประเทศสิงคโปร์ นักเรียนยังได้เรียนรู้ถึง 2 ภาษา ซึ้งมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก และสามารถเลือก
ภาษาจีน,ภาษามาเลย์และทมิฬภาษาใดภาษานึ่งเป็นภาษารอง
2.6.1 การศึกษาในระดับประถมศึกษา (Primary Schools) ระบบการศึกษาในระดับ
ประถมศึกษาที่สิงคโปร์นั้นจะแบ่งการสอนออกเป็น 2 ช่วง คือ เช้า และบ่าย การรับสมัครนักเรียน
ใหม่จะขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละโรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–4 (fouryear foundation
stage) จะเน้นการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน (แมนดาริน) หรือภาษาทมิฬ, คณิตศาสตร์ และ
วิชาอื่น ๆ เช่น ศิลปะ ดนตรี พลศึกษา ในการเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 -6 (Two-year orientation
stage) นักเรียนจะถูกแบ่งออกเป็น 3ระดับ จากผลการสอบของ ประถมศึกษาปีที่ 4 คือ EM1 EM2
EM3 โดยลักษณะการเรียนของวิชาภาษาอังกฤษ และภาษาแม่นั้นจะต่างกันนักเรียนจะต้องสอบวัด
ระดับเมื่อจบ ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียกกันว่า Primary School Leaving Examination (PSLE).เพื่อวัด
ระดับว่านักเรียนจะต้องเรียนในชั้นมัธยมเป็นระยะเวลา 4 ปี หรือ 5 ปี
20
2.6.2 การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา (Secondary School) โรงเรียนมัธยมศึกษาในสิงคโปร์
จะแบ่งออกเป็น 2 ระบบและจะมีหลักสูตรแตกต่างกันไปทั้งนี้ นักเรียนจะถูกเลือกให้อยู่ระบบใด
ระบบหนึ่งนั้นขึ้นอยู่กับผลการสอบ PSLE ของนักเรียนแต่ละคน ระบบที่ใช้ระยะเวลา 4 ปี จะเรียกว่า
Special and Express Courses ซึ้งการเรียนการสอนนั้นจะเน้นการเตรียมตัวให้นักเรียนสอบ The
Singapore-Cambridge General Certificate of Education “Ordinary” (GCE ‘O’) ตอนจบมัธยมศึกษา
ปีที่ 4 และ ระบบที่ใช้ระยะเวลา 5 ปี คือ Normal Course แบ่งการเรียนการสอนเป็น Academic และ
Technical และเมื่อนักเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 4 นักเรียนจะต้องสอบ Singapore-Cambridge General
Certificate of Education “Normal”(GCE ‘N’)
สาหรับนักเรียนที่สอบได้คะแนนดี สามารถเรียนต่อ มัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อสอบ GCE ‘O’
ต่อไป แต่สาหรับนักเรียนที่สอบได้คะแนน GCE ‘N’ ไม่ดี ก็สามารถเรียนต่อในทางด้านเทคนิค ITE.
หลังจากนักเรียน จบการศึกษาในระดับมัธยมนักเรียนสามารถที่จะเลือกเรียนในขั้นอุดมศึกษาต่อไป
เตรียมเข้ามหาวิทยาลัย (Junior College หรือ Pre University)สาหรับนักเรียนที่ได้ผ่านการ
ทดสอบ GCE ‘O’ Level เรียบร้อยแล้วและมีความประสงค์ที่จะเลือกเรียนต่อที่ Junior College ใช้
ระยะเวลา 2 ปี หรือ หลักสูตรเตรียมเข้ามหาวิทยาลัย (Pre-university) ใช้ระยะเวลา 3 ปี เพื่อการ
เตรียมพร้อมสอบ GCE ‘A’ Level เมื่อสอบผ่านนักเรียนถึงจะสามารถเข้าเรียนต่อในระดับชั้น
มหาวิทยาลัย หรือสามารถสมัครเรียนที่มหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ทั่วโลก สาหรับนักเรียนที่สอบไม่ผ่าน
GCE ‘A’ Level ก็สามารถที่จะเลือกเรียนต่อโปลีเทคนิค
2.6.3 โปลีเทคนิค (Polytechnics) เป็นโรงเรียนเปิดสอนหลักสูตรวิชาชีพโดยมีสาขาให้
เลือกมากมายอาทิเช่น วิศวกรรม, ธุรกิจ, สื่อสารมวลชน ฯลฯ สาหรับนักเรียนที่สาเร็จการศึกษาแล้ว
สามารถจบออกมาทางานได้เลย โดยหลักสูตรนี้จะใช้เวลาเรียน 3 ปี
2.6.4 การศึกษาสาหรับสาขาวิชาช่าง Institutes of Technical Education (ITE) เป็นโรงเรียน
เปิดสอนหลักสูตรสาขาวิชาช่าง โดยเฉพาะผู้ที่ต้องการเพิ่มทักษะทางด้านการปฏิบัติและวิชาการ และ
สาหรับนักเรียนที่มีเกณฑ์คะแนนดี สามารถเลือกที่จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนโปลีเทคนิค หรือ
มหาวิทยาลัยแล้วแต่ความประสงค์
21
ปีการศึกษาของสิงคโปร์จะแบ่งออกเป็น 4 ภาคเรียน ภาคเรียนละ 10 สัปดาห์ เริ่มเปิด
การศึกษาตั้งแต่วันที่ 2 มกราคมของทุกปี ช่วงระหว่างภาคเรียนที่ 1 กับที่ 2 และที่ 3 กับที่ 4 จะมีการ
หยุด 1 สัปดาห์ ระหว่างภาคเรียนที่ 2 กับที่ 3 หยุด 4 สัปดาห์ และมีช่วงหยุด 6 สัปดาห์ เมื่อสิ้นสุดปี
การศึกษา
2.6.5 วิธีการเรียนของเด็กสิงคโปร์
- จดบันทึกข้อมูลที่เรียนอย่างเป็นระบบ อย่างเป็นขั้นตอน
- เด็กแต่ละคนมีการจัดตารางในการเรียนในแต่ละวันของตนเอง
- มีการแบ่งเวลาในการเรียนอย่างถูกต้อง
- ในการเรียนใช้ความเข้าใจมากกว่าการท่องจา
- อ่านหนังสือทุกวันวันละ 1-2 ชั่วโมงก่อนเข้านอน
- มีความรับผิดชอบในตนเองในเรื่องการเรียน
- การเรียนไม่แต่เรียนในห้องเรียนเท่านั้นแต่มักออกไปเรียนรู้สิ่งต่างๆนอกห้องเรียน
มากกว่า
2.6.6 แนวทางการศึกษาของประเทศสิงคโปร์
การศึกษาขั้นพื้นฐานของสิงคโปร์ทุกช่วงชั้นมีความหมายต่อเด็กมาก เด็กรู้ว่าตนเอง
อยากทาอาชีพอะไรตั้งแต่ในระดับมัธยมศึกษาแล้ว เด็กได้เรียนรู้จากการกระทาได้ฝึกปฏิบัติจริง ได้
เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันกับคนทั่วโลก มองทั่วโลกคือบ้านและสถานที่ทางานของตน
22
บทที่ 3
วิธการดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์
1. กระดาษ
2. ปากกา
3. อินเทอร์เน็ต
4. คอมพิวเตอร์
วิธีการดาเนินงาน
ตารางที่ 3.1 วิธีดาเนินงาน
การดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงาน
ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ
1. จับกลุ่ม หาสมาชิกในกลุ่ม 
2. ปรึกษาหาโครงงานที่จะทา 
3. ค้นหาข้อมูลต่างๆ เกี่ยวโครงงาน  
4. นาเรื่องที่จะทาโครงงานไปปรึกษาครู 
5. จัดทาโครงงานตามแผนที่วางไว้  
7. สรุปผลการดาเนินงาน 
8. จัดทาสื่อการเรียนรู้เพื่อนามาเผยแพร่ 
9. นาข้อมูลของโครงงานมาเผยแพร่ 
โครงงานEducation inter
โครงงานEducation inter
โครงงานEducation inter
โครงงานEducation inter
โครงงานEducation inter
โครงงานEducation inter
โครงงานEducation inter
โครงงานEducation inter

More Related Content

What's hot

การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนaeimzaza aeimzaza
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันพัน พัน
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางNampeung Kero
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการkrupeem
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนBangk Thitisak
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยPrachyanun Nilsook
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

ปก
ปกปก
ปก
 
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝัน
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...แผ่นพับIs...
แผ่นพับIs...
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อนเรื่อง ภาวะโลกร้อน
เรื่อง ภาวะโลกร้อน
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัยการเขียนบทสรุปงานวิจัย
การเขียนบทสรุปงานวิจัย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 

Similar to โครงงานEducation inter

การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21Yai Muay
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1khuwawa
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้Alisa Samansri
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptxสื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptxWarapornMingkwan1
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...Oui Nuchanart
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบChalermpon Dondee
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1pui003
 

Similar to โครงงานEducation inter (20)

Education Inter
Education InterEducation Inter
Education Inter
 
Education inter
Education interEducation inter
Education inter
 
Education inter
Education interEducation inter
Education inter
 
บทที่ 1 Education Inter
บทที่  1  Education Interบทที่  1  Education Inter
บทที่ 1 Education Inter
 
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
การปฏ ร ปการศ_กษาไทยในศตวรรษท__ 21
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
R บทที่ 1
R บทที่  1R บทที่  1
R บทที่ 1
 
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้บทที่ 1 นายต้นพิมให้
บทที่ 1 นายต้นพิมให้
 
ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57ชื่อโครงการ 57
ชื่อโครงการ 57
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptxสื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
สื่อ-ความหมาย ความสำคัญ.pptx
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 
กฏหมาย
กฏหมายกฏหมาย
กฏหมาย
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โครงงานEducation inter

  • 1. โครงงาน เรื่อง Education Inter จัดทาโดย นางสาววณิชยา ประพันธุ์ เลขที่ 11 นางสาวมุกอาภา แม้นจิตต์ เลขที่ 18 นางสาวศรัณย์พร รุ่งเรือง เลขที่ 19 นางสาวธณาภา ศรีวลีรัตน์ เลขที่ 22 นางสาวธันย์ชนก หงษ์โต เลขที่ 37 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2 เสนอ ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม รายวิชา IS2 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
  • 2. ก คานา ปัจจุบันโลกเรามีระบบการศึกษาในแต่ละประเทศมีความแตกต่างกันไปตามแต่สภาพ ทางภูมิศาสตร์ อากาศ สังคม และวัฒนธรรมแต่ละประเทศมีโครงสร้างที่แตกต่าง โครงงานเล่มนี้จะ ช่วยให้เข้าใจระบบการศึกษาของประเทศต่างๆได้ เช่น ประเทศไทย ประเทศเกาหลี ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ แต่สิ่งที่เหมือนกันคือ ผลิตเยาวชนให้มีความรู้เพื่อพัฒนาประเทศโครงงานเล่มนี้ให้ ช่วยให้เห็นถึงความแตกต่างของระบบการศึกษา วิธีการเรียนของประเทศต่างๆ และผู้อ่านก็สามารถ นาวิธีการเรียนที่คิดว่าดีมาปรับใช้ในการเรียนของตนเองได้ หากโครงงานเล่มนี้ผิดพลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 3. ข กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง Education Inter จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากครูที่ ปรึกษาโครงงานได้แก่ครูทรงศักดิ์ โพธิ์เอี่ยม ที่ได้ให้คาปรึกษา แนะนา ชี้แนะแนวทางในการศึกษา และแนะนาขั้นตอนวิธีการจัดทาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ขอขอบคุณพี่สาวของ นางสาวศรัณย์พร รุ่งเรือง ที่ให้การช่วยเหลือหาแหล่งข้อมูลเพิ่มเติม ที่เป็นประโยชน์และมีผลแก่โครงงานเรื่องนี้ ขอขอบคุณเพื่อนประเทศเกาหลีของ นางสาวมุกอาภา แม้นจิตต์ ที่ได้ให้การช่วยเหลือเรื่อง การให้ข้อมูลวิธีการเรียนของนักเรียนประเทศเกาหลี ขอกราบขอบคุณ บิดา มารดา ที่ให้กาลังใจในการศึกษาเล่าเรียน และขอบคุณสมาชิกใน กลุ่มทุกคนที่ร่วมมือกันทาโครงงานครั้งนี้อย่างเต็มที่จนกระทั่งประสบความสาเร็จคณะผู้จัดทา โครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. ค สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญรูปภาพ ง สารบัญตาราง จ บทที่ 1 บทนา 1 1.1 ที่มาและความสาคัญ 1 1.2 การบูรนาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 1.3 จุดประสงค์ของการทาโครงงาน 2 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 1.5 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้าโครงงาน 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4-21 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน 22 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 23-24 บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงาน 25 บรรณานุกรม 26-27 ภาคผนวก 28
  • 5. ง สารบัญภาพ ภาพ หน้า ภาพที่ 2.1 รูปเปรียบเทียบเวลาของแต่ละประเทศ 9 ภาพที่ 2.2 รูปตารางเรียนของเด็กเกาหลี ในวันจันทร์ 18 ภาพที่ 2.3 รูปตารางเรียนของเด็กเกาหลี ในวันเสาร์ 18 ภาคผนวก ภาพที่ 1 รูปการประชุมวางแผนการทางาน 28 ภาพที่ 2 รูปสมาชิกทุกคนช่วยกันค้นหาข้อมูลในการทาโครงงานจากอินเทอร์เน็ต 28
  • 6. จ สารบัญตาราง ตาราง หน้า ตารางที่ 3.1 วิธีดาเนินงาน 22 ตารางที่ 4.1 ตารางแสดงข้อเกี่ยวกับการศึกษาและวิธีการเรียนของประเทศที่ศึกษา 23 ตารางที่ 4.2 ข้อมูลแสดงผลคะแนนสอบ PISA เฉลี่ย 4 ปีที่ผ่านมา 24
  • 7. 1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ จากผลงานการสารวจเกี่ยวกับเรื่องการศึกษาพบว่าคนส่วนใหญ่คิดว่า การศึกษาเป็ น กระบวนการสร้างและพัฒนาประชากรของประเทศให้มีพลังมีความสามารถที่จะพัฒนาประเทศชาติ ให้เจริญก้าวหน้าอย่างมีสันติสุข การศึกษาจึงเป็นเครื่องมือในการพัฒนาประชากรและประเทศชาติ และการที่จะดาเนินไปได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพจะต้องอาศัยกระบวนการศึกษาที่ได้รับการ พัฒนา การศึกษามีส่วนสาคัญและจาเป็นในการพัฒนาประเทศให้รุ่งเรืองทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็น การถ่ายทอดวัฒนธรรมและสร้างภูมิปัญญาให้แก่สังคมคนส่วนใหญ่จึงให้ความสาคัญแก่การศึกษา ซึ่งในประเทศไทยให้ความสาคัญกับระบบการศึกษาโดยการศึกษามีความสาคัญต่อการพัฒนา ประเทศเป็นอย่างยิ่ง เพราะการศึกษาเปรียบประดุจเครื่องมือในการพัฒนาคุณภาพของคน ซึ่งหาก สังคมหรือประเทศใดประชาชนโดยเฉลี่ยมีการศึกษาอยู่ในระดับต่าสังคมหรือประเทศนั้นก็จะด้อย การพัฒนากว่าสังคมหรือประเทศที่ประชาชนโดยเฉลี่ยมีการศึกษาอยู่ในระดับสูง ดังนั้นกลุ่มของข้าพเจ้าจึงอยากจะทราบถึงระบบการศึกษาของประเทศต่างๆที่มีระบบ การศึกษาที่ดี และแตกต่างกัน เช่น ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ และ ไทย เพื่อจะได้ทราบว่าแต่ละ ประเทศมีการเรียนการสอนอย่างไรบ้าง และนามาเป็นแนวทางมาปรับใช้ในชีวิตประจาวันของ ตนเองได้อย่างถูกต้อง
  • 8. 2 1.2 การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก. ความพอประมาณ คือ เราควรจัดหาเนื้อหาที่จะนามาทาโครงงานให้มีปริมาณไม่มากหรือ น้อยจนเกินไป และควรจัดสรรข้อมูลที่นามาศึกษาให้มีความพอดีและเหมาะสมกับโครงงานที่ทา ข. ความมีเหตุผล คือ เราควรศึกษาหาข้อมูลและคัดเลือกข้อมูลมาจากหลายๆแหล่งความรู้ซึ่ง เราควรศึกษาข้อมูลที่จะนามาใส่ในโครงงานให้ข้อมูลมีความเหมาะสมกับโครงงานที่เราศึกษาให้มาก ที่สุด และเราควรพิจารณาเนื้อหาที่จะนามาศึกษาอย่างรอบคอบและมีวิจารญาณ ค. การมีภูมิคุ้มกันที่ดี คือ ศึกษาข้อมูลจากแหล่งความรู้ที่มีความหลากหลาย เพื่อให้ข้อมูลที่ นามาศึกษามีความถูกต้องมากขึ้น และเราควรคัดลอกข้อมูลเก็บไว้หลายๆที่ เพื่อถ้าข้อมูลหายเราจะ ได้มีข้อมูลสารองเก็บไว้ในการทาโครงงานต่อไป ง. เงื่อนไข เงื่อนไขความรู้ คือ เราควรนาความรู้หรือโครงงานที่เราจัดทาขึ้นมาเผยแพร่ออกสู่สังคม เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้เข้ามาศึกษาโครงงานที่เราจัดทาขึ้น ซึ่งโครงงานที่เราจัดทาขึ้นยังเป็นการสร้าง ฐานความรู้การศึกษาที่ถูกต้องให้กับผู้ที่สนใจเรื่องการศึกษาได้อีกด้วย เงื่อนไขคุณธรรม คือ โครงงานของเราเป็นโครงงานที่ช่วยในการส่งเสริมด้านการศึกษา และ มีส่วนช่วยในการกระตุ้นให้ผู้ที่ศึกษาโครงงานของเราหันมาสนใจเกี่ยวกับ เรื่องการศึกษาที่อยู่ใกล้ตัว กับทุกคนมากขึ้นได้อีกด้วย 1.3 จุดประสงค์ของการทาโครงงาน 1. เพื่อเปรียบเทียบวิธีการศึกษาของนักเรียนในการเรียนของประเทศที่ศึกษา 2. เพื่อนาวิธีการเรียนของประเทศที่ศึกษามาเป็นแนวทางในการนามาประยุกต์ใช้กับตนเอง และผู้ที่สนใจ
  • 9. 3 1.4 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รู้ถึงศักยภาพของผู้เรียนในประเทศที่ศึกษาว่าประเทศใดมี ศักยภาพดีที่สุด 2. ได้นาความรู้และวิธีการเรียนมาเป็นแนวในการนามาประยุกต์ใช้กับตัวเองได้ 1.5 ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้าโครงงาน ศึกษาการเรียนของนักเรียนใน 4 ประเทศ ได้ ประเทศเกาหลี ญี่ปุ่น สิงคโปร์ และ ประเทศไทยเท่านั้น
  • 10. 4 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.1 ความหมายและแนวคิดของระบบการศึกษา ระบบการศึกษาหมายถึง การกาหนดหลักสูตร จุดมุ่งหมาย แนวนโยบาย ระบบการจัด และ แนวทางในการจัดการศึกษา เพื่อให้การศึกษาช่วยพัฒนาชีวิตของคนไปในแนวทางที่พึงประสงค์ การศึกษาเป็นกระบวนการสร้างและพัฒนาประชากรของประเทศให้มีพลัง มีความสามารถ ที่จะพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าอย่างมีสันติสุข การศึกษาจึงเป็นเครื่องมือพัฒนาพัฒนา ประชากรและประเทศชาติ และการที่จะดาเนินไปได้อย่างมีคุณภาพและประสิทธิภาพจะต้องอาศัย กระบวนการศึกษาที่ได้รับการพัฒนามีดีแล้ว การศึกษามีส่วนสาคัญและจาเป็นในการพัฒนาประเทศให้รุ่งเรืองทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง และวัฒนธรรม เพราะการศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาทรัพยากร มนุษย์เป็นการถ่ายทอดวัฒนธรรม และสร้างภูมิปัญญาให้แก่สังคม ระบบการศึกษาที่มีประสิทธิภาพต้องมีเนื้อหาสาระและกระบวนการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ มีหลักการที่ดี และจาเป็นต้องอาศัยการบริหารที่กระจายอานาจให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และชุมชนได้เข้ามามีส่วนร่วมให้มากที่สุด ระบบการศึกษาได้รับการพัฒนามาตลอด แต่ยังไม่สามารถบรรลุผลตามที่กาหนดไว้เท่าใด นัก เพราะยังมีปัญหาด้านคุณภาพของผลผลิต ด้านการกระจายโอกาสทางการศึกษา ด้านการบริหาร การศึกษา และด้านการระดมสรรพกาลังเพื่อจัดการศึกษา ความจาเป็นในการปรับปรุงระบบการศึกษาให้สอดคล้องกับเงื่อนไข และการเปลี่ยนแปลง ด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมอย่างเป็นระยะๆ เป็นสิ่งที่ผู้ที่เกี่ยวข้องต้องตระหนัก ทั้งนี้เพื่อให้ สามารถพัฒนาประเทศได้อย่างเหมาะสมกับสภาพ และความต้องการของประเทศในอนาคต ดังนั้น การพัฒนาพลเมืองของประเทศให้เป็นผู้มีปัญญา มีคุณธรรม มีความสามารถพื้นฐาน หรือศักยภาพที่จะพัฒนาตนเองและสังคมต่อไป กอปรทั้งให้ความสามารถประกอบอาชีพหรือเป็น แรงงานสาหรับพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศจาเป็นต้องอาศัยกระบวนการศึกษาที่ดี ระบบการศึกษาที่ดีจะต้องมีความยืดหยุ่น ให้ผู้เรียนได้เรียนตามความสนใจ ความพร้อม ได้ อย่างต่อเนื่องตลอดเวลาและตลอดชีวิต มีเครือข่ายการเรียนรู้ที่สามารถถ่ายทอดความรู้ประเภทต่างๆ
  • 11. 5 จากแหล่งต่างๆ ไปยังผู้เรียนได้อย่างต่อเนื่องโดยอาศัยทั้งระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน และถึง ระบบโรงเรียน 2.2 การสอบPISA (Programme for International Student Assessment) PISA (Programme for International Student Assessment) เป็นโครงการประเมินผลผู้เรียน นานาชาติ ริเริ่มโดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ หรือ OECD (Organisation for Economic Co-operation and Development) ซึ่งมีการดาเนินการมาจั้งแต่ปี 1999 หรือ พ.ศ.2541 โดยมี ประเทศสมาชิกเข้าร่วมจากทั่วโลก 65 ประเทศ โดยมีประเทศเขตเศรษฐกิจเอเชียที่เข้าร่วมอันได้แก่ ฮ่องกง ไทเป เซี่ยงไฮ้ ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ไทย และในปี 2012 ได้มีการเพิ่มประเทศ มาเลเซีย และเวียดนาม มาเป็นประเทศสมาชิก OECD PISA ประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อเปรียบเทียบ ศักยภาพในการแข่งขันของผู้เรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สาหรับระดับนานาชาติ ดาเนินการ โดยองค์การเพื่อความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจและมีหน่วยงานต่างๆร่วมดาเนินการ ใน ประเทศไทยมีสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) เป็นผู้ดาเนินงานวิจัย และเป็นศูนย์ประสานงานระดับชาติ PISA จะประเมินให้กับประเทศสมาชิกขององค์การเพื่อความ ร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจรวมทั้งประเทศอื่นๆที่ต้องการเข้าร่วมการประเมิน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ.2543) ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ PISA เริ่มการประเมิน PISA ประเมินคุณภาพการศึกษาของประเทศสมาชิกและประเทศที่เข้าร่วมโครงการ โดย การศึกษาว่าระบบการศึกษาของแต่ละประเทศได้เตรียมความพร้อมให้กับประชาชนสาหรับการใช้ ชีวิต และการมีส่วนร่วมในสังคมในอนาคตเพียงพอหรือไม่ PISA ไม่เน้นการประเมินความรู้ของ ผู้เรียนที่กาลังเรียนอยู่ในห้องเรียนโดยตรง แต่เน้นการประเมินสมรรถนะของผู้เรียนในการใช้ความรู้ และทักษะที่เกี่ยวข้องกับชีวิตจริงสาหรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต และการใช้ชีวิตในสังคมยุคใหม่ เพื่อ การศึกษาต่อในระดับสูง การงานอาชีพ และการดาเนินชีวิต ซึ่ง PISA เรียกว่า การรู้เรื่อง (Literacy) โดยมีการประเมินการรู้เรื่องใน 3 ด้าน คือ
  • 12. 6 2.2.1 การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) 2.2.2 การรู้เรื่องคณิตศาสตร์ (Mathematics Literacy) 2.2.3 การรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ (Scientific Literacy) PISA จะประเมินผู้เรียนทุกๆ 3 ปี โดยหนึ่งรอบของการประเมินจะใช้เวลารวม 9 ปี การ ประเมินแต่ละครั้งจะครอบคลุมการเรียนรู้ใน 3 ด้านข้างต้น ซึ่งเน้นการให้น้าหนักการประเมินแต่ละ ด้านแตกต่างกัน การประเมินของ PISA ปี ค.ศ. 2000 (พ.ศ. 2543) และปี ค.ศ. 2009 (พ.ศ. 2552) เน้น การรู้เรื่องการอ่าน ปี ค.ศ. 2003 (พ.ศ. 2546) และปี ค.ศ. 2012 (พ.ศ. 2555) เน้นการรู้เรื่องคณิตศาสตร์ ส่วนปี ค.ศ. 2006 (พ.ศ. 2549) และ ค.ศ. 2015 (พ.ศ. 2558) เน้นการรู้เรื่องวิทยาศาสตร์ ทั้งนี้ในด้านที่ เน้นจะมีน้าหนักการประเมินร้อยละ 60 และส่วนที่เหลือจะมีน้าหนักการประเมินแต่ละด้านประมาณ ร้อยละ 20 2.3 การศึกษาของประเทศไทย ระบบการศึกษาไทย ปัจจุบันตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) 2545 มีการจัดระบบการศึกษาขั้นประถมศึกษา 6 ปี (6 ระดับชั้น) การศึกษา ขั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี (3 ระดับชั้น) และการศึกษาขั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี (3 ระดับชั้น) หรือระบบ 6-3-3 นอกจากนั้นระบบการศึกษาไทยยังจัดเป็นระบบการศึกษาในระบบโรงเรียน การศึกษานอก ระบบโรงเรียน และการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัดระบบการศึกษาตามแนวพระราชบัญญัติฉบับนี้ จะไม่พิจารณาแบ่งแยกการศึกษาในระบบโรงเรียนออกจากการศึกษานอกระบบโรงเรียน แต่จะถือว่า การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นเพียงวิธีการเรียนการสอน หรือรูปแบบของการเรียนการสอนที่ภาษาอังกฤษใช้คาว่า "Modes of learning" ฉะนั้น แนวทางใหม่ คือสถานศึกษาสามารถจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ และให้มีระบบเทียบโอนการเรียนรู้ทั้ง 3 รูปแบบ โดย พระราชบัญญัติการศึกษาฯ มาตรา 15 กล่าวว่าการจัดการศึกษามีสามรูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย คือ
  • 13. 7 2.3.1 การศึกษาในระบบ เป็นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษาการวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสาเร็จการศึกษาที่แน่นอน 2.3.2 การศึกษานอกระบบ เป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกาหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสาคัญของการ สาเร็จการศึกษาโดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความ ต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม 2.3.3 การศึกษาตามอัธยาศัย เป็นการศึกษาที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเองตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม หรือ แหล่งความรู้อื่นๆ สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรูปใดรูปแบบหนึ่งหรือทั้งสามรูปแบบก็ได้ให้มีการ เทียบโอนผลการเรียนที่ผู้เรียนสะสมไว้ในระหว่างรูปแบบเดียวกันหรือต่างรูปแบบได้ไม่ว่าจะเป็นผล การเรียนจากสถานศึกษาเดียวกันหรือไม่ก็ตาม รวมทั้งจากการเรียนรู้นอกระบบตามอัธยาศัย การฝึก อาชีพ หรือจากประสบการณ์การทางานการสอน และจะส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดได้ทั้ง 3 รูปแบบ การศึกษาในระบบมีสองระดับคือ การศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษาระดับอุดมศึกษา 2.3.3.1 การศึกษาขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การศึกษาซึ่งจัดไม่น้อยกว่าสิบสองปี ก่อน ระดับอุดมศึกษา การแบ่งระดับและประเภทของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้เป็นไปตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง การแบ่งระดับหรือการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตามอัธยาศัยให้ เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง 2.3.3.2 การศึกษาในระบบที่เป็นการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็นสามระดับ - การศึกษาก่อนระดับประถมศึกษา เป็นการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่มีอายุ 3 – 6 ปี - การศึกษาระดับประถมศึกษา โดยปกติใช้เวลาเรียน 6 ปี - การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบ่งเป็นสองระดับ ดังนี้ - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี - การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยปกติใช้เวลาเรียน 3 ปี แบ่งเป็นสองประเภทดังนี้
  • 14. 8 ประเภทสามัญศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อใน ระดับอุดมศึกษา ประเภทอาชีวศึกษา เป็นการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการ ประกอบอาชีพ หรือ ศึกษาต่อในระดับอาชีพชั้นสูงต่อไป 2.3.4 การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่งเป็นสองระดับ คือ ระดับต่ากว่าปริญญาและระดับ ปริญญา การใช้คาว่า "อุดมศึกษา" แทนคาว่า "การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย" ก็เพื่อจะให้ครอบคลุม การศึกษาในระดับประกาศนียบัตรหรืออนุปริญญา ที่เรียนภายหลังที่จบการศึกษาขั้นพื้นฐานแล้ว ทั้งนี้การศึกษาภาคบังคับจานวนเก้าปีโดยให้เด็กซึ่งมีอายุย่างเข้าปีที่เจ็ดเข้าเรียนในสถานศึกษาขั้น พื้นฐานจนอายุย่างเข้าปีที่สิบหกเว้นแต่สอบได้ชั้นปีที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับหลักเกณฑ์และ วิธีการนับอายุให้เป็นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง การศึกษาภาคบังคับนั้นต่างจากการศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่งการศึกษาขั้นพื้นฐานไม่บังคับให้ประชาชน ต้องเข้าเรียนแต่เป็นสิทธิ์ของคนไทย ส่วนการศึกษาภาคบังคับเป็นการบังคับให้เข้าเรียนถือเป็นหน้าที่ ของพลเมืองตามมาตรา 69 ของรัฐธรรมนูญ 2.3.5 วิธีการศึกษาของเด็กไทย เรียนตั้งแต่ 8 โมงครึ่ง ถึง 4 โมงเย็น มีกิจกรรม และเรียนพิเศษ กว่าจะกลับบ้านก็ทุ่มสองทุ่ม พ่อแม่ไม่ทันได้เห็นหน้าลูก ก็ต้องเข้าห้องไปนอนแล้ว...ว่ากันว่า เรียนหนักที่สุด ก็คือ อายุ 11 ปี หรือ ประมาณ ป.5 นั่นเอง โดยมีชั่วโมงเรียนถึง 1,200 ชั่วโมงต่อปี ในขณะที่ประเทศอื่นๆ เรียนกัน ประมาณ 1,000 ชั่วโมง และในบางประเทศก็ไม่ถึง 1,000 ชั่วโมงด้วยซ้า ลองไปดูกราฟข้อมูลนี้กัน
  • 15. 9 ภาพที่ 2.1 รูปเปรียบเทียบเวลาของแต่ละประเทศ ที่มา : http://www.vcharkarn.com/vcafe/203742 ผลของการเรียนหนัก ในแง่หนึ่งมันก็มีข้อดี ที่ช่วยเคี่ยวเข็ญให้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยได้ แต่ ลึกๆ แล้วคงเครียดกันน่าดู เรียนอาทิตย์ละ 5 วัน วันละ 8 ชั่วโมง กลับไปยังเจอการบ้าน และสอบกัน รายเดือน ดังนั้นจึงไม่แปลกใจที่มีคุณหมอสาขากุมารแพทย์ได้ให้ความเห็นว่าควรปรับลด เวลาเรียน ของเด็กไทยลง เพราะการสอนที่อัดแน่นเกินไปจะปิดกั้นความคิดสร้างสรรค์ ดร.ปรีชา เมธาวัสรภาคย์ ผอ.สานักวิจัยเอแบคโพล สถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เปิดเผยว่า เอแบคโพล ร่วมกับ สานักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ทา การสารวจเรื่อง เด็กและเยาวชนไทยอยากเห็นอะไรที่เปลี่ยนแปลงจากการศึกษาไทย โดยสารวจเด็ก และเยาวชนอายุ 14-18 ปี ใน 17 จังหวัดทั่วประเทศ จานวน 4,255 คน ระหว่างวันที่ 1-15เม.ย.2557 ผลปรากฏว่า ร้อยละ 58.9 เห็นว่าโอกาสและมาตรฐานทางการศึกษาของไทยไม่เท่าเทียมกัน ร้อยละ 58.7 เห็นว่าเด็กไทยเรียนหนักมากที่สุดในโลก แต่ไม่สามารถนาความรู้ในห้องเรียนไปประยุกต์ใช้ได้ ร้อยละ 54.8 เด็กไทยไม่ได้เรียนในสิ่งที่อยากเรียน ร้อยละ 53.1 เห็นว่าการเรียนการสอนเริ่มต้นจาก ความรู้ในหนังสือและจบลงที่ข้อสอบ ร้อยละ 30.7 ระบุว่าความรู้ที่ใช้สอบได้จากการเรียนกวดวิชา
  • 16. 10 ร้อยละ 25.0 อยากถามครูเกี่ยวกับวิธีการสอนของครู เช่น ทาไมครูไม่หาวิธีการสอนที่สนุก และไม่น่า เบื่อ, ทาไมสอนต้องอ่านตามหนังสือ ทาไมสอนในห้องเรียนไม่รู้เรื่อง แต่สอนพิเศษรู้เรื่อง เป็นต้น 2.3.8 แนวทางการศึกษาของประเทศไทย เน้นให้เด็กนักเรียนเรียนสายวิทย์– คณิต มากว่าการเรียนสายอาชีพและสายศิลป์ เพื่อให้เด็ก นักเรียนจบออกมาได้ทางานรับราชการมากว่าการทาอาชีพบริษัทหรือทางานในเอกชน และมุ่งให้เด็ก นักเรียนส่วนใหญ่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรีเป็นอย่างน้อย 2.4 การศึกษาของประเทศญี่ปุ่ น ระบบศึกษาของญี่ปุ่น สังคมญี่ปุ่นให้ความสาคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก เด็กๆจะได้รับ การศึกษาใน 3 ทาง ได้แก่ เรียนโรงเรียนรัฐบาลสาหรับการศึกษาภาคบังคับ เรียนโรงเรียนเอกชน สาหรับการศึกษาภาคบังคับ หรือ เรียนโรงเรียนเอกชนที่ไม่ได้ยึดมาตรฐานของกระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (MEXT) แม้ว่าการเรียนในชั้นมัธยมปลาย จะไม่เป็น การศึกษาภาคบังคับ ประชาชนมากกว่า 90% ก็เข้าเรียนในชั้นมัธยมปลาย นักเรียนมากกว่า 2.5 ล้าน คนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยและวิทยาลัย ในอดีต กระบวนการคัดเลือกเพื่อเรียนในชั้นสูงขึ้น ถูกมอง ว่า "โหด" หรือ "ราวกับสงคราม" แต่ด้วยจานวนของเด็กญี่ปุ่นที่มีอัตราการเกิดน้อยลง กระแสนี้ก็ เปลี่ยนไปในทางอื่น ปัจจุบันโรงเรียนต่างแข่งขันกันเองเพื่อรับนักเรียน เด็กๆจานวนมากถูกส่งไปยัง จุกุ (โรงเรียนกวดวิชา) นอกเหนือจากการเรียนในโรงเรียน การศึกษาในสังคมญี่ปุ่น วัฒนธรรมญี่ปุ่นสอนให้เคารพต่อสังคมและมีการสร้างแรงจูงใจให้ อยู่รวมเป็นกลุ่มโดยให้รางวัลเป็นกลุ่มมากกว่าจะให้รางวัลเป็นบุคคลการศึกษาของญี่ปุ่นเน้นหนักใน เรื่องความขยัน การตาหนิตนเอง และอุปนิสัยการเรียนรู้ที่ดี ชาวญี่ปุ่นถูกปลูกฝังว่าการทางานหนัก และความขยันหมั่นเพียรจะทาให้ประสบความสาเร็จในชีวิต โรงเรียนจึงอุทิศให้กับการสอนทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรมให้กับนักเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อมเพื่อที่จะพัฒนาอุปนิสัยและมีเป้ าหมายการ สร้างประชากรที่สามารถอ่านออกเขียนได้และปรับตัวให้เข้ากับค่านิยมและวัฒนธรรมของสังคมได้
  • 17. 11 ความสาเร็จทางการศึกษาของญี่ปุ่นอยู่ในระดับสูงเมื่อเทียบกับมาตรฐานสากล ในการสอบ วัดความรู้ด้านคณิตศาสตร์นานาชาติ เด็กญี่ปุ่นถูกจัดให้อยู่ในอันดับต้นๆมาโดยตลอด ระบบนี้เป็นผล มาจากการสมัครเข้าเรียนสูง ตลอดจนอัตราการรับ ระบบการสอบเข้า (การสอบเอนทรานซ์) โดยเฉพาะในระดับมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลต่อการศึกษาทั้งระบบเป็นอย่างมาก รัฐบาลไม่ได้เป็น ผู้สนับสนุนทางการศึกษาแต่เพียงผู้เดียว โรงเรียนเอกชนก็มีบทบาทสาคัญในด้านการศึกษา รวมถึง โรงเรียนที่อยู่นอกระบบเช่นวิทยาลัยของเอกชน ก็มีบทบาทสาคัญในการศึกษาและเป็นส่วนมากใน การศึกษา เด็กๆส่วนใหญ่จะเข้าโรงเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล แม้ว่าจะไม่ใช่ส่วนหนึ่งของระบบการศึกษาก็ ตาม ระบบการศึกษาเป็นภาคบังคับ เลือกโรงเรียนได้อิสระและให้การศึกษาที่พอเหมาะแก่เด็กๆทุก คนตั้งแต่ เกรด 1 (เทียบเท่า ป.1) จนถึง เกรด 9 (เทียบเท่า ม.3) ส่วนเกรด 10 ถึงเกรด 12 (ม.4 - 6) นั้น ไม่บังคับ แต่ 94% ของนักเรียนที่จบชั้นมัธยมต้น เข้าศึกษาต่อชั้นมัธยมปลาย ประมาณ 1 ใน 3 ของ นักเรียนที่จบชั้นมัธยมปลายเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย 4 ปี junior colleges 2 ปี หรือเรียนต่อที่ สถาบันอื่นๆ ญี่ปุ่นเป็นสังคมที่ให้ความสาคัญกับการศึกษาเป็นอย่างมาก และเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย การศึกษาเป็นสิ่งที่น่าเคารพยกย่อง และความสาเร็จเป็นเงื่อนไขสาคัญสาหรับการประสบความสาเร็จ ในงานและในสังคม ทุกวันนี้ มุมมองแตกต่างออกไป โรงเรียนต่างแข่งขันกันเพื่อรับนักเรียน การ สอบเอนทรานซ์กลายเป็นสิ่งที่ stolid in an attempt to maintain operations ทุกวันนี้ โรงเรียนรับ นักเรียนในอัตราต่ากว่าที่รับได้มาก ถือเป็นปัญหาด้านงบประมาณขั้นรุนแรง โรงเรียนถูกสร้างเพื่อรับ นักเรียน 1,000 คน แต่กลับรับนักเรียนเพียง 1 ใน 3 ของจานวนที่รับได้ แต่นี้ไม่ได้ทาให้จานวน นักเรียนในแต่ละห้องน้อยลง ห้องเรียนส่วนใหญ่มีนักเรียนอยู่ระหว่าง 35 - 45 คน 2.4.1 การศึกษาชั้นประถมและชั้นมัธยม - ชั้นประถม ( 小学校 โชกักโก ): 6 ปี, อายุ 6–12 ปี ปีการศึกษาจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม ของปีถัดไป การเรียนจะ แบ่งเป็น 3 เทอม โดยมีช่วงปิดเทอม ในสมัยก่อน เด็กญี่ปุ่นจะต้องเรียนที่โรงเรียนตั้งแต่วันจันทร์ถึง
  • 18. 12 ศุกร์เต็มวัน และเรียนวันเสาร์อีกครึ่งวัน สิ่งเหล่านี้หมดไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 2002 อย่างไรก็ตาม ครูหลาย คนยังสอนในช่วงสุดสัปดาห์รวมถึงวันหยุดภาคฤดูร้อนซึ่งมักจะเป็นเดือนสิงหาคมกฎหมาย กาหนดให้หนึ่งปีการศึกษามีการเรียนอย่างน้อย 210 วัน แต่โรงเรียนส่วนมากมักจะเพิ่มอีก 30 วัน สาหรับเทศกาลของโรงเรียน การแข่งขันกีฬา และพิธีที่ไม่เกี่ยวกับการเรียน โดยเฉพาะการสนับสนุน ให้ร่วมมือกันทางานเป็นกลุ่มและสปิริตของโรงเรียน จานวนวันที่มีการเรียนการสอนจึงเหลืออยู่ ประมาณ 195 วัน ชาวญี่ปุ่นมีความเชื่อในเรื่องของการศึกษาว่า เด็กๆทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้ ความ พยายาม ความพากเพียร และการมีระเบียบวินัยต่อตนเองต่างหาก ที่เป็นตัวกาหนดความสาเร็จทาง การศึกษา ไม่ใช่ความสามารถทางการเรียน การศึกษาและพฤติกรรมเป็นสิ่งที่สามารถฝึกอบรมได้ ดังนั้น นักเรียนในชั้นประถมและชั้นมัธยมต้นจึงไม่ได้ถูกแบ่งกลุ่มหรือสอนตามความสามารถของ แต่ละคน การสอนจะไม่ถูกปรับให้เหมาะสมกับความแตกต่างของบุคคล หลักสูตรการศึกษาแห่งชาติกาหนดให้นักเรียนได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่พอเหมาะ และ การเรียนภาคบังคับถือเป็นการปฏิบัติต่อนักเรียนด้วยความเสมอภาค มีการกระจายงบประมาณไป ตามโรงเรียนต่างๆอย่างเท่าเทียมกัน อย่างไรก็ตาม การที่หลักสูตรกาหนดเช่นนี้ส่งผลให้ขาดความ ยืดหยุ่น รวมถึงความสอดคล้องกันของพฤติกรรม ความพยายามเพียงน้อยนิดที่จะกระตุ้นนักเรียนให้ มีความสนใจพิเศษ การปฏิรูปการศึกษาในปลายทศวรรษที่ 198 มีเป้ าหมายเพื่อเน้นในเรื่องความ ยืดหยุ่น ความคิดสร้างสรรค์ และการเพิ่มโอกาสให้นักเรียนได้แสดงออกในสิ่งที่ตนเองชอบ แต่ กระนั้นความพยายามก็บังเกิดผลเพียงน้อยนิด การคิดเชิงวิพากษ์ไม่ถือเป็นสิ่งที่มีคุณค่าในระบบ การศึกษาญี่ปุ่น นักเรียนจะถูกสอนให้จาเนื้อหาที่พวกเขาต้องใช้สอบ ผลการเรียนที่สูงจึงไม่ได้ชี้วัด หรือสะท้อนความสามารถที่แท้จริงของนักเรียน ปัญหาที่มีมาโดยตลอดคือ ความคิดเกี่ยวกับการ"กด"นักเรียนที่ทาตัวโดดเด่นในห้องเรียน เนื่องจากนักเรียนจะถูกจากัดให้ทาเกรดในแต่ละวิชา จึงไม่มีความต้องการรับนักเรียนที่มี ความสามารถเป็นเลิศหรือนักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียน เช่น นักเรียนที่เกิดในประเทศที่ พูดภาษาอังกฤษเป็นหลัก ก็ยังต้องเรียนวิชาภาษาอังกฤษในระดับชั้นที่เขาเรียน เช่นเดียวกับนักเรียน ชั้นมัธยม 3 ที่ยังไม่ได้เรียนวิชาคณิตศาสตร์ปีแรก เขาจะต้องเข้าเรียนวิชาคณิตศาสตร์ในระดับที่เกิน
  • 19. 13 กว่าความสามารถของเขา นักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียนจะถูกจัดให้เรียนในชั้นเรียนปกติ ซึ่งครูไม่ได้รับการฝึกมาเป็นพิเศษสาหรับการสอนพวกเขา ไม่มีวิธีแก้ไขหรือมีชั้นเรียนพิเศษสาหรับ ความต้องการของนักเรียนแต่ละคน เป็นที่น่าสังเกตว่า ปัญหาเหล่านี้ทาให้ผู้ปกครองบางคนปฏิเสธที่จะยอมรับว่าบุตรหลานของ ตนมีความต้องการพิเศษ เทียบกับในสหรัฐอเมริกา หลายเขตในญี่ปุ่นส่วนใหญ่มีการเรียนการสอน พิเศษสาหรับนักเรียนที่ขาดความสามารถในการเรียนรู้ขั้นรุนแรง ในกรณีนี้ นักเรียนแต่ละคนจะมีครู หรือผู้ดูแลคอยช่วยเหลือพวกเขา ขณะที่โรงเรียนเหล่านี้มีบริการพิเศษสาหรับคนกลุ่มน้อย adult service กาลังจะหายไปอย่างช้าๆเพราะการตัดงบประมาณ มีข้อยกเว้นสาหรับการศึกษาภาคบังคับ นักเรียนที่พ่อแม่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่น เช่น ลูกของผู้ใช้ แรงงานที่อพยพเข้ามา ก็สามารถเข้าเรียนในโรงเรียนได้ แม้จะไม่ได้บังคับก็ตาม ซึ่งในกรณีนี้ ความ รับผิดชอบสาหรับการสอนภาษาให้กับนักเรียนกลุ่มนี้จะตกอยู่กับโรงเรียนซึ่งมักจะไม่สามารถ จัดการเรียนการสอนตามภาษาของนักเรียนได้ยิ่งกว่านั้น การสอนจะไม่ถูกปรับให้เหมาะสมกับความ แตกต่างของแต่ละคน ลูกของผู้ใช้แรงงานที่ไม่สามารถใช้ภาษาได้ดีแทบจะไม่ประสบความสาเร็จใน โรงเรียนของญี่ปุ่น แม้แต่ผู้ที่ใช้ภาษาญี่ปุ่นได้ พวกเขาก็ต้องเจอกับการแบ่งแยก ด้วยเหตุนี้ นักเรียนที่ ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นมักจะมีชื่อภาษาญี่ปุ่น และบางครั้งก็ถูกบีบบังคับให้ซ่อนความเป็นตัวของตัวเองไม่ให้ ผู้อื่นเห็นแม้แต่เพื่อนสนิทของเขาเอง อย่างไรก็ตาม มีความเข้าใจผิดว่านักเรียนที่ไม่ใช่ชาวญี่ปุ่นจะไม่ สามารถเข้าร่วมการประกวดสุนทรพจน์ หรือโปรแกรมแลกเปลี่ยนต่างประเทศได้ แม้ว่านักเรียนที่ เติบโตในประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นหลักมักจะถูกกีดกันไม่ให้เข้าร่วมประกวดสุนทรพจน์ แต่เชื้อ ชาติก็ไม่ได้เป็นปัจจัย ตัวอย่างเช่น ในโตเกียว นักเรียนชาวจีนและชาวเกาหลีก็เข้าร่วมการประกวด สุนทรพจน์ และโปรแกรมแลกเปลี่ยนต่างประเทศ นักเรียนที่เรียนในการศึกษาภาคบังคับจะได้รับตาราเรียนฟรี คณะบริหารของโรงเรียนเป็นผู้ เลือกตาราเรียนทุกๆสามปีโดยเลือกจากรายชื่อหนังสือที่กระทรวงการศึกษาได้รับรองแล้วหรือ หนังสือที่กระทรวงจัดทาขึ้นเองกระทรวงจะเป็นผู้รับภาระค่าตาราทั้งในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียน เอกชน ตาราเรียนมีขนาดเล็ก ใช้ปกอ่อนหุ้ม สามารถพกพาได้โดยง่าย และถือเป็นสมบัติของนักเรียน
  • 20. 14 โรงเรียนส่วนใหญ่จะมีระบบดูแลด้านสุขภาพมีสิ่งของด้านการศึกษาและกีฬาอยู่พอประมาณ โรงเรียนประถมส่วนใหญ่มีสนามเด็กเล่นกลางแจ้ง ประมาณร้อยละ 90 มีโรงยิม และ 75% มีสระว่าย น้ากลางแจ้ง ห้องเรียนส่วนมากยังขาดแคลนคอมพิวเตอร์และเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ การเรียนการ สอนและโครงงานของนักเรียนมักไม่ใช้เทคโนโลยีเข้าช่วย อินเทอร์เน็ตยังไม่ถูกนามาใช้ประโยชน์ ทางด้านการศึกษามากนัก ตั้งแต่ประถมจนถึงมัธยม นักเรียนจะต้องอยู่ในกลุ่มโฮมรูมของตน หมายความว่า พวกเขา จะต้องทางานกับนักเรียนที่อยู่ในโฮมรูมเดียวกันตลอดทั้งปี โฮมรูมและหลักสูตรการศึกษาญี่ปุ่น ปลูกฝังเรื่องการทางานเป็นกลุ่มและความภาคภูมิใจในโรงเรียนของตน โรงเรียนที่ญี่ปุ่นมีนักการภาร โรงที่ทางานด้านความสะอาดอยู่น้อยมาก 2.4.2 วิธีการเรียนของเด็กญี่ปุ่น การเรียนการสอน - มักจะเน้นการเรียนนอกห้องเรียน เพื่อเน้นการเรียนรู้ด้วยตนเอง - ในการเรียนภาษาญี่ปุ่น เด็กจะลุกขึ้นมาอ่านคนละประโยคเอง ไม่มีการชี้หรือบังคับ - การเรียนมักจะปล่อยให้เด็กได้ทาอะไรได้อย่างอิสระ เรียนด้วยความสุข สนุก - ครูจะไม่มีการดุ หรือต่อว่านักเรียนที่คุยกันในห้องเรียน เด็กนักเรียนจะมีความตั้งใจใน การเรียน แย่งกันตอบ แข่งขันกันอย่างเต็มที่ เด็กที่ตอบจะได้ติดป้ ายชื่อขึ้นบนกระดาน - วิชาดนตรีทาให้เด็กๆ มีจิตใจที่อ่อนโยน โรงเรียนก็จะจัดให้มีการเรียนการสอนวิชาดนตรี - ครูจะให้เด็กเป็นคนคิดเอง ว่าจะต้องทาอะไร ตัดสินใจเองว่า เรื่องนี้ควรทา เรื่องนั้นต้อง ทาอย่างไร ก่อนจะเลิกเรียน - จะมีการประชุมกัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ผ่านมา 1วัน สิ่งที่ดี ที่เพื่อนทาให้ ก็ จะมีการชมเชย สิ่งใดที่ผิดพลาด ก็จะนากลับไปแก้ไข คุณครูก็จะช่วยสรุปว่า ให้เด็กทุก คน ทาดีทุกวัน
  • 21. 15 - ก่อนกลับบ้านก็จะมีเสียงตามสาย จากนักเรียนรุ่นพี่ จะกล่าวคาลาลา และย้าเตือนว่าเรื่อง ของพรุ่งนี้ อย่าลืมทาตามเป้ าหมายที่ตั้งใจไว้อย่าลืมของ และดูแลรักษาสุขภาพตนเอง 2.4.3 แนวทางการศึกษาของประเทศญี่ปุ่น เด็กญี่ปุ่นเรียนหนักแข่งขันกันเองสูง การได้เข้าเรียนในมหาวิทยาลัยที่ดีมีชื่อเสียงคือความ ต้องการของนักเรียนและผู้ปกครองจานวนมาก การเรียนกวดวิชาเพื่อเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงจึง เป็นความจาเป็น 2.5 การศึกษาของประเทศเกาหลี ระบบการศึกษาของเกาหลีใต้ จัดตามข้อกาหนดของกฎหมายการศึกษาซึ่งประกาศใช้เมื่อปี ค.ศ. 1949 กาหนดให้ประชาชนทุกคนมีสิทธิได้รับการศึกษาตามความสามารถ โดยเด็กทุกคนต้อง ได้รับการศึกษาในระดับประถมศึกษาเป็นอย่างน้อย ซึ่งรัฐจัดให้ฟรี ระบบการศึกษาของเกาหลีใต้เป็น ระบบ 6 – 3 – 3 – 4 คือ ชั้นประถมศึกษา 6 ปี มัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี และวิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัย 4 ปี กฎหมายการศึกษาได้กาหนดวันเวลาการเรียนใน 1 รอบปี การศึกษาของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายเท่ากับ 220 วัน ระดับ วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเท่ากับ 32 สัปดาห์ ภาคเรียนมี 2 ภาค ภาคต้นเริ่มตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม ถึง 31 สิงหาคม ภาคเรียนที่ 2 เริ่มตั้งแต่ วันที่ 1 กันยายน ถึง สิ้นเดือนกุมภาพันธ์ระบบการศึกษาของเกาหลี จัดแยกได้เป็น 3 ประเภท คือ 2.5.1 การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐานมี 3 ระดับคือ อนุบาลศึกษาหรือก่อน ประถมศึกษา ประถมศึกษา และมัธยมศึกษา 2.5.2 การศึกษาระดับอุดมศึกษา ระบบการศึกษาของเกาหลีระดับอุดมศึกษา แบ่ง สถาบันการศึกษาออกเป็น 5 ประเภท คือ วิทยาลัย หรือมหาวิทยาลัยหลักสูตร 4 ปี (ซึ่งรวมทั้ง มหาวิทยาลัยเปิด) วิทยาลัยครู วิทยาลัยอาชีวศึกษา โพลีเทคนิคและโรงเรียนพิเศษ (miscellaneous schools) โดยสถาบันทั้งหมดสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ แต่ละประเภทมีลักษณะดังนี้คือ 2.5.3 วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย หลักสูตรปริญญาตรีจะมีหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 140 หน่วยกิต ในมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งอาจจะมีบัณฑิตวิทยาลัยที่เปิดสอนถึงปริญญาโทและเอก ได้ปัจจุบัน มหาวิทยาลัยพยายามที่จะเปลี่ยนแปลงการบริหารวิชาการโดยพยายามรวมภาควิชาที่มีลักษณะ ใกล้เคียงกันให้อยู่เป็นภาค วิชาเดียวกัน เพื่อให้เกิดความร่วมมือกันผลิตบัณฑิตและเป็นการลด พรมแดนการแบ่งแยกภาควิชาไปในตัว
  • 22. 16 ในส่วนของมหาวิทยาลัยเปิด (Korea National Open University) มีต้นกาเนิดมาจาก มหาวิทยาลัยทางอากาศเกาหลี ที่มีฐานะเป็นสถาบันสมทบกับมหาวิทยาลัยแห่งชาติโซล ในปี 1972 มุ่งเน้นการสอนในด้านอาชีวศึกษา และปรับมาเป็นมหาวิทยาลัยเปิดแห่งชาติเกาหลีในปี 1994 รัฐจะกาหนดเกณฑ์มาตรฐานเป็นบรรทัดฐานเพื่อการรับรองคุณภาพมหาวิทยาลัย ซึ่ง มาตรฐานจะแตกต่างไปตามรูปแบบของมหาวิทยาลัย ปัจจุบันรัฐอนุญาตให้ตั้งมหาวิทยาลัยในระดับ จังหวัดได้เพื่อให้เกิดมหาวิทยาลัยขนาดเล็กที่สามารถตอบสนองชุมชนหรือความต้องการของ สาขา วิชาชีพซึ่งเป็นแนวคิด ที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งของระบบการศึกษาของเกาหลี แต่มหาวิทยาลัย ก็ต้องมีการประเมินตนเองเป็นประจาทุกปี ในแง่ของการประเมินจากองค์กรภายนอกจะดูที่คุณภาพ ของงานวิจัยและจานวนผู้จบการศึกษาปัจจุบันมีองค์กรอิสระที่ไม่ขึ้นต่อรัฐทาหน้าที่ประเมินเพื่อการ รับรองคุณภาพของมหาวิทยาลัยในเกาหลี องค์กรนี้เรียกว่า สภาการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยเกาหลี (Korea Council for University Education – KCUE) เป็นองค์กรที่ได้รับการยอมรับจาก กระทรวงศึกษาธิการ วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยโดยทั่วไป 2.5.4 สถาบันผลิตครู มี 2 รูปแบบ คือ วิทยาลัยครูและวิทยาลัยวิชาการศึกษา 
วิทยาลัยครู ผลิตครูเพื่อไปสอนระดับประถมศึกษาผู้ที่เรียนจบจะได้รับปริญญาบัตรและประกาศนียบัตรการสอน ประถมศึกษา นักเรียนที่เข้าเรียนจะเป็นนักเรียนทุนได้รับการยกเว้นค่าลงทะเบียนและค่าสอน แต่เมื่อ จบแล้วต้องไปเป็นครูในโรงเรียนประถมศึกษาอย่างน้อย 4 ปี ส่วนวิทยาลัยวิชาการศึกษา ใช้หลักสูตร 4 ปี เช่นกันเพื่อผลิตครูระดับมัธยมศึกษา นอกจากนั้นยังมีมหาวิทยาลัยทางการศึกษาชื่อว่า Korea National University of Education ตั้งขึ้นในปี 1985 เพื่อผลิตครูชั้นนาที่สามารถสอนและวิจัย เกี่ยวกับ การศึกษาในระดับอนุบาล ประถมและมัธยมได้รวมทั้งสร้างบุคลากรที่จะเป็นหัวหอกของการปฏิรูป การศึกษา ตลอดจนการเน้นบทบาทด้านการฝึกอบรมครูและวิจัยทางการศึกษา 2.5.5 วิทยาลัยอาชีวศึกษา 
เป็นสถาบันที่สอน 2-3 ปี หลังระดับมัธยมศึกษา สาขาวิชาที่ยอด นิยมคือ วิศวกรรม เทคโนโลยี และพยาบาล 2.5.6 โพลีเทคนิคหรือมหาวิทยาลัยเปิดทางอุตสาหกรรม (Open Industrial University)
 สถาบันนี้มุ่งให้การศึกษาทางอาชีวะแก่ผู้ใหญ่ที่กาลังทางานและประสงค์จะเรียนในระดับอุดมศึกษา 2.5.7 โรงเรียนเสริมพิเศษ (Miscellaneous school) เป็นสถาบันที่ตั้งขึ้นเพื่อเปิดสอนสาขาวิชา ที่ไม่ได้เปิดสอนในวิทยาลัยโดยปกติทั่วไป สถาบันจึงมีขนาดเล็กกว่าวิทยาลัยแต่ก็เปิดสอนหลักสูตร 4 ปีเช่นกันในบางแห่ง เมื่อจบแล้วผู้เรียนจะได้รับวุฒิบัตรและประกาศนียบัตร มีศักดิ์และสิทธิ์เท่ากับ วิทยาลัยอื่น ถ้าสถาบันที่จบได้รับการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการ 2.5.8 ระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่ เป็นการจัดการศึกษาโดยสร้างระบบการศึกษาใหม่ (New Education System) เพื่อมุ่งสู่ ยุคสารสนเทศและโลกาภิวัตน์โดยเป้ าหมายสูงสุดของระบบ
  • 23. 17 การศึกษาของเกาหลียุคใหม่ คือความเป็นรัฐสวัสดิการทางการศึกษา สร้างสังคมการศึกษาแบบเปิด และตลอดชีวิต ทาให้ชาวเกาหลีทุกคนสามารถใช้ประโยชน์จากการศึกษาได้ทุกเวลาและทุกสถานที่ รัฐปรับโครงสร้างระบบการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและเทคนิค นาเยาวชนเข้าสู่ชีวิตยุคสารสนเทศมี เสรีภาพที่จะถ่ายโอนการเรียน สามารถถ่ายโอนหน่วยกิตข้ามโรงเรียนหรือข้ามสถาบันการศึกษา ตลอดจนข้ามสาขาวิชาได้ ณ วันนี้ระบบการศึกษาของเกาหลียุคใหม่ ได้ให้ความสาคัญแก่ผู้เรียน จัด ให้มีโรงเรียนและการศึกษาเฉพาะทางหลายรูปแบบ เพื่อให้ประชาชนทุกกลุ่มสามารถหาความรู้ พัฒนาตนเองตามความสนใจ โรงเรียนมีอานาจในการบริหารจัดการโดยการมีส่วนร่วมกับชุมชนและ ผู้ปกครองมากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่และอุปกรณ์ในระบบมัลติมีเดียช่วยให้บุคคล ศึกษาหาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา รวมทั้งจัดตั้งบัณฑิตวิทยาลัยทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาวิชาชีพในยุค เทคโนโลยีสารสนเทศ กล่าวโดยสรุป เกาหลีได้สร้างระบบการศึกษาสมัยใหม่ ที่มุ่งพัฒนาเครือข่ายสารสนเทศเพื่อ การเป็นสังคมแห่งความรู้ (Knowledge-based Society) สร้างสภาวะแวดล้อมที่กระตุ้นให้เกิดการ เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้คนเกาหลีมีความรู้ ความสามารถ มีความทันสมัย และที่สาคัญคือมี จริยธรรม แต่ยังคงความเป็นเลิศด้านการศึกษาและดารงมาตรฐานของระบบการศึกษาของเกาหลีได้ อีกด้วย 2.5.9 วิธีการเรียนของเด็กเกาหลี - เด็ก (วัยรุ่น) นักเรียนเกาหลีแทบทุกคนต้องเรียนพิเศษ การเรียนพิเศษเลิก 4 ทุ่มทุกวัน ถือ เป็นเรื่องธรรมดา ช่วงสอบ ปลายภาคอาจมีคอร์สพิเศษเปิดสอนถึงตี 2 โดยเฉพาะวิชาเลขเป็นวิชาที่ วัยรุ่น เกาหลีทุ่มเทมาก - นักเรียนเกาหลีเวลาเรียนเสร็จมักจะจดโน้ตย่อเอาไว้อ่านเวลาสอบ - ตารางเรียนของนักเรียนเกาหลี เช่นดังตารางต่อไปนี้
  • 24. 18 ภาพที่ 2.2 รูปตารางเรียนของเด็กเกาหลี ในวันจันทร์ ที่มา : http://www.dek-d.com/studyabroad/26296/ ภาพที่ 2.3 รูปรูปตารางเรียนของเด็กเกาหลี ในวันเสาร์ ที่มา : http://www.dek-d.com/studyabroad/26296/ 2.5.10 แนวทางการศึกษาของประเทศเกาหลี เป้าหมายการศึกษาต้องเป็นที่ 1 ให้ได้ ต้องเอาชนะประเทศเพื่อนบ้านให้ได้ มีหลักสูตร กิจกรรมบริการสาธารณะให้นักเรียนได้ดูแลชุมชนด้วย ปีละ 10-20 คาบ สิ่งที่น่าเรียนแบบคือ ความ ทุ่มเท มุ่งมั่น และการนานวัตกรรมมาช่วยสอน
  • 25. 19 2.6 การศึกษาของประเทศสิงคโปร์ ระบบการศึกษาของสิงคโปร์ สิงคโปร์มีระบบการศึกษาที่เป็นเลิศประเทศหนึ่งของโลกทุก โรงเรียนควบคุมโดยกระทรวงศึกษาธิการโดยตรงระบบการศึกษาของสิงคโปร์แบ่งเป็นชั้น ประถมศึกษาใช้ระยะเวลา 6 ปี และมัธยมศึกษาใช้ระยะเวลา 4 ปี จากนั้น ต่อด้วยการเรียนในระดับสูง ขึ้น เช่น โปลีเทคนิค จูเนียร์คอลเลจ และมหาวิทยาลัย และการที่จะได้คัดเลือกเข้าเรียนที่โรงเรียน สิงคโปร์นั้น นักเรียนจาเป็นจะต้องทาการสอบเพื่อประเมินผลโดยการสอบเข้าโรงเรียนนั้น นักเรียน จาเป็นต้องสอบภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ เป็นวิชาหลัก และอาจมีการทดสอบภาษาจีน ขึ้นอยู่กับ โรงเรียนที่นักเรียนต้องการสอบเข้า และสาหรับนักเรียนต่างชาติที่มีความประสงค์จะเข้าศึกษาต่อใน ประเทศสิงคโปร์จาเป็นต้องเสียค่าบารุงการศึกษา (Donations) ให้กับ กระทรวงศึกษาธิการของ สิงคโปร์เป็นจานวนเงิน $ 1,000 ทุก ๆ 2 ปีสาหรับเงินบริจาคนี้ไม่สามารถขอคืนได้ ประเทศสิงคโปร์มีค่าใช้จ่ายถูกกว่าประเทศอื่น เช่น ออสเตรเลีย อเมริกา อังกฤษทั้งด้านการ เรียน และ ค่าที่อยู่อาศัย ค่าตั๋วเครื่องบิน และยังสะดวกในการเดินทาง เนื่องจาก ประเทศสิงคโปร์อยู่ ใกล้กับประเทศไทย โดยใช้ระยะเวลาการบินเพียง 2 ชั่วโมงเท่านั้น และนอกจากนี้ การที่ได้ไปศึกษา ที่ประเทศสิงคโปร์ นักเรียนยังได้เรียนรู้ถึง 2 ภาษา ซึ้งมีภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก และสามารถเลือก ภาษาจีน,ภาษามาเลย์และทมิฬภาษาใดภาษานึ่งเป็นภาษารอง 2.6.1 การศึกษาในระดับประถมศึกษา (Primary Schools) ระบบการศึกษาในระดับ ประถมศึกษาที่สิงคโปร์นั้นจะแบ่งการสอนออกเป็น 2 ช่วง คือ เช้า และบ่าย การรับสมัครนักเรียน ใหม่จะขึ้นอยู่กับนโยบายของแต่ละโรงเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1–4 (fouryear foundation stage) จะเน้นการเรียนในวิชาภาษาอังกฤษ, ภาษาจีน (แมนดาริน) หรือภาษาทมิฬ, คณิตศาสตร์ และ วิชาอื่น ๆ เช่น ศิลปะ ดนตรี พลศึกษา ในการเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 -6 (Two-year orientation stage) นักเรียนจะถูกแบ่งออกเป็น 3ระดับ จากผลการสอบของ ประถมศึกษาปีที่ 4 คือ EM1 EM2 EM3 โดยลักษณะการเรียนของวิชาภาษาอังกฤษ และภาษาแม่นั้นจะต่างกันนักเรียนจะต้องสอบวัด ระดับเมื่อจบ ประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียกกันว่า Primary School Leaving Examination (PSLE).เพื่อวัด ระดับว่านักเรียนจะต้องเรียนในชั้นมัธยมเป็นระยะเวลา 4 ปี หรือ 5 ปี
  • 26. 20 2.6.2 การศึกษาในระดับมัธยมศึกษา (Secondary School) โรงเรียนมัธยมศึกษาในสิงคโปร์ จะแบ่งออกเป็น 2 ระบบและจะมีหลักสูตรแตกต่างกันไปทั้งนี้ นักเรียนจะถูกเลือกให้อยู่ระบบใด ระบบหนึ่งนั้นขึ้นอยู่กับผลการสอบ PSLE ของนักเรียนแต่ละคน ระบบที่ใช้ระยะเวลา 4 ปี จะเรียกว่า Special and Express Courses ซึ้งการเรียนการสอนนั้นจะเน้นการเตรียมตัวให้นักเรียนสอบ The Singapore-Cambridge General Certificate of Education “Ordinary” (GCE ‘O’) ตอนจบมัธยมศึกษา ปีที่ 4 และ ระบบที่ใช้ระยะเวลา 5 ปี คือ Normal Course แบ่งการเรียนการสอนเป็น Academic และ Technical และเมื่อนักเรียนจบมัธยมศึกษาปีที่ 4 นักเรียนจะต้องสอบ Singapore-Cambridge General Certificate of Education “Normal”(GCE ‘N’) สาหรับนักเรียนที่สอบได้คะแนนดี สามารถเรียนต่อ มัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อสอบ GCE ‘O’ ต่อไป แต่สาหรับนักเรียนที่สอบได้คะแนน GCE ‘N’ ไม่ดี ก็สามารถเรียนต่อในทางด้านเทคนิค ITE. หลังจากนักเรียน จบการศึกษาในระดับมัธยมนักเรียนสามารถที่จะเลือกเรียนในขั้นอุดมศึกษาต่อไป เตรียมเข้ามหาวิทยาลัย (Junior College หรือ Pre University)สาหรับนักเรียนที่ได้ผ่านการ ทดสอบ GCE ‘O’ Level เรียบร้อยแล้วและมีความประสงค์ที่จะเลือกเรียนต่อที่ Junior College ใช้ ระยะเวลา 2 ปี หรือ หลักสูตรเตรียมเข้ามหาวิทยาลัย (Pre-university) ใช้ระยะเวลา 3 ปี เพื่อการ เตรียมพร้อมสอบ GCE ‘A’ Level เมื่อสอบผ่านนักเรียนถึงจะสามารถเข้าเรียนต่อในระดับชั้น มหาวิทยาลัย หรือสามารถสมัครเรียนที่มหาวิทยาลัยต่างๆ ได้ทั่วโลก สาหรับนักเรียนที่สอบไม่ผ่าน GCE ‘A’ Level ก็สามารถที่จะเลือกเรียนต่อโปลีเทคนิค 2.6.3 โปลีเทคนิค (Polytechnics) เป็นโรงเรียนเปิดสอนหลักสูตรวิชาชีพโดยมีสาขาให้ เลือกมากมายอาทิเช่น วิศวกรรม, ธุรกิจ, สื่อสารมวลชน ฯลฯ สาหรับนักเรียนที่สาเร็จการศึกษาแล้ว สามารถจบออกมาทางานได้เลย โดยหลักสูตรนี้จะใช้เวลาเรียน 3 ปี 2.6.4 การศึกษาสาหรับสาขาวิชาช่าง Institutes of Technical Education (ITE) เป็นโรงเรียน เปิดสอนหลักสูตรสาขาวิชาช่าง โดยเฉพาะผู้ที่ต้องการเพิ่มทักษะทางด้านการปฏิบัติและวิชาการ และ สาหรับนักเรียนที่มีเกณฑ์คะแนนดี สามารถเลือกที่จะเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนโปลีเทคนิค หรือ มหาวิทยาลัยแล้วแต่ความประสงค์
  • 27. 21 ปีการศึกษาของสิงคโปร์จะแบ่งออกเป็น 4 ภาคเรียน ภาคเรียนละ 10 สัปดาห์ เริ่มเปิด การศึกษาตั้งแต่วันที่ 2 มกราคมของทุกปี ช่วงระหว่างภาคเรียนที่ 1 กับที่ 2 และที่ 3 กับที่ 4 จะมีการ หยุด 1 สัปดาห์ ระหว่างภาคเรียนที่ 2 กับที่ 3 หยุด 4 สัปดาห์ และมีช่วงหยุด 6 สัปดาห์ เมื่อสิ้นสุดปี การศึกษา 2.6.5 วิธีการเรียนของเด็กสิงคโปร์ - จดบันทึกข้อมูลที่เรียนอย่างเป็นระบบ อย่างเป็นขั้นตอน - เด็กแต่ละคนมีการจัดตารางในการเรียนในแต่ละวันของตนเอง - มีการแบ่งเวลาในการเรียนอย่างถูกต้อง - ในการเรียนใช้ความเข้าใจมากกว่าการท่องจา - อ่านหนังสือทุกวันวันละ 1-2 ชั่วโมงก่อนเข้านอน - มีความรับผิดชอบในตนเองในเรื่องการเรียน - การเรียนไม่แต่เรียนในห้องเรียนเท่านั้นแต่มักออกไปเรียนรู้สิ่งต่างๆนอกห้องเรียน มากกว่า 2.6.6 แนวทางการศึกษาของประเทศสิงคโปร์ การศึกษาขั้นพื้นฐานของสิงคโปร์ทุกช่วงชั้นมีความหมายต่อเด็กมาก เด็กรู้ว่าตนเอง อยากทาอาชีพอะไรตั้งแต่ในระดับมัธยมศึกษาแล้ว เด็กได้เรียนรู้จากการกระทาได้ฝึกปฏิบัติจริง ได้ เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันกับคนทั่วโลก มองทั่วโลกคือบ้านและสถานที่ทางานของตน
  • 28. 22 บทที่ 3 วิธการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์ 1. กระดาษ 2. ปากกา 3. อินเทอร์เน็ต 4. คอมพิวเตอร์ วิธีการดาเนินงาน ตารางที่ 3.1 วิธีดาเนินงาน การดาเนินงาน ระยะเวลาการดาเนินงาน ต.ค พ.ย ธ.ค ม.ค ก.พ 1. จับกลุ่ม หาสมาชิกในกลุ่ม  2. ปรึกษาหาโครงงานที่จะทา  3. ค้นหาข้อมูลต่างๆ เกี่ยวโครงงาน   4. นาเรื่องที่จะทาโครงงานไปปรึกษาครู  5. จัดทาโครงงานตามแผนที่วางไว้   7. สรุปผลการดาเนินงาน  8. จัดทาสื่อการเรียนรู้เพื่อนามาเผยแพร่  9. นาข้อมูลของโครงงานมาเผยแพร่ 