SlideShare a Scribd company logo
ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ SURIN POC
  กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร
          สานักงานจังหวัดสุรินทร์
               สิงหาคม 2551
คานา

          กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์ ในฐานะที่เป็นหน่วยงาน
กากับดูแล ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ มีการให้บริการระบบเครือข่ายภายในจังหวัดสุรินทร์ ทั้งใน
หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยมีศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงาน
ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานหลักที่ให้บริการระบบเครือข่าย รวมทั้งสร้างความเข้าใจและให้
ความรูเกี่ยวกับการใช้ระบบงาน และวิธีการแก้ไขปัญหาการใช้งานระบบเครือข่าย
        ้
          กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์ จึงได้จัดทาเอกสาร
ประกอบการอบรมระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งานขึ้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของ จังหวัด
สุรินทร์ มีความรู้พื้นฐานในการตรวจสอบและการใช้งานระบบเครือข่าย เพื่อสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
การปฏิบัติงาน และตรวจสอบปัญหาเบื้องต้นที่เกิดขึ้นกับการใช้งานระบบเครือข่ายได้ คณะผู้จัดทาหวัง
เป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้
จะเป็นประโยชน์กับผู้ใช้งาน หากพบข้อผิดพลาดในเอกสารคู่มือฉบับนี้ หรือมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
เกี่ยวกับการใช้งาน ขอความกรุณาแจ้งมาได้ที่ s_srithai@yahoo.com หรือ ทีกลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ
                                                                        ่
และการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์ เพื่อทาการแก้ไขปรับปรุงให้มีความถูกต้องและสมบูรณ์ยิ่ง ขึน ้
ในการจัดพิมพ์ครั้งต่อๆ ไป



                                                           กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร
                                                                          สานักงานจังหวัดสุรินทร์
                                                                                 สิงหาคม 2551
สารบัญ
เรื่อง                                                          หน้า
     เครือข่ายคอมพิวเตอร์                                      1
     ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์                             1
           - เครือข่าย LAN(Local Area Network)                  1
           - เครือข่าย MAN(Metropolitan Area Network)           2
           - เครือข่าย WAN(Wide Area Network)                   2
     โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย(Topology Network)          3
           - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส (Bus Network)          3
           - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสตาร์ (Star Network)       4
           - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบริง(Ring Network)          5
           - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม(Mesh Network)          6
           - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless Network)   6
     รูปแบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย                  7
           - Peer to Peer                                       7
           - Client Server                                      7
     โปรโตคอลของระบบเครือข่าย(Network Protocal)                8
     อุปกรณ์เครือข่ายและสายสัญญาณ                              9
          - Repeater                                            9
          - HUB                                                 9
          - Bridge                                              9
          - Router                                              10
          - Switch                                              10
          - Firewall                                            10
          - Gateway                                             10
          - โมเด็ม                                              10
          - การ์ดเชื่อมต่อเครือข่ายหรือแลนการ์ด                 11
- ตัวกลางในการเชื่อมโยง                     11
        > สายคู่บิดเกลียว                        11
        > สายโคแอกเชียล                          12
        > เส้นใยแก้วนาแสง                        12
 การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์         13
     - การแชร์ไฟล์                               13
     - การแชร์พริ้นเตอร์                         14
     - การดูชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์               18
     - การดูหมายเลข IP Address                   19
     - การ Ping                                  20
     - การเข้าหัว RJ45                           21
     - การใช้งาน FTP                             22
 ความรู้ในการติดตั้งระบบ LAN                    23
 อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง(ADSL)                  26
 หลักเกณฑ์การใช้งานและบารุงรักษาระบบเครือข่าย   29
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
         ในปัจจุบันเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านี้ เข้าเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น
เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ
ตลอดจนสามารถทางานร่วมกัน ได้
         สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และ
การเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร ซึ่งการโอนย้ายข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนา
ข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกัน
ใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานคอมพิวเตอร์มากขึ้นจากเดิม


    ประเภทของเครือข่าย

         ระบบเครือข่ายแบบต่างๆ จะมีความสามารถและคุณลักษณะเฉพาะตัวแตกต่างกัน ซึ่งเป็น
หน้าที่ของนักออกแบบระบบที่จะต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาคุณลักษะเฉพาะเหล่านั้น เพื่อเลือกใช้
งานระบบเครือข่ายให้เหมาะสมกับระบบงานและความต้องการใช้งานมากที่สุด ซึ่งในปัจจุบันสามารถ
แบ่งระบบเครือข่ายออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
         1. เครือข่าย LAN (Local Area Network)
         เป็นเครือข่ายระดับท้องถิ่น มีระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ 30 เมตร ซึ่งในระบบแลนหนึ่ง ๆ
อาจประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์จานวนเท่าใดก็ได้ แต่ทุกเครื่องจะต้องได้รับการเชื่อมต่อให้สามารถ
รับส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โดยอาจเป็นการสื่อสารแบบมีส าย เช่น สายทวิสเตดแพร์ เคเบิลใยแก้วนาแสง
หรืออาจเป็นการสื่อสารแบบไร้สาย เช่น อินฟราเรดก็ได้
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      2
         LAN นอกจากจะเป็นเครือข่ายที่ใช้เพื่อการสื่อสารกันภายในองค์กรแล้ว ยังเป็นเครือข่ายพื้นฐาน
สาหรับเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นๆ อีกด้วย เช่น เครือข่ายอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ต เป็นต้น เครือข่าย
LAN เหมาะสมกับระบบงานที่เป็นการทางานระยะใกล้ เช่น ในห้องเดียวกัน ภายในอาคารเดียวกัน หรือ
อาคารใกล้เคียงกัน เป็นต้น
         เครือข่ายแบบ LAN นั้นได้รับความนิยมในองค์กรต่างๆ เป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นองค์กรขนาด
เล็กหรือขนาดใหญ่ เนื่องจาก LAN เป็นเครือข่ายพื้นฐานสาคัญในการเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตของ
เครืองคอมพิวเตอร์ต่างๆ ภายในองค์ กร สามารถใช้งานทรัพยากรที่มีอยู่ร่ วมกันได้ เช่น การแชร์
    ่
ไฟล์ข้อมูล ฐานข้อมูล และเครื่องพิมพ์ และยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้ออุปกรณ์ที่สามารถใช้
งานร่วมกันได้ เป็นต้น
         2. เครือข่าย MAN(Metropolitan Area Network)
         เป็นเครือข่ายระดับเมือง มีขนาดใหญ่กว่า LAN โดยมีระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ 50
กิโลเมตร มักเกิดจากการเชื่อมโยงเครือข่าย LAN ในบริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เข่น การเผยแพร่
ข้อมูลภาพด้วยระบบเคเบิลทีวี การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ระหว่างสานักงานในเขตเมืองใหญ่ การส่งข้อมูล
ด้วยคลื่นวิทยุซึ่งการส่งข้อมูลจะเป็นลักษณะของเครื อข่ายแบบแพร่กระจายข้อมูลคล้ายกับดาวเทียม
หรือระบบเซลลูลาร์โฟนซึ่งเป็นเครือข่ายที่มีการนามาประยุกต์ใช้กับโทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน




           3. เครือข่าย WAN(Wide Area Network)
           เป็นเครือข่ายบริเวณกว้าง ซึ่งจะมีขอบเขตการเชื่อมต่อที่กว้างไกลกว่า เครือข่าย LAN โดย
           เครือข่าย WAN เกิดขึ้นจากการนาเครือข่าย LAN ตั้งแต่ 2 เครือข่ายขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน ซึ่งเมื่อ
           เชื่อมต่อกันแล้วจะก่อให้ เกิดเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ในระดับจังหวัด ประเทศ หรือข้าม
           ทวีปเลยก็ได้


-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      3




    โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย(Topology Network)

      ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 2 เครื่องขึ้นไป มีลักษณะการเชื่อมต่อ
ภายในเครือข่าย LAN ได้ 5 รูปแบบดังนี้

     การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส(Bus Network)
       เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในพื้นที่เดียวกันโดยใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อ ซึ่งเรียกว่า
       “บัส(Bus)”
เป็นทางเดินของข้อมูลร่วมกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยสัญญาณจะถู กกระจายไปตลอดเส้นทาง




           ข้อดีของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส
           - การใช้สายส่งข้อมูลจะใช้สายส่งข้อมูลร่วมกันทาให้ใช้สายส่งข้อมูลได้อย่างเต็ม
               ประสิทธิภาพช่วยลดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและการบารุงรักษา
           - เครือข่ายแบบบัสมีโครงสร้างที่ง่ายและมีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้น
               เดียว


-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      4
           - การเพิ่มจุดใช้บริการใหม่เข้าไปในเครือข่ายสามารถทาได้ง่าย เนื่องจากจุดใหม่จะใช้สายส่ง
             ข้อมูลที่มีอยู่แล้วได้

           ข้อเสียของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส
           - การหาข้อผิดพลาดทาได้ยาก เนื่องจากในเครือข่าย จะไม่มีศูนย์กลางในการควบคุมอยู่ที่จุด
               ใด
               จุดหนึ่ง ดังนั้นการตรวจสอบข้อผิดพลาดจึงต้องทาจากหลายๆ จุดในเครือข่าย
           - ในกรณีที่เกิดการเสียหายในสายส่งข้อมูล จะทาให้ทั้งเครือข่ายไม่สามารถทางานได้
           - เมื่อมีผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น อาจทาให้เกิดการชนกันของข้อมูลเมื่อมีการรับส่งข้อมูล

      การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสตาร์(Star Network)
       เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลาง โดยใช้ฮับ (Hub)
       หรือสวิตซ์
       (Switch) เป็นจุดเชื่อมต่อ และจะเรียกคอมพิวเตอร์ ที่เป็นศูนย์กลางนั้นว่า “โฮสต์คอมพิวเตอร์
       (Host Computer)”




           ข้อดีของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสตาร์
           - เครือข่ายแบบสตาร์จะมีโฮสต์ค อมพิวเตอร์อยู่ที่จุดเดียว ทาให้ง่ายในการติดตั้งหรือจัดการ
               กับระบบ
           - จุดใช้งาน 1 จุด ต่อกับสายส่งข้อมูล 1 เส้น เมื่อเกิดการเสียหายของจุดใช้งานใดในเครือข่าย
               จะไม่ส่งผลกระทบต่อการทางานของจุดอื่นๆ
           - การติดต่อสื่อสารในเครือข่ายแบบสตาร์จะเกี่ยวข้องกันระหว่างโฮสต์คอมพิ วเตอร์กับ
               อุปกรณ์อีกจุดหนึ่งเท่านั้น ส่งผลให้การควบคุมการส่งข้อมูลทาได้ง่าย




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      5
           ข้อเสียของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสตาร์
           - เนื่องจากแต่ละจุดจะต่อโดยตรงกับโฮสต์คอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงต้องใช้สายส่งข้อมูลจานวน
               มาก ทาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในการติดตั้งและบารุ งรักษา
           - การเพิ่มจุดใหม่เข้าในระบบจะต้องเดินสายจากโฮสต์คอมพิวเตอร์ออกมาส่งผลให้การขยาย
               ระบบทาได้ยาก
           - การทางานขึ้นอยู่กับโฮสต์คอมพิวเตอร์ ถ้าโฮสต์คอมพิวเตอร์เกิดเสียหายขึ้น ก็จะไม่สามารถ
               ใช้งานเครือข่ายได้

      การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบริง(Ring Network)
         เป็นเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง โดยมีการเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวน (Ring Network) และส่ง
     ข้อมูลเป็นวงแหวน การรับส่งข้อมูลจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน การติดต่อสื่อสารจะใช้ “โทเค็น”
     (Token) เป็นสื่อกลางในการติดต่อภายในเครือข่าย โดยคอมพิวเตอร์เครื่องใดต้องการส่งข้อมูล จะ
     ทาการจับโทเค็นนี้ไว้แล้วใส่ข้อมูลที่ต้องการลงในโทเค็น จากนั้นก็ปล่อยโทเค็นออกไป โทเค็นจะวน
     ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเจอเครื่องคอมพิวเตอร์เป้าหมายในการส่ง
     คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็จะรับข้อมูลในโทเค็นไว้ แล้วจึงปล่อยโทเค็นให้เป็นอิสระโทเค็นก็จะว่างอีก




           ข้อดีของเครือข่ายแบบริง
           - ใช้สายส่งข้อมูลน้อย ความยาวของสายส่งข้อมูลที่ใช้ในเครือข่ายแบบนี้จะใกล้เคียงกับแบบ
               บัส แต่จะน้อยกว่าแบบสตาร์ ทาให้เพิ่มความน่าเชื่อถือของการส่งข้อมูลได้มากขึ้น
           - เหมาะสาหรับการใช้เคเบิลเส้นใยแก้วนาแสง เนื่องจากจะช่วยให้ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็ว
               สูง ข้อมูลในวงแหวนจะเดินทางเดียว ในการส่งแต่ละจุดจะเชื่อมกับจุดติดกันด้วยสายส่ง
               ข้อมูลทาให้สามารถเลือกได้ว่าจะใช้สายส่งข้อมูลแบบไหนในแต่ละส่วนของระบบ เช่น
               เลือกใช้เคเบิลใยแก้วนาแสงในส่วนที่ใช้ในโรงงานซึ่งมีปัญหาด้านสัญญาณไฟฟ้ารบกวน
               มาก เป็นต้น

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      6

           ข้อเสียเครือข่ายแบบริง
           - การส่งข้อมูลบนวงแหวนจะต้องผ่านทุกๆ จุดที่อยู่ในวงแหวน ดังนั้นหากมีจุดหนึ่งจุดใด
               เสียหาย ทั้งเครือข่ายก็จะไม่สามารถติดต่อกันได้ จนกว่าจะนาจุดที่ จะเสียหายออกไป หรือ
               แก้ไขให้ใช้งานได้
           - ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดอาจจะต้องทดสอบระหว่างจุดกับจุดถัดไป เพื่อหาดูว่าจุดใด
               เสียหาย ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากเสียเวลามาก
           - ยากต่อการเพิ่มจุดใช้งานใหม่

      การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม(Mesh Network)
        การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม เป็ นเครือข่ายที่ไม่มีรูปแบบแน่นอน เครือข่ายแบบผสมนี้จะใช้
     การผสมรูปแบบการเชื่อมต่อหลายๆรูปแบบเข้าด้วยกัน เช่น ใช้เครือข่ายแบบบัสผสมกับเครือข่าย
     แบบสตาร์ เป็นต้น

      การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless Network)
          ปัจจุบันการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ได้มีการพั ฒนาเทคโนโลยีที่เรียกว่า “Wireless Networking”
     หรือเครือข่ายไร้สายขึ้นมา ซึ่งเริ่มแรกนั้นสามารถรับส่งข้อมูลได้ 2 Mbps จนพัฒนาให้สามารถส่ง
     ข้อมูลได้ 11 Mbps ด้วยราคาที่ถูกลง ทาให้เครือข่ายไร้สายได้รับความนิยมมากขึ้น ซึ่งเครือข่ายไร้
     สายจะใช้เทคโนโลยีที่สามารถส่งข้อมูลไปด้วยความถี่ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้ เรียว่า “Spread
     Spectrum” โดยข้อมูลที่แยกส่งออกไปนั้นจะประกอบกันเหมือนเดิมที่ ตัวรับสัญญาณ นอกจากนี้
     Spread Spectrum ยังรองรับการใช้งานที่ความเร็ว 11 Mbps บนย่านความถี่ 2.4 GHz และมี
     คุณสมบัติป้องกันไม่ให้สัญญาณระหว่างผู้ใช้งานรบกวนกัน
          เครือข่ายไร้สายจะช่วยอานวยความสะดวกและความคล่องตัวในการใช้งานเครือข่าย ไม่ว่าจะ
     อยู่ที่ไหนภายในบริเวณพื้นที่ของเครือข่ายก็สามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ข้อมูลได้อย่างเต็มที่
     เช่นเดียวกับเครือข่ายปกติ ซึ่งการติดต่อด้วยเครือข่ายไร้สายนี้สามารถเชื่อ มต่อแบบ Peer-to-peer ก็
     ได้โดยใช้อุปกรณ์ WLAN (Wireless LAN)




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      7


 รูปแบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย

      Peer-to-Peer network หรือเครือข่ายแบบทัดเทียม
         เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายแบบPeer-to-Peer นี้ จะสามารถแบ่งปันทรัพยากร
ต่างๆ เช่น ไฟล์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น เพื่อใช้กันภายในเครือข่ายได้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะ
ทางานในลักษณะที่ทัดเทียมกัน การเชื่อมต่อแบบ Peer-to-Peer มักกระทาในเครือข่ายขนาดเล็กที่มี
การเชื่อมต่อไม่เกิน 10 เครื่อง




       Client /Server network หรือเครือข่ายผู้บริการและผู้ให้บริการ
         โดยปกติเมื่อมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องถูกเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายแล้ว จะต้องมีเครื่อง
คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทาหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ให้บริการต่างๆ เช่น เป็นศูนย์กลางในการจัดเก็บข้อมูล
ไฟล์ หรือโปรแกรมต่างๆ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับทรัพยากรที่อยู่ในระบบเครือข่าย เช่น
เครื่องพิมพ์ CD-ROM ซึ่งการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ร่วมกันทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายของอุปกรณ์ดังกล่าวได้




ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับเซิร์ฟเวอร์เพื่อจะใช้บริการดังกล่าวเรียกว่าไคลเอ็นท์ ดังนั้น
คอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์จะต้องมีประสิทธิภาพสู ง และมีราคาแพงกว่าเครื่องไคลเอ็นท์ทั่วไป


-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      8

  โปรโตคอลของระบบเครือข่าย(Network Protocal)
         โปรโตคอลของระบบเครือข่าย (Network Protocal) หรือที่นิยมเรียกกันว่า โปรโตคอลสแตก
(Protocal stack) ก็คือชุดชองกฎหรือข้อตกลงในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อให้
แต่ละสถานีในเครือข่ายสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่างถูกต้อง โดยโปรโตคอลของระบบ
เครือข่ายส่วนมากจะทาหน้าที่ในการประสานงานระหว่า งแผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย (NIC) กับ
ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (NOS) ระบบเครือข่ายที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน จะมีโปรโตคอลสแตกที่ได้รับ
ความนิยมใช้งานกันอยู่หลายโปรโตคอล ซึ่งแต่ละโปรโตคอลก็จะใช้จัดการในงานของเครือข่ายคล้าย ๆ
กัน และในกรณีที่ระบบเครือข่ายเชื่อมอยู่กับคอมพิวเตอร์หลายแบบ จะสามารถใช้งานหลาย ๆ
โปรโตคอลแสตก พร้อมกันผ่านเครือข่ายได้ เช่น ใช้ IPX/SPX สาหรับ Network และใช้ TCP/IP ในการ
ติดต่อกับ UNIX ผ่าน LAN แบบ Ethernet พร้อม ๆ กัน เป็นต้น
ตัวอย่างของโปรโตคอลแสตกที่มีใช้งานอยู่ในปัจจุบัน คือ
      NetBIOS และ NetBUIE
    โปรโตคอล NetBIOS (Network Basic Input/Output System) พัฒนาร่วมกันโดย IBM และ
Microsoft มีการใช้งานอยู่ในเครือข่าย หลาย ๆ ชนิด อย่างไรก็ดี NetBIOS เป็นโปรโตคอลที่ทางานอยู่
ในระดับ Session Layer เท่านั้น จึงไม่ได้เป็นโปรโตคอลสาหรับเครือข่ายโดยสมบูรณ์ จึงได้พัฒนา
โปรโตคอล NetBUIE (Network Extended User Interface) ซึ่งเป็นส่วนขยายเพิ่มเติมของ NetBIOS ที่
ทางานอยู่ใน Network Layer และ Transport Layer จะพบการใช้งานได้ใน Windows for Workgroups
และ Windows NT
      IPX/SPX
     เป็นโปรโตคอลของบริษัท Novell ซึ่งพัฒนาขึ้นมาใช้กับ Netware มีพื้นฐานมาจากโปรโตคอล XNS
(Xerox Network Services) ของบริษัท Xerox โปรโตคอล IPX (Internetwork Packet Exchange) จะ
เป็นโปรโตคอลที่ทางานอยู่ใน Network Layer ใช้จัดการการแลกเปลี่ยน packet ภายใน Network ทั้งใน
ส่วนของการหาปลายทางและการจัดส่ง packet ส่วน SPX (Sequenced Packet Exchange) จะเป็น
โปรโตคอลที่ทางานอยู่ใน Transport Layer โดยมีหน้าที่ในการจัดการให้ข้อมูลส่งไปถึงจุดหมายได้อย่าง
แน่นอน
     TCP/IP
    เป็นโปรโตคอลที่ได้รับการพัฒนามาจากทุนวิจัยของ U.S. Department of Defense's Advanced
Research Project Agency (DARPA) ได้รับการใช้งานกันมากใน Internet และระบบ UNIX แบบต่าง ๆ
ทาให้อาจกล่าวได้ว่าเป็นโปรโตคอลที่ได้รับความนิยมสูงสุดในขณะนี้ โดยมีการใช้งานมากทั้งใน LAN
และ WAN โปรโตคอล TCP/IP จะเป็นชุดของโปรโตคอลซึ่งรับหน้าที่ในส่วนต่าง ๆ กัน และมีการแบ่งเป็น
2 ระดับ (layer) คือ IP Layer และ TCP Layer
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      9


  อุปกรณ์เครือข่ายและสายสัญญาณ

        อุปกรณ์เครือข่าย (Network Device) ได้แก่อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับส่งข้อมูล
ในเครือข่าย หรือใช้สาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การส่งข้อมูลที่ไกลขึ้น หรือใช้สาหรับขยายเครือข่ายให้
มีขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป ได้แก่ อุปกรณ์ทวนสัญญาณ ฮับ บริดจ์ เราท์
เตอร์ สวิตซ์ และเกตเวตย์ มีรายละเอียดต่อไปนี้
       Repeater (อุปกรณ์ทวนสัญญาณ) ทาหน้าที่รับสัญญาณดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่
        ( Regenerate )ให้เป็นเหมือนสัญญาณ(ข้อมูล)เดิมที่ส่งมาจากต้นทาง จากนั้นค่อยส่งต่อ
        ออกไปยังอุปกรณ์ตัวอื่นๆ เหตุที่ต้องใช้ Repeater เนื่องจากการส่งสัญญาณไปในตัวกลางที่
        เป็นสายสัญญาณนั้น เมื่อระยะทางมากขึ้นแรงดันของสัญญาณจะลดลงเรื่อยๆ จึงไม่สามารถ
        ส่งสัญญาณในระยะทางไกล ๆได้ ดังนั้นการใช้ Repeater จะทาให้สามารถส่งสัญญาณไปได้
        ไกลขึ้น โดยที่สัญญาณไม่สูญหาย
       HUB เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ใน เครือข่าย LAN โดยทาหน้าที่ใน
        การทวนสัญญาณเหมือน Repeater แต่จะกระจายสัญญาณที่ทวนออกไปยังเครื่อง
        คอมพิวเตอร์ทุกๆเครื่อง ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับฮับ




            จากรูปเป็นการใช้ Hub ในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี
           Port ใช้สาหรับเป็นเส้นทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์
           เครือข่ายตัวอื่น ๆ
       Bridge เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้า
        ด้วยกัน แต่มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะ
        ส่งต่อได้ โดยตรวจสอบว่าข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      10




       Router เป็นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่าย หรือมากกว่าเข้าด้วยกันและสามารถกรอง
         ข้อมูลได้ เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่า ตรงที่สามารถค้นหาเส้นทางในการ
         ส่งแพ็คแก็ตข้อมูลไปยังปลายทางได้สั้นที่สุด
       Switch มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ
        - Layer-2 Switch หรือ L2 Switch ก็คือ Bridge แต่เป็น Bridgeที่มี Interfaceในการเชื่อมต่อ
             กับ Segment มากขึ้นทาให้สามารถแบ่งเครือข่าย Lan ย่อย ๆ เพื่อประโยชน์ในการบริหาร
             จัดการเครือข่ายได้ดียิ่งขึ้น และมีประสิทธิภาพในการทางานสูงกว่า Bridgeทาให้ใน
             ปัจจุบันนิยมใช้ L2 Switch แทน Bridge
        - Layer-3 Switchหรือ L 3 Switch ก็ คือ Router ที่ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
             แต่มีราคาถูกลง โดย L3 Switch นี้จะสามารถจัดการกับเครือข่ายที่มี Segment มากๆ ได้
             ดีกว่า Router
       Firewall เป็นได้ทั้งอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่องค์กรต่างๆมีไว้เพื่อ ป้องกันเครือข่าย
        คอมพิวเตอร์ของตนจากอันตรายที่มาจากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายนอก เช่น ผู้บุกรุก หรือ
        Hacker Firewall จะอนุญาตให้เฉพาะข้อมูลที่มีคุณลักษณะตรงกับเงื่อนไขที่กาหนดไว้ผ่านเข้า
        ออกระบบเครือข่ายเท่านั้น ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ มี firewall สาหรับป้องกันผู้บุกรุก
        ภายนอก โดยมีการกาหนดสิทธิการเข้าใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย สามารถป้องกัน
        เครื่องที่มีการปลอมแปลง IP เพื่อมาเข้าใช้บริการ และทาหน้าที่ป้องกันไวรัสบางประเภทที่เข้า
        มาทาให้ช่องทางการสื่อสารเต็ม นอกจากนี้ยังเก็บบันทึกข้อมูลการใช้งานระหว่างเครือข่าย
        คอมพิวเตอร์กรมฯกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ภายนอก
      Gateway เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายต่างๆเข้าด้วยกัน ซึ่งในปัจจุบันนี้
        ได้รวมการทางานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทาให้ Router สามารถทางานเป็น
        Gateway ได้ จึงไม่จาเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว
      โมเด็ม (Modem) ย่อมาจากคาว่า "Modulator/Demodulator" เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลง
       สัญญาณคอมพิวเตอร์ ให้สามารถส่งสัญญาณผ่าน สายโทรศัพท์เพื่อติดต่อสื่อสารกับ
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      11
           คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ โมเด็มจะมีทั้งชนิดเชื่อมต่อภายนอก
           (External Modem) และชนิดที่เป็นการ์ดอยู่ภาย ในเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internal Modem)
      การ์ดเชื่อมต่อเครือข่ายหรือแลนการ์ด (Network Interface Card : NIC)
       อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมระหว่างคอมพิวเตอร์กับสายสัญญาณคือการ์ดเชื่อมเครือข่าย การ์ดนี้ส่วน
       ใหญ่จะติดตั้งภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเสียบลงบนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์ ส่วนพอร์ต
       ในการเชื่อมต่อกับสายสัญญาณจะอยู่ทางด้านหลังของเครื่องคอมพิวเตอร์ ช่วยในการควบคุม
       การรับส่งข้อมูล
      ตัวกลางในการเชื่อมโยง
       ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน
       ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

          1) สายคู่บิดเกลียว
          สายคู่บิดเกลียว (twisted pair) แต่ละคู่สายทองแดงจะถูกพันกันตามมาตรฐานเพื่อลดการ
รบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิลเดียวกันหรือจากภายนอก เนื่องจากสาย
คู่บิดเกลียวนี้ยอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผ่านได้ถึง 10 Hz เช่น สายคู่บิดเกลียว 1 คู่ จะสามารถส่ง
สัญญาณเสียงได้ถึง 12 ช่องทาง สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับความหนา
ของสายด้วย กล่าวคือ
สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ ทาให้สามารถส่ง
ข้อมูลด้วยอัตราส่วนสูง โดยทั่วไปแล้วสาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิ ทล สัญญาณที่ส่งเป็นลักษณะคลื่น
                                                                  ั
สี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้หลายเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางได้ไกลหลาย
กิโลเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้าหนักเบาง่ายต่อการติดตั้ง
จึงถูกใช้งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างคือ สายโทรศัพท์ สายแบบนี้มี 2 ชนิดคือ
          - สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้ม
              ด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นดังรูป เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า




                                                    สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน
           - สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair :UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่
             หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้นดังรูป ทาให้สะดวกในการโค้งงอแต่สามารถป้องกันการ
             รบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      12




                                                         สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน
        2) สายโคแอกเชียล
        สายโคแอกเชียลเป็นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันมาก ไม่
ว่าในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ ในการส่งข้อมูลระยะไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือการส่งข้อมูล
สัญญาณวีดิทัศน์ สายโคแอกเชียลที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทัล และชนิด
75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณแอนะล็อก สายโคแอกเชียลจะมีฉนวนหุ้มป้องกันการรบกวนของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้า และสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่ที่
สัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้กว้างถึง 500 MHz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง




                                                          ลักษณะของสายโคแอกเชียล

       3) เส้นใยแก้วนาแสง
       เส้นใยแก้วนาแสง (fiber optic) เป็นการใช้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วย
อัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตจะใช้ได้
ด้วยความเร็ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กับ FDDI จะใช้ได้ด้วยความเร็วสูงถึง 100 เมกะบิต เส้นใยนาแสงมี
ลักษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงแบบจุดไปจุด ดังนั้น จึงเหมาะที่จะใช้กับการเชื่อมโยงระหว่างอาคาร
กับอาคาร ระยะความยาวของเส้นใยนาแสงแต่ละเส้นใช้ความยาวได้ถึง 2 กิโลเมตร เส้นใยแก้วนาแสงจึง
ถูกนาไปใช้เป็นสายแกนหลักเส้นใยแก้วนาแสงนี้จะมีบทบาทมากขึ้น เพราะมีแนวโน้มที่จะให้ความเร็วที่
สูงมาก




                                                          ลักษณะของเส้นใยแก้วนาแสง



-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      13

    การประยุกต์ใช้งานระบบเครือข่ายและคอมพิวเตอร์
         การแชร์ไฟล์
     มีวิธีการทาดังนี้
              1. การแชร์ไฟล์ สามารถทาการแชร์ได้โดยการสร้างโฟลเดอร์ แล้วนาไฟล์ไปเก็บไว้ใน
                  โฟลเดอร์ จากนั้นคลิกขวาที่โฟลเดอร์ เลือกคาสั่ง Sharing and Security




                      2. จะปรากฏหน้าจอดังรูป คลิกเครื่องหมายถูกหน้าคาว่า Share this folder on the
                         network แล้วตั้งชื่อ Share name คลิก OK วิธีการแชร์อย่างนี้จะเป็นการแชร์แบบ
                         อ่านได้อย่างเดียว แต่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขไฟล์ในโฟลเดอร์นี้ได้




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      14




                      3. ถ้าต้องการแชร์แบบให้สามารถเปลี่ยนแปลงและแก้ไขไฟล์ในโฟลเดอร์ได้ให้คลิก
                         เครื่องหมายถูกที่หน้าคาว่า Allow network users to change my files ด้วย
                         จากนั้นคลิกที่ปุ่ม OK
                      4. จะปรากฏรูปมือที่โฟลเดอร์ที่เราได้ทาการแชร์ไว้ เป็นกระบวนการสิ้นสุดการแชร์
                         โฟลเดอร์



          การแชร์พริ้นเตอร์
           - เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการแชร์พริ้นเตอร์ มีวิธีการแชร์ดังนี้
              1. คลิกที่ปุ่ม Start >Control Panel > Printer and Fax
              2. คลิกขวาที่ไอคอนของเครื่องพิมพ์ เลือกคาสั่ง Sharing




                 3. คลิกเลือกที่ปุ่ม Share this printer แล้วตั้งชื่อ Share name เพื่อใช้อ้างอิงในการแชร์
                    พริ้นเตอร์ จากนั้นกดปุ่ม Apply แล้วคลิก OK เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการแชร์พริ้นเตอร์
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      15




                 4. หากต้องการยกเลิกการแชร์ให้คลิก Do not share this printer แล้วคลิก OK

           - เครื่องที่ต้องการแชร์พริ้นเตอร์จากเครื่องที่ให้บริการ มีวิธีการแชร์ดังนี้
             1. คลิกที่ปุ่ม Start >Control Panel > Printer and Fax
             2. คลิกที่ปุ่ม Add Printer แล้วคลิกปุ่ม Next




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      16
                 3. คลิกเลือก A network printer, or a printer attached to another computer แล้วคลิก
                    ปุ่ม Next




                 4. คลิกเลือกหัวข้อดังนี้
                    4.1 Browse for a printer : ในกรณีที่จาชื่อเครื่องที่ให้บริการแชร์พริ้นเตอร์ไม่ได้




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      17
                      4.2 Connect to this printer for to browse for a printer ,select this…….: ในกรณีที่
                          รู้จักชื่อเครื่องและรู้จักชื่อแชร์เนมของพริ้นเตอร์




                 5. ตอบ Yes เพื่อเซ็ตเป็น เครื่องพริ้นเตอร์ Default เมื่อเราสั่งพิมพ์มันก็จะต้องพิมพ์ออก
                    จากเครื่องพิมพ์นี้โดยอัตโนมัติ จากนั้นคลิกปุ่ม Next แล้วเลือก Finish เป็นการเสร็จสิ้น
                    การแชร์พริ้นเตอร์




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      18
      การดูชื่อเครื่อง (Computer Name)
       1. คลิกขวาที่ไอคอน My Computer ที่หน้าจอ Desktop เลือกคาสั่ง Properties




           2. เลือกแทป Computer Name
           3. สามารถดูได้จากชื่อที่อยู่หลังข้อความ Full Computer name




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      19
                การดูหมายเลข IP Address
                 ดูหมายเลข IP Address จากเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเอง
                 1. ถ้าเป็น Windows 98 ให้ใช้คาสั่ง winipcfg ตามขั้นตอนดังนี้
                        - คลิกที่ปุ่ม Start แล้วเลือก Run
                        - พิมพ์คาสั่ง winipcfg แล้วกด Enter




                            - จะปรากฏหน้าจอดังรูป ให้คลิกปุ่มลูกศรชี้ลงที่อยู่มุมขวาด้านบน เพื่อเลือก
                              ชนิดของแลนการ์ด เราจะมองเห็น IP ของเครื่องเราเอง




           ถ้าเป็น Windows XP/2000 ให้ใช้คาสั่ง ipconfig โดยหมายเลข IP address ดังนี้
                       - คลิกที่ปุ่ม Start แล้วเลือก Run
                       - พิมพ์คาสั่ง cmd แล้วกดปุ่ม OK




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      20




                            - จะปรากฎหน้าต่าง Command Prompt ให้พิมพ์คาสั่ง ipconfig แล้วกด Enter
                              จะปรากฏหมายเลข IP Address ของเครื่อง




                การ Ping
                      เป็นการตรวจสอบสถานะของเครื่องคอมพิวเตอร์ว่าสามารถติดต่อกับเครื่องอื่นใน
                 เครือข่ายได้
                 หรือไม่

                      1. คลิกที่ปุ่ม Start เลือก Run แล้วพิมพ์คาสั่ง cmd




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      21
                      2. พิมพ์คาสั่ง ping แล้วตามด้วยชื่อเครื่องที่เราต้องการติดต่อ หรือหมายเลข IP
                          Address ของเครื่องที่เราต้องการติดต่อ เช่น ถ้าเครื่องที่ให้บริการชื่อ permission ก็
                          ใช้คาสั่งดังนี้
                                    C:/>ping permission
                               จะปรากฏข้อมูล IP Address ของเครื่องที่ให้บริการดังรูป
                      3. ถ้าเครื่องที่เรา ping ได้มีการเชื่อมต่อเครือข่ายไว้ ก็จะปรากฎข้อความ Reply from
                      ……
                      จากเครื่องที่เรา ping ไปหา




              การเข้าหัว RJ45
               หัวเชื่อมต่อ RJ-45 เป็นหัวเชื่อมต่อที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ต่อ
           พ่วงต่างๆในระบบเครือข่าย (LAN) ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายกับหัวเชื่อมต่อแบบ RJ-11 แต่มีขนาด
           ใหญ่กว่าเล็กน้อย และไม่สามารถเสียบเข้ากับปลั๊กโทรศัพท์




             การเข้าหัวสายสัญญาณ มีสองมาตรฐานที่กาหนดไว้ คือ แบบ TIA/EIA568 A เป็นการ
           เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์กระจายสัญญาณ กับเครื่องคอมพิวเตอร์เช่นระหว่าง Switching กับ
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      22
           เครื่องคอมพิวเตอร์ และแบบ TIA/EIA568B เป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมี
           การแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการเรียงลาดับสายสัญญาณ ดังนี้

                                   PIN#            SIGNAL                 EIA/TIA568A             EIA/TIA568B
                                     1           TRANSMIT+                   ขาวเขียว               ขาวส้ม
                                     2           TRANSMIT-                   เขียว                  ส้ม
                                     3            RECEIVE+                   ขาวส้ม                 ขาวเขียว
                                     4            N/A                        น้าเงิน                 น้าเงิน
                                     5            N/A                       ขาวน้าเงิน              ขาวน้าเงิน
                                     6            RECEIVE-                   ส้ม                     เขียว
                                     7            N/A                            ขาว                ขาวน้าตาล
                                                                             น้าตาล
                                     8             N/A                        น้าตาล                  น้าตาล
                                                        แสดงมาตรฐานการเข้าหัว RJ-45

             การใช้งาน FTP
          คือ บริการที่ใช้ในการโอนย้าย file หรือข้อมูลจากคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกคอมพิวเตอร์หนึ่ง ใน
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ถ้าเครื่องนั้นๆ ต่อเข้ากับระบบที่เป็นอินเตอร์เน็ตก็สามารถโอนย้ายข้อมูลกันได้
เครื่อง คอมพิวเตอร์บางที่นั้นจะทาหน้าที่ เป็น ศูนย์รวมของข้อมูลต่าง ๆ เช่น รูปภาพ ,ข้อความ ,บทความ
,คู่มือ และโปรแกรมต่าง ๆ ที่เป็น Freeware หรือ Shareware เและเปิดให้เข้าไปโอนย้ายมาได้ฟรี
โปรแกรมที่จะช่วยในการโอนย้ายข้อมูล ก็เช่น Netscape, Telnet , WSFTP เป็นต้น สามารถติดต่อ
โดยตรงกับผู้ดูแลระบบศูนย์ป ฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ เพื่อขอเปิดใช้บริการ




-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      23


      ความรู้ในการติดตั้งระบบ LAN
โครงสร้างของระบบเครือข่าย : ประกอบด้วย
              o คอมพิวเตอร์หลัก ( Network Server ) ทาหน้าที่ให้บริการทรัพยากร

              o คอมพิวเตอร์ลูกข่าย ( Network client ) เป็นส่วนที่ขอใช้ทรัพยากร

กระบวนการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกันเป็นการทางานร่วมกันของ 2 ส่วน ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซึ่งก็คือ
แผงวงจรเน็ตเวิร์ค ( Network Adapter ) สายเชื่อมต่อ ( Network Cable ) และ ซอฟต์แวร์ ก็คือ
โปรโตคอล ( network Protocol ) ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการ์ดเน็ตเวิร์ค จัดการรูปแบบข้อมูลให้
ติดต่อสื่อสารกัน
การเชื่อมต่อเน็ตเวิร์ค มี 2 แบบ คือ
          1. ระบบ BUS ( Thin Eternet : 10base2 ) เป็นการเชื่อมต่อแบบเรียงลาดับ โดยใช้สายโคแอ็ก
เชียล ( RG58 ) ผ่านหัวต่อ BNC ชนิดตัวที เข้าที่การ์ดแลน ด้านปลายทั้งสองคือ เครื่องแรกและเครื่อง
สุดท้าย ปิดด้วยเทอร์มิเนเตอร์ขนาด 50 โอห์ม เหมาะกับระบบขนาดเล็ก แต่มีข้อเสียคือ ถ้าสายขัดข้องที่
จุดใดจุดหนึ่ง จะใช้งานไม่ได้ทั้งระบบ
          2. ระบบรูปดาว ( Twisted Pair Eternet : 10baseT / UTP ) เชื่อมต่อโดยมีศูนย์กลางกระจาย
ข้อมูลที่เรียกว่า HUB เพื่อกระจายข้อมูลให้กับเครื่องที่ต่ออยู่เสมือนแฉกของดาว โดยใช้สายทองแดงบิด
เกลียว ( Twisted Pair ) ต่อกับหัวต่อชนิด RJ45 ซึ่งมีรูปร่างเหมือนปลั๊กโทรศัพท์ เหมาะกับระบบขนาด
กลางและใหญ่ นอกจากนี้ยังมีระบบที่เชื่อมต่อกันด้วยความเร็ว 100 Mbps. เรียกว่า Twisted Pair
Eternet ( 100baseTX / 100baseT4 ) ซึ่งจะมีอุปกรณ์เฉพาะสาหรับ 100 Mbps
อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ที่เกี่ยวข้องในการติดตั้งระบบ
ก่อนติดตั้งเครือข่ายควรเลือกรูปแบบเพื่อเลือกอุปกรณ์ซึ่งประกอบด้วย
              1. การ์ดแลน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับ-ส่ง ข้อมูลจากพีซีเข้าสู่ระบบเครือข่าย การ์ดรุ่นใหม่จะมี
                   หัวต่ออยู่ทั้งสองประเภท คือ UTP และ BNC ซึ่งสามารถต่อได้ทั้งสองระบบ
              2. หัวต่อสาย ระบบบัสหัวต่อ BNC ตัวที จะได้มาพร้อมการ์ดแลน สายต่อโคแอคเชียล
                   ชนิด RG58 ปลายสายต่อเข้ากับหัวต่อ BNC ตัวเมีย การเข้าหัวต่อทาได้ทั้งวิธีบัดกรี
                   และขันน๊อต หรือหาซื้อสายสาเร็จตามร้านที่ขายระบบแลน และปิด หัว-ท้ายด้วยเทอร์มิ
                   เนอร์เตอร์ 50 โอห์ม
              3. HUB สาหรับระบบรูปดาวเลือก HUB ให้เหมาะกับจานวนของพีซีในระบบ สายต่อใช้
                   สายชนิด 8 เส้น ( ใช้งานจริง 4 เส้น ) ต่อเข้ากับหัวต่อ RJ45 โดยใช้คีมบีบซึ่งเป็นคีมที่ใช้
                   กับสายแลนเฉพาะ

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน                                                                                      24
วิธีการแชร์อินเตอร์เน็ต
           จะต้องมีการเซต ทั้งฝั่งโฮสต์คอมพิวเตอร์และฝั่งไคลเอ็นต์คอมพิวเตอร์ โดยมีวิธีการเซตดังนี้
วิธีการเซ็ตบนโฮสต์คอมพิวเตอร์ ที่มีการแชร์การเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ต
           1. ล็อกอินโฮสต์คอมพิวเตอร์ด้วย Administrator หรือ Owner
           2. คลิ้กที่ปุ่ม Start แล้วคลิ้กที่ Control Panel
           3. ใน Control Panel คลิ้ก Network and Internet Connections ภายใต้ Pick a category
           4. ภายในส่วนนี้ หรือเลือกที่ไอคอน Control Panel แล้วคลิ้ก Network Connections
           5. คลิ้กขวาที่การเชื่อมโยง ที่ใช้ในการเชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ต ตัวอย่าง ถ้าเราเชื่อมโยงไปยัง
อินเทอร์เน็ตโดยใช้ โมเด็ ม ก็ให้คลิ้กขวาที่การเชื่อมโยงที่ต้องการ คือ Dial-up
           6. ปรากฏเมนูช้อตคัตขึ้นมาให้คลิ้กที่ Properties
           7. คลิ้กแท็บ Advanced
           8. ภายใต้ Internet Connection Sharing คลิ้กเลือกเช็กบ็อกซ์ Allow other network users to
connect through this computer's Internet connection
           9. ถ้าเครื่องเราเป็นเครื่องแชร์การเชื่อมโยงของอินเทอร์เน็ตแบบ dial-up และต้องการให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์นี้ทาการเชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ตโดยอัตโนมัติ ให้คลิ้กเลือกเช็กบ็อกซ์ Establish a dial-
up connection whenever a computer on my network attempts to access the Internet
           10. คลิ้ก OK จะมีข้อความตามด้านล่างนี้ปรากฏขึ้นมา
           When Internet Connection Sharing is enabled, your LAN adapter will be set to use IP
 address 192.168.0.1. Your computer may lose connectivity with other computers on your
network. If these other computers have static IP addresses, you should set them to obtain
their IP addresses automatically. Are you sure you want to enable Internet Connection
Sharing?
           11. คลิ้ก Yes
           การเชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ตจะมีการแชร์ให้กับ คอมพิวเตอร์อื่นที่อยู่บนระบบแลนเดียวกัน
(LAN - Local Area Network) สาหรับการตั้งค่าของเน็ตเวิร์กอะแดปเตอร์ที่เชื่อมโยงกับระบบแลนจะใช้
ค่าที่อยู่ IP คงที่เบอร์ 192.168.0.1 และซับเน็ต คือ 255.255.255.0
วิธีการเซ็ตบนไคลเอ็นต์คอมพิวเตอร์
           การเชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ตโดยใช้การแชร์การเชื่อมโยงนั้น จะต้องแน่ใจว่าการตั้งค่า IP ของ
แลน อะแดปเตอร์มีความถูกต้องแล้วจึงมาตั้งค่าที่ไคลเอ็นต์คอมพิวเตอร์
การตั้งค่า IP ของแลนอะแดปเตอร์
           1. ล็อกอินไคลเอ็นต์ด้วย Administrator หรือ Owner
           2. คลิ้กที่ปุ่ม Start แล้วคลิ้กที่ Control Panel
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                                                                                           ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc
                                                              กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย
คู่มือระบบเครือข่าย

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
Meaw Sukee
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงาน
Palm Jutamas
 
ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคีเพื่อการศึกษาแก้ไขวัน๒๘กค
ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคีเพื่อการศึกษาแก้ไขวัน๒๘กคขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคีเพื่อการศึกษาแก้ไขวัน๒๘กค
ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคีเพื่อการศึกษาแก้ไขวัน๒๘กค
Pratuan Kumjudpai
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
Pongsa Pongsathorn
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษ
Samrit Kung
 

What's hot (20)

บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงานใบงานที่ 7  การคำนวณในตารางทำงาน
ใบงานที่ 7 การคำนวณในตารางทำงาน
 
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรมแนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
 
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผ่นพับสัมฤทธิผลการปฏิบัติงานในหน้าที่ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
Thai hemorrhagic stroke guideline 2008
 
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
โครงการใช้เงินรายได้สถานศึกษา ต่อจากกลยุทธ์ ที่ 5น 306
 
เอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdf
เอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdfเอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdf
เอกสารประกอบการอบรม PPT-มัธยม.pdf
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
นำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงานนำเสนอการฝึกงาน
นำเสนอการฝึกงาน
 
ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคีเพื่อการศึกษาแก้ไขวัน๒๘กค
ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคีเพื่อการศึกษาแก้ไขวัน๒๘กคขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคีเพื่อการศึกษาแก้ไขวัน๒๘กค
ขอเชิญร่วมเป็นเจ้าภาพผ้าป่าสามัคคีเพื่อการศึกษาแก้ไขวัน๒๘กค
 
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังของกระทร...
แนวทางการพัฒนา CKD clinic และ เครือข่ายการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง ของกระทร...
 
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผลแผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
แผ่นพับ อาหารส่งเสริมการหายของแผล
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ  (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
หนังสือประชาสัมพันธ์โครงการฯ (การผลิตและพัฒนาสื่อฯ ประจำปี 2557)
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษ
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 พื้นฐานระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
Tum WinNing
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
Peerapat Thungsuk
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Kalib Karn
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
Naruk Naendu
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
Mevenwen Singollo
 
แนวข้อสอบระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ Os
แนวข้อสอบระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ Osแนวข้อสอบระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ Os
แนวข้อสอบระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ Os
Champ Phinning
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
Mevenwen Singollo
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Lupin F'n
 
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นบทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
Pat Sirikan Bungkaew
 

Viewers also liked (20)

บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารกลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
กลุ่ม5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสาร
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง บริการระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ใบงานที่ 4 เรื่อง บริการระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตใบงานที่ 4 เรื่อง บริการระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ใบงานที่ 4 เรื่อง บริการระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
 
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียนคู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
คู่มือการอบรมหลักสูตรสำหรับผู้ใช้งานระบบโครงข่ายไร้สายในโรงเรียน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 
01011101
0101110101011101
01011101
 
P cs
P csP cs
P cs
 
Augmented Reality
Augmented RealityAugmented Reality
Augmented Reality
 
C chap2
C chap2C chap2
C chap2
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การผลิตสื่อการเรียนการสอนยุคใหม่สไตล์ Aurasma
การผลิตสื่อการเรียนการสอนยุคใหม่สไตล์ Aurasmaการผลิตสื่อการเรียนการสอนยุคใหม่สไตล์ Aurasma
การผลิตสื่อการเรียนการสอนยุคใหม่สไตล์ Aurasma
 
KKU e-Learning
KKU e-LearningKKU e-Learning
KKU e-Learning
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
แนวข้อสอบระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ Os
แนวข้อสอบระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ Osแนวข้อสอบระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ Os
แนวข้อสอบระบบปฎิบัติการคอมพิวเตอร์ Os
 
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
แนวข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วย วิชาเอกคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศแนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นบทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
บทที่6 คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 

Similar to คู่มือระบบเครือข่าย

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ARAM Narapol
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
nuchanad
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Meaw Sukee
 
Basic network
Basic networkBasic network
Basic network
kruniid
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7
Kru Jhair
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
Mareeyalosocity
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
PTtp WgWt
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Noomim
 
อุปกรณเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณเครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Praewpan Surawattanawan
 

Similar to คู่มือระบบเครือข่าย (20)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ความหมายและประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Basic network
Basic networkBasic network
Basic network
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
Home network
Home networkHome network
Home network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7 คอมม.4บทที่7
คอมม.4บทที่7
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อุปกรณเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณเครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

More from ssrithai

คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2554
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2554คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2554
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2554
ssrithai
 
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2553
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2553คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2553
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2553
ssrithai
 
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 54
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 54สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 54
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 54
ssrithai
 
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 53
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 53สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 53
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 53
ssrithai
 
Linksys wrt54 gl
Linksys wrt54 glLinksys wrt54 gl
Linksys wrt54 gl
ssrithai
 
การ Config wireless 3 com
การ Config wireless 3 comการ Config wireless 3 com
การ Config wireless 3 com
ssrithai
 

More from ssrithai (6)

คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2554
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2554คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2554
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2554
 
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2553
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2553คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2553
คำรับรองการปฏิบัติราชการปี 2553
 
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 54
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 54สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 54
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 54
 
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 53
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 53สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 53
สรุปผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด 53
 
Linksys wrt54 gl
Linksys wrt54 glLinksys wrt54 gl
Linksys wrt54 gl
 
การ Config wireless 3 com
การ Config wireless 3 comการ Config wireless 3 com
การ Config wireless 3 com
 

คู่มือระบบเครือข่าย

  • 1. ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ SURIN POC กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์ สิงหาคม 2551
  • 2. คานา กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์ ในฐานะที่เป็นหน่วยงาน กากับดูแล ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ มีการให้บริการระบบเครือข่ายภายในจังหวัดสุรินทร์ ทั้งใน หน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค โดยมีศูนย์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานหลักที่ให้บริการระบบเครือข่าย รวมทั้งสร้างความเข้าใจและให้ ความรูเกี่ยวกับการใช้ระบบงาน และวิธีการแก้ไขปัญหาการใช้งานระบบเครือข่าย ้ กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์ จึงได้จัดทาเอกสาร ประกอบการอบรมระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งานขึ้น เพื่อให้เจ้าหน้าที่ของ จังหวัด สุรินทร์ มีความรู้พื้นฐานในการตรวจสอบและการใช้งานระบบเครือข่าย เพื่อสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน การปฏิบัติงาน และตรวจสอบปัญหาเบื้องต้นที่เกิดขึ้นกับการใช้งานระบบเครือข่ายได้ คณะผู้จัดทาหวัง เป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์กับผู้ใช้งาน หากพบข้อผิดพลาดในเอกสารคู่มือฉบับนี้ หรือมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม เกี่ยวกับการใช้งาน ขอความกรุณาแจ้งมาได้ที่ s_srithai@yahoo.com หรือ ทีกลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ ่ และการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์ เพื่อทาการแก้ไขปรับปรุงให้มีความถูกต้องและสมบูรณ์ยิ่ง ขึน ้ ในการจัดพิมพ์ครั้งต่อๆ ไป กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์ สิงหาคม 2551
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1  ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1 - เครือข่าย LAN(Local Area Network) 1 - เครือข่าย MAN(Metropolitan Area Network) 2 - เครือข่าย WAN(Wide Area Network) 2  โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย(Topology Network) 3 - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส (Bus Network) 3 - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสตาร์ (Star Network) 4 - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบริง(Ring Network) 5 - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม(Mesh Network) 6 - การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless Network) 6  รูปแบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย 7 - Peer to Peer 7 - Client Server 7  โปรโตคอลของระบบเครือข่าย(Network Protocal) 8  อุปกรณ์เครือข่ายและสายสัญญาณ 9 - Repeater 9 - HUB 9 - Bridge 9 - Router 10 - Switch 10 - Firewall 10 - Gateway 10 - โมเด็ม 10 - การ์ดเชื่อมต่อเครือข่ายหรือแลนการ์ด 11
  • 4. - ตัวกลางในการเชื่อมโยง 11 > สายคู่บิดเกลียว 11 > สายโคแอกเชียล 12 > เส้นใยแก้วนาแสง 12  การประยุกต์ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 13 - การแชร์ไฟล์ 13 - การแชร์พริ้นเตอร์ 14 - การดูชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ 18 - การดูหมายเลข IP Address 19 - การ Ping 20 - การเข้าหัว RJ45 21 - การใช้งาน FTP 22  ความรู้ในการติดตั้งระบบ LAN 23  อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง(ADSL) 26  หลักเกณฑ์การใช้งานและบารุงรักษาระบบเครือข่าย 29
  • 5. เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เหล่านี้ เข้าเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของระบบให้สูงขึ้น เพิ่มการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง มีการแบ่งใช้งานอุปกรณ์และข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนสามารถทางานร่วมกัน ได้ สิ่งสาคัญที่ทาให้ระบบข้อมูลมีขีดความสามารถเพิ่มขึ้น คือ การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน และ การเชื่อมต่อหรือการสื่อสาร ซึ่งการโอนย้ายข้อมูล หมายถึง การนาข้อมูลมาแบ่งกันใช้งาน หรือการนา ข้อมูลไปใช้ประมวลผลในลักษณะแบ่งกันใช้ทรัพยากร เช่น แบ่งกันใช้ซีพียู แบ่งกันใช้ฮาร์ดดิสก์ แบ่งกัน ใช้โปรแกรม และแบ่งกันใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ที่มีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ การเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายจึงเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งานคอมพิวเตอร์มากขึ้นจากเดิม ประเภทของเครือข่าย ระบบเครือข่ายแบบต่างๆ จะมีความสามารถและคุณลักษณะเฉพาะตัวแตกต่างกัน ซึ่งเป็น หน้าที่ของนักออกแบบระบบที่จะต้องใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาคุณลักษะเฉพาะเหล่านั้น เพื่อเลือกใช้ งานระบบเครือข่ายให้เหมาะสมกับระบบงานและความต้องการใช้งานมากที่สุด ซึ่งในปัจจุบันสามารถ แบ่งระบบเครือข่ายออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. เครือข่าย LAN (Local Area Network) เป็นเครือข่ายระดับท้องถิ่น มีระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ 30 เมตร ซึ่งในระบบแลนหนึ่ง ๆ อาจประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์จานวนเท่าใดก็ได้ แต่ทุกเครื่องจะต้องได้รับการเชื่อมต่อให้สามารถ รับส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โดยอาจเป็นการสื่อสารแบบมีส าย เช่น สายทวิสเตดแพร์ เคเบิลใยแก้วนาแสง หรืออาจเป็นการสื่อสารแบบไร้สาย เช่น อินฟราเรดก็ได้
  • 6. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 2 LAN นอกจากจะเป็นเครือข่ายที่ใช้เพื่อการสื่อสารกันภายในองค์กรแล้ว ยังเป็นเครือข่ายพื้นฐาน สาหรับเชื่อมต่อกับเครือข่ายอื่นๆ อีกด้วย เช่น เครือข่ายอินทราเน็ตและอินเตอร์เน็ต เป็นต้น เครือข่าย LAN เหมาะสมกับระบบงานที่เป็นการทางานระยะใกล้ เช่น ในห้องเดียวกัน ภายในอาคารเดียวกัน หรือ อาคารใกล้เคียงกัน เป็นต้น เครือข่ายแบบ LAN นั้นได้รับความนิยมในองค์กรต่างๆ เป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นองค์กรขนาด เล็กหรือขนาดใหญ่ เนื่องจาก LAN เป็นเครือข่ายพื้นฐานสาคัญในการเชื่อมต่อเข้ากับอินเตอร์เน็ตของ เครืองคอมพิวเตอร์ต่างๆ ภายในองค์ กร สามารถใช้งานทรัพยากรที่มีอยู่ร่ วมกันได้ เช่น การแชร์ ่ ไฟล์ข้อมูล ฐานข้อมูล และเครื่องพิมพ์ และยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการจัดซื้ออุปกรณ์ที่สามารถใช้ งานร่วมกันได้ เป็นต้น 2. เครือข่าย MAN(Metropolitan Area Network) เป็นเครือข่ายระดับเมือง มีขนาดใหญ่กว่า LAN โดยมีระยะทางการเชื่อมต่อประมาณ 50 กิโลเมตร มักเกิดจากการเชื่อมโยงเครือข่าย LAN ในบริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เข่น การเผยแพร่ ข้อมูลภาพด้วยระบบเคเบิลทีวี การเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ระหว่างสานักงานในเขตเมืองใหญ่ การส่งข้อมูล ด้วยคลื่นวิทยุซึ่งการส่งข้อมูลจะเป็นลักษณะของเครื อข่ายแบบแพร่กระจายข้อมูลคล้ายกับดาวเทียม หรือระบบเซลลูลาร์โฟนซึ่งเป็นเครือข่ายที่มีการนามาประยุกต์ใช้กับโทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน 3. เครือข่าย WAN(Wide Area Network) เป็นเครือข่ายบริเวณกว้าง ซึ่งจะมีขอบเขตการเชื่อมต่อที่กว้างไกลกว่า เครือข่าย LAN โดย เครือข่าย WAN เกิดขึ้นจากการนาเครือข่าย LAN ตั้งแต่ 2 เครือข่ายขึ้นไปมาเชื่อมต่อกัน ซึ่งเมื่อ เชื่อมต่อกันแล้วจะก่อให้ เกิดเป็นระบบเครือข่ายขนาดใหญ่ในระดับจังหวัด ประเทศ หรือข้าม ทวีปเลยก็ได้ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 7. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 3 โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่าย(Topology Network) ในการติดต่อสื่อสารระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์มากกว่า 2 เครื่องขึ้นไป มีลักษณะการเชื่อมต่อ ภายในเครือข่าย LAN ได้ 5 รูปแบบดังนี้  การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส(Bus Network) เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ในพื้นที่เดียวกันโดยใช้สายสัญญาณเชื่อมต่อ ซึ่งเรียกว่า “บัส(Bus)” เป็นทางเดินของข้อมูลร่วมกันระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยสัญญาณจะถู กกระจายไปตลอดเส้นทาง ข้อดีของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส - การใช้สายส่งข้อมูลจะใช้สายส่งข้อมูลร่วมกันทาให้ใช้สายส่งข้อมูลได้อย่างเต็ม ประสิทธิภาพช่วยลดค่าใช้จ่ายในการติดตั้งและการบารุงรักษา - เครือข่ายแบบบัสมีโครงสร้างที่ง่ายและมีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากใช้สายส่งข้อมูลเพียงเส้น เดียว ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 8. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 4 - การเพิ่มจุดใช้บริการใหม่เข้าไปในเครือข่ายสามารถทาได้ง่าย เนื่องจากจุดใหม่จะใช้สายส่ง ข้อมูลที่มีอยู่แล้วได้ ข้อเสียของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส - การหาข้อผิดพลาดทาได้ยาก เนื่องจากในเครือข่าย จะไม่มีศูนย์กลางในการควบคุมอยู่ที่จุด ใด จุดหนึ่ง ดังนั้นการตรวจสอบข้อผิดพลาดจึงต้องทาจากหลายๆ จุดในเครือข่าย - ในกรณีที่เกิดการเสียหายในสายส่งข้อมูล จะทาให้ทั้งเครือข่ายไม่สามารถทางานได้ - เมื่อมีผู้ใช้งานเพิ่มขึ้น อาจทาให้เกิดการชนกันของข้อมูลเมื่อมีการรับส่งข้อมูล  การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสตาร์(Star Network) เป็นการเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลาง โดยใช้ฮับ (Hub) หรือสวิตซ์ (Switch) เป็นจุดเชื่อมต่อ และจะเรียกคอมพิวเตอร์ ที่เป็นศูนย์กลางนั้นว่า “โฮสต์คอมพิวเตอร์ (Host Computer)” ข้อดีของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสตาร์ - เครือข่ายแบบสตาร์จะมีโฮสต์ค อมพิวเตอร์อยู่ที่จุดเดียว ทาให้ง่ายในการติดตั้งหรือจัดการ กับระบบ - จุดใช้งาน 1 จุด ต่อกับสายส่งข้อมูล 1 เส้น เมื่อเกิดการเสียหายของจุดใช้งานใดในเครือข่าย จะไม่ส่งผลกระทบต่อการทางานของจุดอื่นๆ - การติดต่อสื่อสารในเครือข่ายแบบสตาร์จะเกี่ยวข้องกันระหว่างโฮสต์คอมพิ วเตอร์กับ อุปกรณ์อีกจุดหนึ่งเท่านั้น ส่งผลให้การควบคุมการส่งข้อมูลทาได้ง่าย ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 9. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 5 ข้อเสียของการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบสตาร์ - เนื่องจากแต่ละจุดจะต่อโดยตรงกับโฮสต์คอมพิวเตอร์ ดังนั้นจึงต้องใช้สายส่งข้อมูลจานวน มาก ทาให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในการติดตั้งและบารุ งรักษา - การเพิ่มจุดใหม่เข้าในระบบจะต้องเดินสายจากโฮสต์คอมพิวเตอร์ออกมาส่งผลให้การขยาย ระบบทาได้ยาก - การทางานขึ้นอยู่กับโฮสต์คอมพิวเตอร์ ถ้าโฮสต์คอมพิวเตอร์เกิดเสียหายขึ้น ก็จะไม่สามารถ ใช้งานเครือข่ายได้  การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบริง(Ring Network) เป็นเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพสูง โดยมีการเชื่อมต่อกันเป็นวงแหวน (Ring Network) และส่ง ข้อมูลเป็นวงแหวน การรับส่งข้อมูลจะเป็นไปในทิศทางเดียวกัน การติดต่อสื่อสารจะใช้ “โทเค็น” (Token) เป็นสื่อกลางในการติดต่อภายในเครือข่าย โดยคอมพิวเตอร์เครื่องใดต้องการส่งข้อมูล จะ ทาการจับโทเค็นนี้ไว้แล้วใส่ข้อมูลที่ต้องการลงในโทเค็น จากนั้นก็ปล่อยโทเค็นออกไป โทเค็นจะวน ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ต่างๆไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเจอเครื่องคอมพิวเตอร์เป้าหมายในการส่ง คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็จะรับข้อมูลในโทเค็นไว้ แล้วจึงปล่อยโทเค็นให้เป็นอิสระโทเค็นก็จะว่างอีก ข้อดีของเครือข่ายแบบริง - ใช้สายส่งข้อมูลน้อย ความยาวของสายส่งข้อมูลที่ใช้ในเครือข่ายแบบนี้จะใกล้เคียงกับแบบ บัส แต่จะน้อยกว่าแบบสตาร์ ทาให้เพิ่มความน่าเชื่อถือของการส่งข้อมูลได้มากขึ้น - เหมาะสาหรับการใช้เคเบิลเส้นใยแก้วนาแสง เนื่องจากจะช่วยให้ส่งข้อมูลได้ด้วยความเร็ว สูง ข้อมูลในวงแหวนจะเดินทางเดียว ในการส่งแต่ละจุดจะเชื่อมกับจุดติดกันด้วยสายส่ง ข้อมูลทาให้สามารถเลือกได้ว่าจะใช้สายส่งข้อมูลแบบไหนในแต่ละส่วนของระบบ เช่น เลือกใช้เคเบิลใยแก้วนาแสงในส่วนที่ใช้ในโรงงานซึ่งมีปัญหาด้านสัญญาณไฟฟ้ารบกวน มาก เป็นต้น ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 10. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 6 ข้อเสียเครือข่ายแบบริง - การส่งข้อมูลบนวงแหวนจะต้องผ่านทุกๆ จุดที่อยู่ในวงแหวน ดังนั้นหากมีจุดหนึ่งจุดใด เสียหาย ทั้งเครือข่ายก็จะไม่สามารถติดต่อกันได้ จนกว่าจะนาจุดที่ จะเสียหายออกไป หรือ แก้ไขให้ใช้งานได้ - ในการตรวจสอบข้อผิดพลาดอาจจะต้องทดสอบระหว่างจุดกับจุดถัดไป เพื่อหาดูว่าจุดใด เสียหาย ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากเสียเวลามาก - ยากต่อการเพิ่มจุดใช้งานใหม่  การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม(Mesh Network) การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบผสม เป็ นเครือข่ายที่ไม่มีรูปแบบแน่นอน เครือข่ายแบบผสมนี้จะใช้ การผสมรูปแบบการเชื่อมต่อหลายๆรูปแบบเข้าด้วยกัน เช่น ใช้เครือข่ายแบบบัสผสมกับเครือข่าย แบบสตาร์ เป็นต้น  การเชื่อมต่อเครือข่ายแบบไร้สาย(Wireless Network) ปัจจุบันการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ได้มีการพั ฒนาเทคโนโลยีที่เรียกว่า “Wireless Networking” หรือเครือข่ายไร้สายขึ้นมา ซึ่งเริ่มแรกนั้นสามารถรับส่งข้อมูลได้ 2 Mbps จนพัฒนาให้สามารถส่ง ข้อมูลได้ 11 Mbps ด้วยราคาที่ถูกลง ทาให้เครือข่ายไร้สายได้รับความนิยมมากขึ้น ซึ่งเครือข่ายไร้ สายจะใช้เทคโนโลยีที่สามารถส่งข้อมูลไปด้วยความถี่ที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาได้ เรียว่า “Spread Spectrum” โดยข้อมูลที่แยกส่งออกไปนั้นจะประกอบกันเหมือนเดิมที่ ตัวรับสัญญาณ นอกจากนี้ Spread Spectrum ยังรองรับการใช้งานที่ความเร็ว 11 Mbps บนย่านความถี่ 2.4 GHz และมี คุณสมบัติป้องกันไม่ให้สัญญาณระหว่างผู้ใช้งานรบกวนกัน เครือข่ายไร้สายจะช่วยอานวยความสะดวกและความคล่องตัวในการใช้งานเครือข่าย ไม่ว่าจะ อยู่ที่ไหนภายในบริเวณพื้นที่ของเครือข่ายก็สามารถเข้าถึงข้อมูลและใช้ข้อมูลได้อย่างเต็มที่ เช่นเดียวกับเครือข่ายปกติ ซึ่งการติดต่อด้วยเครือข่ายไร้สายนี้สามารถเชื่อ มต่อแบบ Peer-to-peer ก็ ได้โดยใช้อุปกรณ์ WLAN (Wireless LAN) ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 11. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 7 รูปแบบการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย  Peer-to-Peer network หรือเครือข่ายแบบทัดเทียม เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในเครือข่ายแบบPeer-to-Peer นี้ จะสามารถแบ่งปันทรัพยากร ต่างๆ เช่น ไฟล์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น เพื่อใช้กันภายในเครือข่ายได้ โดยเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะ ทางานในลักษณะที่ทัดเทียมกัน การเชื่อมต่อแบบ Peer-to-Peer มักกระทาในเครือข่ายขนาดเล็กที่มี การเชื่อมต่อไม่เกิน 10 เครื่อง  Client /Server network หรือเครือข่ายผู้บริการและผู้ให้บริการ โดยปกติเมื่อมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายๆเครื่องถูกเชื่อมต่อเข้ากับเครือข่ายแล้ว จะต้องมีเครื่อง คอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งทาหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ให้บริการต่างๆ เช่น เป็นศูนย์กลางในการจัดเก็บข้อมูล ไฟล์ หรือโปรแกรมต่างๆ นอกจากนี้ยังทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับทรัพยากรที่อยู่ในระบบเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์ CD-ROM ซึ่งการใช้ทรัพยากรเหล่านี้ร่วมกันทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายของอุปกรณ์ดังกล่าวได้ ส่วนเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับเซิร์ฟเวอร์เพื่อจะใช้บริการดังกล่าวเรียกว่าไคลเอ็นท์ ดังนั้น คอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์จะต้องมีประสิทธิภาพสู ง และมีราคาแพงกว่าเครื่องไคลเอ็นท์ทั่วไป ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 12. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 8 โปรโตคอลของระบบเครือข่าย(Network Protocal) โปรโตคอลของระบบเครือข่าย (Network Protocal) หรือที่นิยมเรียกกันว่า โปรโตคอลสแตก (Protocal stack) ก็คือชุดชองกฎหรือข้อตกลงในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อให้ แต่ละสถานีในเครือข่ายสามารถรับส่งข้อมูลระหว่างกันได้อย่างถูกต้อง โดยโปรโตคอลของระบบ เครือข่ายส่วนมากจะทาหน้าที่ในการประสานงานระหว่า งแผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย (NIC) กับ ระบบปฏิบัติการเครือข่าย (NOS) ระบบเครือข่ายที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน จะมีโปรโตคอลสแตกที่ได้รับ ความนิยมใช้งานกันอยู่หลายโปรโตคอล ซึ่งแต่ละโปรโตคอลก็จะใช้จัดการในงานของเครือข่ายคล้าย ๆ กัน และในกรณีที่ระบบเครือข่ายเชื่อมอยู่กับคอมพิวเตอร์หลายแบบ จะสามารถใช้งานหลาย ๆ โปรโตคอลแสตก พร้อมกันผ่านเครือข่ายได้ เช่น ใช้ IPX/SPX สาหรับ Network และใช้ TCP/IP ในการ ติดต่อกับ UNIX ผ่าน LAN แบบ Ethernet พร้อม ๆ กัน เป็นต้น ตัวอย่างของโปรโตคอลแสตกที่มีใช้งานอยู่ในปัจจุบัน คือ  NetBIOS และ NetBUIE โปรโตคอล NetBIOS (Network Basic Input/Output System) พัฒนาร่วมกันโดย IBM และ Microsoft มีการใช้งานอยู่ในเครือข่าย หลาย ๆ ชนิด อย่างไรก็ดี NetBIOS เป็นโปรโตคอลที่ทางานอยู่ ในระดับ Session Layer เท่านั้น จึงไม่ได้เป็นโปรโตคอลสาหรับเครือข่ายโดยสมบูรณ์ จึงได้พัฒนา โปรโตคอล NetBUIE (Network Extended User Interface) ซึ่งเป็นส่วนขยายเพิ่มเติมของ NetBIOS ที่ ทางานอยู่ใน Network Layer และ Transport Layer จะพบการใช้งานได้ใน Windows for Workgroups และ Windows NT  IPX/SPX เป็นโปรโตคอลของบริษัท Novell ซึ่งพัฒนาขึ้นมาใช้กับ Netware มีพื้นฐานมาจากโปรโตคอล XNS (Xerox Network Services) ของบริษัท Xerox โปรโตคอล IPX (Internetwork Packet Exchange) จะ เป็นโปรโตคอลที่ทางานอยู่ใน Network Layer ใช้จัดการการแลกเปลี่ยน packet ภายใน Network ทั้งใน ส่วนของการหาปลายทางและการจัดส่ง packet ส่วน SPX (Sequenced Packet Exchange) จะเป็น โปรโตคอลที่ทางานอยู่ใน Transport Layer โดยมีหน้าที่ในการจัดการให้ข้อมูลส่งไปถึงจุดหมายได้อย่าง แน่นอน  TCP/IP เป็นโปรโตคอลที่ได้รับการพัฒนามาจากทุนวิจัยของ U.S. Department of Defense's Advanced Research Project Agency (DARPA) ได้รับการใช้งานกันมากใน Internet และระบบ UNIX แบบต่าง ๆ ทาให้อาจกล่าวได้ว่าเป็นโปรโตคอลที่ได้รับความนิยมสูงสุดในขณะนี้ โดยมีการใช้งานมากทั้งใน LAN และ WAN โปรโตคอล TCP/IP จะเป็นชุดของโปรโตคอลซึ่งรับหน้าที่ในส่วนต่าง ๆ กัน และมีการแบ่งเป็น 2 ระดับ (layer) คือ IP Layer และ TCP Layer ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 13. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 9 อุปกรณ์เครือข่ายและสายสัญญาณ อุปกรณ์เครือข่าย (Network Device) ได้แก่อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่จัดการเกี่ยวกับการรับส่งข้อมูล ในเครือข่าย หรือใช้สาหรับทวนสัญญาณเพื่อให้การส่งข้อมูลที่ไกลขึ้น หรือใช้สาหรับขยายเครือข่ายให้ มีขนาดใหญ่ขึ้น อุปกรณ์เครือข่ายที่พบเห็นโดยทั่วไป ได้แก่ อุปกรณ์ทวนสัญญาณ ฮับ บริดจ์ เราท์ เตอร์ สวิตซ์ และเกตเวตย์ มีรายละเอียดต่อไปนี้  Repeater (อุปกรณ์ทวนสัญญาณ) ทาหน้าที่รับสัญญาณดิจิตอลเข้ามาแล้วสร้างใหม่ ( Regenerate )ให้เป็นเหมือนสัญญาณ(ข้อมูล)เดิมที่ส่งมาจากต้นทาง จากนั้นค่อยส่งต่อ ออกไปยังอุปกรณ์ตัวอื่นๆ เหตุที่ต้องใช้ Repeater เนื่องจากการส่งสัญญาณไปในตัวกลางที่ เป็นสายสัญญาณนั้น เมื่อระยะทางมากขึ้นแรงดันของสัญญาณจะลดลงเรื่อยๆ จึงไม่สามารถ ส่งสัญญาณในระยะทางไกล ๆได้ ดังนั้นการใช้ Repeater จะทาให้สามารถส่งสัญญาณไปได้ ไกลขึ้น โดยที่สัญญาณไม่สูญหาย  HUB เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ใน เครือข่าย LAN โดยทาหน้าที่ใน การทวนสัญญาณเหมือน Repeater แต่จะกระจายสัญญาณที่ทวนออกไปยังเครื่อง คอมพิวเตอร์ทุกๆเครื่อง ที่มีการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับฮับ จากรูปเป็นการใช้ Hub ในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์เข้ากับเครือข่าย ซึ่งที่ Hub จะมี Port ใช้สาหรับเป็นเส้นทางในการเชื่อมต่อระหว่าง Hub กับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ เครือข่ายตัวอื่น ๆ  Bridge เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเชื่อมต่อ Segment ของเครือข่าย 2 Segment หรือมากกว่าเข้า ด้วยกัน แต่มีความสามารถมากกว่า Hub และ Repeater กล่าวคือ สามารถกรองข้อมูลที่จะ ส่งต่อได้ โดยตรวจสอบว่าข้อมูลที่ส่งนั้นมีปลายทางอยู่ที่ใด ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 14. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 10  Router เป็นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเครือข่าย 2 เครือข่าย หรือมากกว่าเข้าด้วยกันและสามารถกรอง ข้อมูลได้ เช่นเดียวกับ Bridge แต่มีความสามารถมากกว่า ตรงที่สามารถค้นหาเส้นทางในการ ส่งแพ็คแก็ตข้อมูลไปยังปลายทางได้สั้นที่สุด  Switch มีอยู่ด้วยกัน 2 ชนิด คือ - Layer-2 Switch หรือ L2 Switch ก็คือ Bridge แต่เป็น Bridgeที่มี Interfaceในการเชื่อมต่อ กับ Segment มากขึ้นทาให้สามารถแบ่งเครือข่าย Lan ย่อย ๆ เพื่อประโยชน์ในการบริหาร จัดการเครือข่ายได้ดียิ่งขึ้น และมีประสิทธิภาพในการทางานสูงกว่า Bridgeทาให้ใน ปัจจุบันนิยมใช้ L2 Switch แทน Bridge - Layer-3 Switchหรือ L 3 Switch ก็ คือ Router ที่ได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น แต่มีราคาถูกลง โดย L3 Switch นี้จะสามารถจัดการกับเครือข่ายที่มี Segment มากๆ ได้ ดีกว่า Router  Firewall เป็นได้ทั้งอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่องค์กรต่างๆมีไว้เพื่อ ป้องกันเครือข่าย คอมพิวเตอร์ของตนจากอันตรายที่มาจากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายนอก เช่น ผู้บุกรุก หรือ Hacker Firewall จะอนุญาตให้เฉพาะข้อมูลที่มีคุณลักษณะตรงกับเงื่อนไขที่กาหนดไว้ผ่านเข้า ออกระบบเครือข่ายเท่านั้น ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ มี firewall สาหรับป้องกันผู้บุกรุก ภายนอก โดยมีการกาหนดสิทธิการเข้าใช้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย สามารถป้องกัน เครื่องที่มีการปลอมแปลง IP เพื่อมาเข้าใช้บริการ และทาหน้าที่ป้องกันไวรัสบางประเภทที่เข้า มาทาให้ช่องทางการสื่อสารเต็ม นอกจากนี้ยังเก็บบันทึกข้อมูลการใช้งานระหว่างเครือข่าย คอมพิวเตอร์กรมฯกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ภายนอก  Gateway เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่อระหว่างเครือข่ายต่างๆเข้าด้วยกัน ซึ่งในปัจจุบันนี้ ได้รวมการทางานของ Gateway ไว้ใน Router แล้ว ทาให้ Router สามารถทางานเป็น Gateway ได้ จึงไม่จาเป็นต้องซื้ออุปกรณ์ตัวนี้อีกแล้ว  โมเด็ม (Modem) ย่อมาจากคาว่า "Modulator/Demodulator" เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลง สัญญาณคอมพิวเตอร์ ให้สามารถส่งสัญญาณผ่าน สายโทรศัพท์เพื่อติดต่อสื่อสารกับ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 15. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 11 คอมพิวเตอร์เครื่องอื่นในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ได้ โมเด็มจะมีทั้งชนิดเชื่อมต่อภายนอก (External Modem) และชนิดที่เป็นการ์ดอยู่ภาย ในเครื่องคอมพิวเตอร์ (Internal Modem)  การ์ดเชื่อมต่อเครือข่ายหรือแลนการ์ด (Network Interface Card : NIC) อุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมระหว่างคอมพิวเตอร์กับสายสัญญาณคือการ์ดเชื่อมเครือข่าย การ์ดนี้ส่วน ใหญ่จะติดตั้งภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยเสียบลงบนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์ ส่วนพอร์ต ในการเชื่อมต่อกับสายสัญญาณจะอยู่ทางด้านหลังของเครื่องคอมพิวเตอร์ ช่วยในการควบคุม การรับส่งข้อมูล  ตัวกลางในการเชื่อมโยง ตัวกลางหรือสายเชื่อมโยง เป็นส่วนที่ทาให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกัน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1) สายคู่บิดเกลียว สายคู่บิดเกลียว (twisted pair) แต่ละคู่สายทองแดงจะถูกพันกันตามมาตรฐานเพื่อลดการ รบกวนจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายในเคเบิลเดียวกันหรือจากภายนอก เนื่องจากสาย คู่บิดเกลียวนี้ยอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผ่านได้ถึง 10 Hz เช่น สายคู่บิดเกลียว 1 คู่ จะสามารถส่ง สัญญาณเสียงได้ถึง 12 ช่องทาง สาหรับอัตราการส่งข้อมูลผ่านสายคู่บิดเกลียวจะขึ้นอยู่กับความหนา ของสายด้วย กล่าวคือ สายทองแดงที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางกว้าง จะสามารถส่งสัญญาณไฟฟ้ากาลังแรงได้ ทาให้สามารถส่ง ข้อมูลด้วยอัตราส่วนสูง โดยทั่วไปแล้วสาหรับการส่งข้อมูลแบบดิจิ ทล สัญญาณที่ส่งเป็นลักษณะคลื่น ั สี่เหลี่ยม สายคู่บิดเกลียวสามารถใช้ส่งข้อมูลได้หลายเมกะบิตต่อวินาที ในระยะทางได้ไกลหลาย กิโลเมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียว มีราคาไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี แล้วน้าหนักเบาง่ายต่อการติดตั้ง จึงถูกใช้งานอย่างกว้างขวาง ตัวอย่างคือ สายโทรศัพท์ สายแบบนี้มี 2 ชนิดคือ - สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้ม ด้วยฉนวนชั้นนอกที่หนาอีกชั้นดังรูป เพื่อป้องกันการรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สายคู่บิดเกลียวชนิดหุ้มฉนวน - สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน (Unshielded Twisted Pair :UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่ หุ้มด้วยฉนวนชั้นนอกที่บางอีกชั้นดังรูป ทาให้สะดวกในการโค้งงอแต่สามารถป้องกันการ รบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 16. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 12 สายคู่บิดเกลียวชนิดไม่หุ้มฉนวน 2) สายโคแอกเชียล สายโคแอกเชียลเป็นตัวกลางเชื่อมโยงที่มีลักษณะเช่นเดียวกับสายทีวีที่มีการใช้งานกันมาก ไม่ ว่าในระบบเครือข่ายเฉพาะที่ ในการส่งข้อมูลระยะไกลระหว่างชุมสายโทรศัพท์หรือการส่งข้อมูล สัญญาณวีดิทัศน์ สายโคแอกเชียลที่ใช้ทั่วไปมี 2 ชนิด คือ 50 โอห์ม ซึ่งใช้ส่งข้อมูลแบบดิจิทัล และชนิด 75 โอห์มซึ่งใช้ส่งข้อมูลสัญญาณแอนะล็อก สายโคแอกเชียลจะมีฉนวนหุ้มป้องกันการรบกวนของคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า และสัญญาณรบกวนอื่น ๆ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่ทาให้สายแบบนี้มีช่วงความถี่ที่ สัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้กว้างถึง 500 MHz จึงสามารถส่งข้อมูลด้วยอัตราส่งสูง ลักษณะของสายโคแอกเชียล 3) เส้นใยแก้วนาแสง เส้นใยแก้วนาแสง (fiber optic) เป็นการใช้แสงเคลื่อนที่ไปในท่อแก้ว ซึ่งสามารถส่งข้อมูลด้วย อัตราความหนาแน่นของสัญญาณข้อมูลสูงมาก ปัจจุบันถ้าใช้เส้นใยนาแสงกับระบบอีเธอร์เน็ตจะใช้ได้ ด้วยความเร็ว 10 เมกะบิต ถ้าใช้กับ FDDI จะใช้ได้ด้วยความเร็วสูงถึง 100 เมกะบิต เส้นใยนาแสงมี ลักษณะพิเศษที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงแบบจุดไปจุด ดังนั้น จึงเหมาะที่จะใช้กับการเชื่อมโยงระหว่างอาคาร กับอาคาร ระยะความยาวของเส้นใยนาแสงแต่ละเส้นใช้ความยาวได้ถึง 2 กิโลเมตร เส้นใยแก้วนาแสงจึง ถูกนาไปใช้เป็นสายแกนหลักเส้นใยแก้วนาแสงนี้จะมีบทบาทมากขึ้น เพราะมีแนวโน้มที่จะให้ความเร็วที่ สูงมาก ลักษณะของเส้นใยแก้วนาแสง ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 17. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 13 การประยุกต์ใช้งานระบบเครือข่ายและคอมพิวเตอร์  การแชร์ไฟล์ มีวิธีการทาดังนี้ 1. การแชร์ไฟล์ สามารถทาการแชร์ได้โดยการสร้างโฟลเดอร์ แล้วนาไฟล์ไปเก็บไว้ใน โฟลเดอร์ จากนั้นคลิกขวาที่โฟลเดอร์ เลือกคาสั่ง Sharing and Security 2. จะปรากฏหน้าจอดังรูป คลิกเครื่องหมายถูกหน้าคาว่า Share this folder on the network แล้วตั้งชื่อ Share name คลิก OK วิธีการแชร์อย่างนี้จะเป็นการแชร์แบบ อ่านได้อย่างเดียว แต่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงแก้ไขไฟล์ในโฟลเดอร์นี้ได้ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 18. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 14 3. ถ้าต้องการแชร์แบบให้สามารถเปลี่ยนแปลงและแก้ไขไฟล์ในโฟลเดอร์ได้ให้คลิก เครื่องหมายถูกที่หน้าคาว่า Allow network users to change my files ด้วย จากนั้นคลิกที่ปุ่ม OK 4. จะปรากฏรูปมือที่โฟลเดอร์ที่เราได้ทาการแชร์ไว้ เป็นกระบวนการสิ้นสุดการแชร์ โฟลเดอร์  การแชร์พริ้นเตอร์ - เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ให้บริการแชร์พริ้นเตอร์ มีวิธีการแชร์ดังนี้ 1. คลิกที่ปุ่ม Start >Control Panel > Printer and Fax 2. คลิกขวาที่ไอคอนของเครื่องพิมพ์ เลือกคาสั่ง Sharing 3. คลิกเลือกที่ปุ่ม Share this printer แล้วตั้งชื่อ Share name เพื่อใช้อ้างอิงในการแชร์ พริ้นเตอร์ จากนั้นกดปุ่ม Apply แล้วคลิก OK เป็นอันเสร็จสิ้นกระบวนการแชร์พริ้นเตอร์ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 19. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 15 4. หากต้องการยกเลิกการแชร์ให้คลิก Do not share this printer แล้วคลิก OK - เครื่องที่ต้องการแชร์พริ้นเตอร์จากเครื่องที่ให้บริการ มีวิธีการแชร์ดังนี้ 1. คลิกที่ปุ่ม Start >Control Panel > Printer and Fax 2. คลิกที่ปุ่ม Add Printer แล้วคลิกปุ่ม Next ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 20. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 16 3. คลิกเลือก A network printer, or a printer attached to another computer แล้วคลิก ปุ่ม Next 4. คลิกเลือกหัวข้อดังนี้ 4.1 Browse for a printer : ในกรณีที่จาชื่อเครื่องที่ให้บริการแชร์พริ้นเตอร์ไม่ได้ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 21. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 17 4.2 Connect to this printer for to browse for a printer ,select this…….: ในกรณีที่ รู้จักชื่อเครื่องและรู้จักชื่อแชร์เนมของพริ้นเตอร์ 5. ตอบ Yes เพื่อเซ็ตเป็น เครื่องพริ้นเตอร์ Default เมื่อเราสั่งพิมพ์มันก็จะต้องพิมพ์ออก จากเครื่องพิมพ์นี้โดยอัตโนมัติ จากนั้นคลิกปุ่ม Next แล้วเลือก Finish เป็นการเสร็จสิ้น การแชร์พริ้นเตอร์ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 22. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 18  การดูชื่อเครื่อง (Computer Name) 1. คลิกขวาที่ไอคอน My Computer ที่หน้าจอ Desktop เลือกคาสั่ง Properties 2. เลือกแทป Computer Name 3. สามารถดูได้จากชื่อที่อยู่หลังข้อความ Full Computer name ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 23. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 19  การดูหมายเลข IP Address ดูหมายเลข IP Address จากเครื่องคอมพิวเตอร์ของเราเอง 1. ถ้าเป็น Windows 98 ให้ใช้คาสั่ง winipcfg ตามขั้นตอนดังนี้ - คลิกที่ปุ่ม Start แล้วเลือก Run - พิมพ์คาสั่ง winipcfg แล้วกด Enter - จะปรากฏหน้าจอดังรูป ให้คลิกปุ่มลูกศรชี้ลงที่อยู่มุมขวาด้านบน เพื่อเลือก ชนิดของแลนการ์ด เราจะมองเห็น IP ของเครื่องเราเอง ถ้าเป็น Windows XP/2000 ให้ใช้คาสั่ง ipconfig โดยหมายเลข IP address ดังนี้ - คลิกที่ปุ่ม Start แล้วเลือก Run - พิมพ์คาสั่ง cmd แล้วกดปุ่ม OK ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 24. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 20 - จะปรากฎหน้าต่าง Command Prompt ให้พิมพ์คาสั่ง ipconfig แล้วกด Enter จะปรากฏหมายเลข IP Address ของเครื่อง  การ Ping เป็นการตรวจสอบสถานะของเครื่องคอมพิวเตอร์ว่าสามารถติดต่อกับเครื่องอื่นใน เครือข่ายได้ หรือไม่ 1. คลิกที่ปุ่ม Start เลือก Run แล้วพิมพ์คาสั่ง cmd ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 25. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 21 2. พิมพ์คาสั่ง ping แล้วตามด้วยชื่อเครื่องที่เราต้องการติดต่อ หรือหมายเลข IP Address ของเครื่องที่เราต้องการติดต่อ เช่น ถ้าเครื่องที่ให้บริการชื่อ permission ก็ ใช้คาสั่งดังนี้ C:/>ping permission จะปรากฏข้อมูล IP Address ของเครื่องที่ให้บริการดังรูป 3. ถ้าเครื่องที่เรา ping ได้มีการเชื่อมต่อเครือข่ายไว้ ก็จะปรากฎข้อความ Reply from …… จากเครื่องที่เรา ping ไปหา  การเข้าหัว RJ45 หัวเชื่อมต่อ RJ-45 เป็นหัวเชื่อมต่อที่ใช้สาหรับเชื่อมโยงระหว่างคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ต่อ พ่วงต่างๆในระบบเครือข่าย (LAN) ซึ่งจะมีลักษณะคล้ายกับหัวเชื่อมต่อแบบ RJ-11 แต่มีขนาด ใหญ่กว่าเล็กน้อย และไม่สามารถเสียบเข้ากับปลั๊กโทรศัพท์ การเข้าหัวสายสัญญาณ มีสองมาตรฐานที่กาหนดไว้ คือ แบบ TIA/EIA568 A เป็นการ เชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์กระจายสัญญาณ กับเครื่องคอมพิวเตอร์เช่นระหว่าง Switching กับ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 26. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 22 เครื่องคอมพิวเตอร์ และแบบ TIA/EIA568B เป็นการเชื่อมต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งมี การแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับการเรียงลาดับสายสัญญาณ ดังนี้ PIN# SIGNAL EIA/TIA568A EIA/TIA568B 1 TRANSMIT+ ขาวเขียว ขาวส้ม 2 TRANSMIT- เขียว ส้ม 3 RECEIVE+ ขาวส้ม ขาวเขียว 4 N/A น้าเงิน น้าเงิน 5 N/A ขาวน้าเงิน ขาวน้าเงิน 6 RECEIVE- ส้ม เขียว 7 N/A ขาว ขาวน้าตาล น้าตาล 8 N/A น้าตาล น้าตาล แสดงมาตรฐานการเข้าหัว RJ-45  การใช้งาน FTP คือ บริการที่ใช้ในการโอนย้าย file หรือข้อมูลจากคอมพิวเตอร์หนึ่งไปยังอีกคอมพิวเตอร์หนึ่ง ใน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ถ้าเครื่องนั้นๆ ต่อเข้ากับระบบที่เป็นอินเตอร์เน็ตก็สามารถโอนย้ายข้อมูลกันได้ เครื่อง คอมพิวเตอร์บางที่นั้นจะทาหน้าที่ เป็น ศูนย์รวมของข้อมูลต่าง ๆ เช่น รูปภาพ ,ข้อความ ,บทความ ,คู่มือ และโปรแกรมต่าง ๆ ที่เป็น Freeware หรือ Shareware เและเปิดให้เข้าไปโอนย้ายมาได้ฟรี โปรแกรมที่จะช่วยในการโอนย้ายข้อมูล ก็เช่น Netscape, Telnet , WSFTP เป็นต้น สามารถติดต่อ โดยตรงกับผู้ดูแลระบบศูนย์ป ฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ เพื่อขอเปิดใช้บริการ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 27. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 23 ความรู้ในการติดตั้งระบบ LAN โครงสร้างของระบบเครือข่าย : ประกอบด้วย o คอมพิวเตอร์หลัก ( Network Server ) ทาหน้าที่ให้บริการทรัพยากร o คอมพิวเตอร์ลูกข่าย ( Network client ) เป็นส่วนที่ขอใช้ทรัพยากร กระบวนการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกันเป็นการทางานร่วมกันของ 2 ส่วน ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซึ่งก็คือ แผงวงจรเน็ตเวิร์ค ( Network Adapter ) สายเชื่อมต่อ ( Network Cable ) และ ซอฟต์แวร์ ก็คือ โปรโตคอล ( network Protocol ) ซึ่งทาหน้าที่ควบคุมการ์ดเน็ตเวิร์ค จัดการรูปแบบข้อมูลให้ ติดต่อสื่อสารกัน การเชื่อมต่อเน็ตเวิร์ค มี 2 แบบ คือ 1. ระบบ BUS ( Thin Eternet : 10base2 ) เป็นการเชื่อมต่อแบบเรียงลาดับ โดยใช้สายโคแอ็ก เชียล ( RG58 ) ผ่านหัวต่อ BNC ชนิดตัวที เข้าที่การ์ดแลน ด้านปลายทั้งสองคือ เครื่องแรกและเครื่อง สุดท้าย ปิดด้วยเทอร์มิเนเตอร์ขนาด 50 โอห์ม เหมาะกับระบบขนาดเล็ก แต่มีข้อเสียคือ ถ้าสายขัดข้องที่ จุดใดจุดหนึ่ง จะใช้งานไม่ได้ทั้งระบบ 2. ระบบรูปดาว ( Twisted Pair Eternet : 10baseT / UTP ) เชื่อมต่อโดยมีศูนย์กลางกระจาย ข้อมูลที่เรียกว่า HUB เพื่อกระจายข้อมูลให้กับเครื่องที่ต่ออยู่เสมือนแฉกของดาว โดยใช้สายทองแดงบิด เกลียว ( Twisted Pair ) ต่อกับหัวต่อชนิด RJ45 ซึ่งมีรูปร่างเหมือนปลั๊กโทรศัพท์ เหมาะกับระบบขนาด กลางและใหญ่ นอกจากนี้ยังมีระบบที่เชื่อมต่อกันด้วยความเร็ว 100 Mbps. เรียกว่า Twisted Pair Eternet ( 100baseTX / 100baseT4 ) ซึ่งจะมีอุปกรณ์เฉพาะสาหรับ 100 Mbps อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ ที่เกี่ยวข้องในการติดตั้งระบบ ก่อนติดตั้งเครือข่ายควรเลือกรูปแบบเพื่อเลือกอุปกรณ์ซึ่งประกอบด้วย 1. การ์ดแลน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้รับ-ส่ง ข้อมูลจากพีซีเข้าสู่ระบบเครือข่าย การ์ดรุ่นใหม่จะมี หัวต่ออยู่ทั้งสองประเภท คือ UTP และ BNC ซึ่งสามารถต่อได้ทั้งสองระบบ 2. หัวต่อสาย ระบบบัสหัวต่อ BNC ตัวที จะได้มาพร้อมการ์ดแลน สายต่อโคแอคเชียล ชนิด RG58 ปลายสายต่อเข้ากับหัวต่อ BNC ตัวเมีย การเข้าหัวต่อทาได้ทั้งวิธีบัดกรี และขันน๊อต หรือหาซื้อสายสาเร็จตามร้านที่ขายระบบแลน และปิด หัว-ท้ายด้วยเทอร์มิ เนอร์เตอร์ 50 โอห์ม 3. HUB สาหรับระบบรูปดาวเลือก HUB ให้เหมาะกับจานวนของพีซีในระบบ สายต่อใช้ สายชนิด 8 เส้น ( ใช้งานจริง 4 เส้น ) ต่อเข้ากับหัวต่อ RJ45 โดยใช้คีมบีบซึ่งเป็นคีมที่ใช้ กับสายแลนเฉพาะ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์
  • 28. คู่มือระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน 24 วิธีการแชร์อินเตอร์เน็ต จะต้องมีการเซต ทั้งฝั่งโฮสต์คอมพิวเตอร์และฝั่งไคลเอ็นต์คอมพิวเตอร์ โดยมีวิธีการเซตดังนี้ วิธีการเซ็ตบนโฮสต์คอมพิวเตอร์ ที่มีการแชร์การเชื่อมโยงอินเทอร์เน็ต 1. ล็อกอินโฮสต์คอมพิวเตอร์ด้วย Administrator หรือ Owner 2. คลิ้กที่ปุ่ม Start แล้วคลิ้กที่ Control Panel 3. ใน Control Panel คลิ้ก Network and Internet Connections ภายใต้ Pick a category 4. ภายในส่วนนี้ หรือเลือกที่ไอคอน Control Panel แล้วคลิ้ก Network Connections 5. คลิ้กขวาที่การเชื่อมโยง ที่ใช้ในการเชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ต ตัวอย่าง ถ้าเราเชื่อมโยงไปยัง อินเทอร์เน็ตโดยใช้ โมเด็ ม ก็ให้คลิ้กขวาที่การเชื่อมโยงที่ต้องการ คือ Dial-up 6. ปรากฏเมนูช้อตคัตขึ้นมาให้คลิ้กที่ Properties 7. คลิ้กแท็บ Advanced 8. ภายใต้ Internet Connection Sharing คลิ้กเลือกเช็กบ็อกซ์ Allow other network users to connect through this computer's Internet connection 9. ถ้าเครื่องเราเป็นเครื่องแชร์การเชื่อมโยงของอินเทอร์เน็ตแบบ dial-up และต้องการให้เครื่อง คอมพิวเตอร์นี้ทาการเชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ตโดยอัตโนมัติ ให้คลิ้กเลือกเช็กบ็อกซ์ Establish a dial- up connection whenever a computer on my network attempts to access the Internet 10. คลิ้ก OK จะมีข้อความตามด้านล่างนี้ปรากฏขึ้นมา When Internet Connection Sharing is enabled, your LAN adapter will be set to use IP address 192.168.0.1. Your computer may lose connectivity with other computers on your network. If these other computers have static IP addresses, you should set them to obtain their IP addresses automatically. Are you sure you want to enable Internet Connection Sharing? 11. คลิ้ก Yes การเชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ตจะมีการแชร์ให้กับ คอมพิวเตอร์อื่นที่อยู่บนระบบแลนเดียวกัน (LAN - Local Area Network) สาหรับการตั้งค่าของเน็ตเวิร์กอะแดปเตอร์ที่เชื่อมโยงกับระบบแลนจะใช้ ค่าที่อยู่ IP คงที่เบอร์ 192.168.0.1 และซับเน็ต คือ 255.255.255.0 วิธีการเซ็ตบนไคลเอ็นต์คอมพิวเตอร์ การเชื่อมโยงไปยังอินเทอร์เน็ตโดยใช้การแชร์การเชื่อมโยงนั้น จะต้องแน่ใจว่าการตั้งค่า IP ของ แลน อะแดปเตอร์มีความถูกต้องแล้วจึงมาตั้งค่าที่ไคลเอ็นต์คอมพิวเตอร์ การตั้งค่า IP ของแลนอะแดปเตอร์ 1. ล็อกอินไคลเอ็นต์ด้วย Administrator หรือ Owner 2. คลิ้กที่ปุ่ม Start แล้วคลิ้กที่ Control Panel ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ศูนย์ปฏิบัติการจังหวัดสุรินทร์ surin poc กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสุรินทร์