SlideShare a Scribd company logo
ฉบับร่าง ๑
(ฉบับร่าง)
แนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
ฉบับร่าง ๒
คานา
การพัฒนาผู้นายุวชนคนคุณธรรม เป็นกลไกสาคัญยิ่งในการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรงเรียน
คุณธรรม สพฐ. โดยนักเรียนเป็นผู้คิด วางแผนและเป็นผู้ปฏิบัติร่วมกับผู้บริหารครูและบุคลากรเพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายในการสร้างคุณธรรมบนพื้นฐานอัตลักษณ์ของโรงเรียน
เอกสารแนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรมเล่มนี้มุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ
สร้างผู้นายุวชนคนคุณธรรมให้สามารถดาเนินการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม รวมถึงเป็นผู้นาในการขับเคลื่อน
กิจกรรมที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนได้ ดังนั้นหากครูและบุคลากร
ทางการศึกษาและนักเรียนมีเอกสารแนวทางการดาเนินงานที่สามารถนาไปจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรมได้เอง
ในโรงเรียนและนักเรียนสามารถเป็นผู้นาในการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ของตนเองได้
โดยการส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่นอย่างต่อเนื่องจะส่งผลให้การพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมเกิดความต่อเนื่องและมีความ
ยั่งยืน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้จัดทาแนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม ขึ้น
ขอขอบคุณคณะทางานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนในการจัดทาเอกสารเล่มนี้จนสาเร็จ
ด้วยดี และหวังว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวทุกท่านและหน่วยงานต่างๆ ที่สนใจนาไปประยุกต์ใช้
ในการพัฒนาคุณธรรมให้นักเรียนและบุคลากรเพื่อสร้างคนดีให้บ้านเมือง ต่อไป
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ฉบับร่าง ๓
สารบัญ
หน้า
คานา
สารบัญ
ความเป็นมาของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
กิจกรรมของโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ความเป็นมา
จุดมุ่งหมาย
กิจกรรมการดาเนินงาน
สรุปกิจกรรมการดาเนินงาน
การประเมินผลกิจกรรม
ตัวชี้วัดความสาเร็จ
หลักฐาน / ร่องรอย / ลักษณะที่พบ
ผลสาเร็จที่ต้องการให้เกิด
การรายงานผลการดาเนินงาน
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
รายชื่อคณะทางาน
ฉบับร่าง ๔
ความเป็นมาของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ( หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล )ได้กล่าวถึง ศาสตร์
พระราชาซึ่งเป็นศาสตร์ที่ครอบคลุม เรื่องเอกลักษณ์ของชนชาติไทย เช่นการอ่อนน้อมถ่อมตน การเป็น
สุภาพชน ความขยันหมั่นเพียร การซื่อสัตย์สุจริตซึ่งเป็นคุณงามความดีของคนไทยที่บรรพชนไทยได้ปฏิบัติ
สืบทอดต่อกันมา ศาสตร์พระราชาให้ข้อคิดการประพฤติปฏิบัติตนไว้ว่าอย่าคบคนด้วยฐานะ คบคนด้วยความดี
มีมิตรภาพด้วยความรักและความผูกพันและขอให้มีความกตัญญูรู้คุณต่อบิดามารดาผู้มีพระคุณ ประเทศชาติ
และพระมหากษัตริย์ ถ้าทุกคนปฏิบัติตนตามศาสตร์ของพระราชาแล้วก็จะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ประเทศ
ก็จะมีแต่คนดีและทาให้ประเทศเจริญก้าวหน้ารวมทั้งน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้
ในชีวิตประจาวันเพื่อมุ่งให้เกิดภูมิคุ้มกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมเกิดความสมดุลและ
ยั่งยืน แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ
ได้พระราชทานไว้กว่า ๔๐ ปีที่ผ่านมาเพื่อให้ประชาชนชาวไทยนาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองและ
ครอบครัวให้มีภูมิคุ้มกันที่มั่นคงในการดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข จึงนับได้ว่า“ศาสตร์พระราชา” เป็นเสมือน
องค์ความรู้ที่อยู่คู่แผ่นดินไทยซึ่งล้วนมุ่งให้ประชาชนทุกคนปฏิบัติตนเป็น “คนดี” ทั้งคิดดี พูดดี ทาดี ยึดมั่น
ในคุณธรรม จริยธรรม สุจริต มีวินัย และมีความสามัคคีซึ่งกันและกันเพื่อร่วมกันพัฒนาประเทศชาติบ้านเมือง
ให้มีความเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นมั่นคงตลอดไป
นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ มีพระราชกระแสรับสั่งต่อ
ประชาชนชาวไทยให้ “ช่วยสร้างคนดีให้บ้านเมือง” พร้อมทั้งพระราชทานหลัก ๓ ประการ ที่เกี่ยวกับครูและ
นักเรียนไว้ว่า
“ให้ครูรักเด็ก เด็กรักครู”
“ให้ครูสอนให้เด็กมีน้าใจต่อเพื่อนไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเองและให้เด็กที่เรียนเก่งช่วย
สอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่า”
“ให้ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนทาร่วมกันเพื่อให้เห็นคุณค่าของความสามัคคี”
จากพระราชกระแสรับสั่งข้างต้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
ทรงพระราชทานพระบรมราโชวาทด้านการศึกษาเพื่อสานต่อพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๙ ว่าการศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน ๔ ด้าน ดังนี้
๑. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง
๒. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม
๓. มีงานทา-มีอาชีพ
๔. เป็นพลเมืองดี
ฉบับร่าง ๕
เพื่อเป็นการสืบสานศาสตร์พระราชา และสนองพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และพระบรมราโชวาทด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงจัดทาโครงการโรงเรียน
คุณธรรม สพฐ. ขึ้น เพื่อมุ่งปลูกฝังให้ผู้บริหาร ครู นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการปลูกฝังคุณธรรม
๕ ประการ ได้แก่ ๑) พอเพียง ๒) กตัญญู ๓) ซื่อสัตย์สุจริต ๔) ความรับผิดชอบ และ
๕) อุดมการณ์คุณธรรม โดยปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้แต่ละสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา คัดเลือกโรงเรียน
เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. อย่างน้อยร้อยละ ๓๕ และปีงบประมาณ ๒๕๖๑ โรงเรียนทุกโรงเรียน
เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และเพื่อให้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
มีแนวทางในการดาเนินงาน จึงได้จัดทาเอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ขึ้น
จานวน ๑๐ เรื่อง
เอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทา
เอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ตามกิจกรรมที่กาหนดไว้ในโครงการ
จานวน ๑๐ เรื่อง เพื่อให้โรงเรียนและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการพัฒนา
โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยกิจกรรมการดาเนินงาน ประกอบด้วย
เรื่องที่ ๑ แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
เรื่องที่ ๒ แนวทางการจัดทาโครงงานพัฒนาจริยคุณ
เรื่องที่ ๓ แนวทางการผลิตนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เรื่องที่ ๔ แนวทางการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
เรื่องที่ ๕ แนวทางการจัดกิจกรรม ๑๐,๐๐๐ คุรุชน คนคุณธรรม
เรื่องที่ ๖ แนวทางการจัดกิจรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
เรื่องที่ ๗ แนวทางการจัดกิจกรรมครอบครัวคุณธรรม
เรื่องที่ ๘ แนวทางการจัดกิจกรรมโรงเรียนดีต้องมีที่ยืน
เรื่องที่ ๙ แนวทางการนิเทศ กากับ ติดตาม
เรื่องที่ ๑๐ แนวทางการจัดทาภาพยนตร์สั้นโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ฉบับร่าง ๖
ความเป็นมาของแนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรมเป็นแนวทางหนึ่งในการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ตามศาสตร์พระราชา และสนองพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ และ
พระประสงค์ของรัชกาลที่ ๑๐ สู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม ซึ่งการดาเนินงานดังกล่าวจะต้องฝึกภาวะผู้นาให้แก่
นักเรียนแกนนา เพื่อไปเป็นผู้นาในการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนผ่านการจัด
ค่ายยุวชนคนคุณธรรมที่เน้นให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงผ่านการจัดทาโครงงานพัฒนาจริยคุณ
และการปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ เพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายนักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น และ
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ลดลง ปฏิบัติตนเป็นคนดีของครอบครัวโรงเรียน ชุมชนและสังคม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการ
สร้างคนดีให้บ้านเมืองต่อไป
จุดมุ่งหมาย
๑. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเป็นผู้นาในการทาโครงงานคุณธรรมและเป็นผู้นาในการจัดค่ายยุวชน
คนคุณธรรม
๒. เพื่อให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามคุณธรรมอัตลักษณ์ ของโรงเรียนผ่านกิจกรรม
การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
ฉบับร่าง ๗
กิจกรรมการดาเนินงาน
ที่
กิจกรรมหลัก/แนวปฏิบัติ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ
๑. พัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม เม.ย. – พ.ค. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๑.๑ สพท.แต่งตั้งคณะกรรมการและครูแกนนาดาเนินการจัดค่ายผู้นา
เยาวชนด้านคุณธรรม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๑.๒ สพท.แจ้งให้โรงเรียน ส่งนักเรียนที่มีคุณสมบัติความเป็นผู้นาเข้ารับ
การพัฒนาอย่างน้อยโรงเรียนละ๓ - ๕ คนหรือตามที่ สพท.กาหนด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๑.๓ สพท.จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงานจัดค่ายผู้นาเยาวชน
ด้านคุณธรรม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
๑.๔ สพท.ร่วมกับครูแกนนาดาเนินการจัดค่ายผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และครูแกนนา
๑.๕ สพท.และครูแกนนา ประเมินผลการจัดค่ายผู้นาเยาวชน
ด้านคุณธรรม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และครูแกนนา
๑.๖ สพท.สรุปและรายงานผลการจัดค่ายผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมไปยัง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามรูปแบบที่กาหนด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
และครูแกนนา
๒. ค่ายยุวชนคนคุณธรรม พ.ค. – มิ.ย. ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน
๒.๑ โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
(ประกอบด้วยครูแกนนาและผู้นาเยาวชน)
โรงเรียน
๒.๒ ประชุมชี้แจงคณะกรรมการเกี่ยวแนวทางการดาเนินการจัดค่าย
ยุวชนคนคุณธรรม
โรงเรียน
๒.๓ ศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรมในการปลูกฝัง
ให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะ ๕ ประการคือ ๑) พอเพียง ๒) กตัญญู
๓) ซื่อสัตย์สุจริต ๔) ความรับผิดชอบ และ ๕) อุดมการณ์คุณธรรม
และสอดคล้องกับคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน
ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน
๒.๔ ครูแกนนาร่วมกับผู้นาเยาวชนคนคุณธรรมวางแผนและออกแบบ
การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน
๒.๕ ครูแกนนาร่วมกับผู้นาเยาวชนคนคุณธรรมดาเนินการจัดค่ายยุวชน
คนคุณธรรมให้แก่นักเรียนในโรงเรียน
ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน
๒.๖ ครูแกนนาและผู้นาเยาวชนคนคุณธรรมร่วมกัน ประเมินผลการจัด
ค่ายยุวชนคนคุณธรรม
ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน
๒.๗ ครูแกนนาและผู้นาเยาวชนคนคุณธรรมร่วมกันสรุปและรายงานผล
การจัดค่ายฯ ไปยังสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามแบบรายงาน
ที่กาหนด
ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน
๒.๘ โรงเรียนจัดทาแผนงาน/โครงการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม
สู่การปฏิบัติ
ผู้บริหาร ครูและนักเรียน
ฉบับร่าง ๘
แผนภูมิแนวทางการดาเนินงานกิจกรรม
-
ประเมินผลการพัฒนาผู้นาเยาวชน
ผู้นานักเรียนจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม / ผู้นานักเรียนขับเคลื่อนกิจกรรม
โครงงานพัฒนาจริยคุณ
ประเมินผลการจัดค่ายยุวชนคน
คุณธรรม
ประชาสัมพันธ์ /
เผยแพร่องค์ความรู้
การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สพท. วางแผนการพัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม
และแจ้งโรงเรียนส่งนักเรียนแกนนาเข้ารับการพัฒนาโรงเรียนละ ๓-๕ คน
สพท. ดาเนินการพัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม
รายงานผล
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ผู้บริหาร ครู และผู้นาเยาวชนวางแผนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
ดาเนินการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
รายงานผล
ฉบับร่าง ๙
การประเมินผลกิจกรรม
1. การประเมินผลกิจกรรมพัฒนาค่ายผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม และค่ายยุวชนคนคุณธรรม
ที่ ตัวชี้วัดความสาเร็จ หลักฐาน/ร่องรอย/ลักษณะที่พบ
๑. ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการพัฒนาค่ายผู้นาเยาวชน
ด้านคุณธรรม
-แบบสังเกตพฤติกรรม
- ภาพการจัดกิจกรรม
๒. ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการอบรมค่ายยุวชนคนคุณธรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม
- ภาพการจัดกิจกรรม
๓. ร้อยละของนักเรียนที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามกรอบ
คุณธรรม๕ ประการหรือตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน
- แบบสังเกตพฤติกรรม
- แบบประเมินพฤติกรรม
ผลสาเร็จที่ต้องการให้เกิด
๑. ผู้นาเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทาโครงงานคุณธรรมได้
๒. ผู้นาเยาวชนสามารถร่วมเป็นวิทยากรในการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรมได้
๓. นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น
การรายงานผลการดาเนินงาน
เมื่อผู้รับผิดชอบกิจกรรมได้ดาเนินการจัดค่ายผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมและค่ายยุวชน
คนคุณธรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วผู้รับผิดชอบจะต้องจัดทารายงานผลการดาเนินงานเสนอผู้บริหาร/ หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องตามลาดับ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนปฏิบัติงานต่อไป ตามรูปแบบการรายงานผล
การดาเนินงาน ดังนี้
- ค่ายพัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมสู่สังคม เขตพื้นที่การศึกษารายงานผล ต่อสพฐ.
- ค่ายยุวชนคนคุณธรรม โรงเรียนรายงานผลการดาเนินงานต่อเขตพื้นที่การศึกษา
กรุณาส่ง
นายภูธร จันทะหงส์ ปุณญจรัสธารงค์
(โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.)
สนก. สพฐ. อาคาร ๕ชั้น ๑๐กระทรวงศึกษาธิการ
เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐
(ภายในเวลาที่กาหนด)
ฉบับร่าง ๑๐
แบบรายงานการจัดค่ายพัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม
สพท.…………………………………………………..................................เขต……………………………………….................
ผู้รายงาน...…………………………………………………………วัน/เดือน/ปี (ที่รายงาน)…………………………………….....
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. ผู้เข้ารับการอบรม จานวน...........................คน จานวน......................รุ่น
๑). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน
๒). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน
๓). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน
๒. ระยะเวลาในการอบรมในแต่ละรุ่น จานวน....................วัน
๓. หลักสูตรการอบรม ประกอบด้วย (ระบุเรื่องที่อบรม)
๓.๑ ........................................................................................................................................................
๓.๒ ........................................................................................................................................................
๓.๓ ........................................................................................................................................................
๓.๔ ........................................................................................................................................................
๓.๕ ........................................................................................................................................................
๔. วิธีการอบรม (ตอบได้มากกว่า ๑ วิธี)
( ) บรรยาย ( ) ฝึกปฏิบัติจริง ( ) อภิปราย ( ) เสวนา
( ) อื่นๆ (โปรดระบุ).....................................................................................................................
๕. ผลการอบรม (เชิงคุณภาพ)
๓.๑ ........................................................................................................................................................
๓.๒ ........................................................................................................................................................
๓.๓ ........................................................................................................................................................
๓.๔ ........................................................................................................................................................
๓.๕ ........................................................................................................................................................
๖. ปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......
๗. การนาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......
...........…...……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ภาคผนวก
๑. โครงการที่ได้รับอนุมัติ ๒. ตารางการจัดค่าย ๓. คู่มือการจัดค่าย
๔. แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบประเมิน หรือเครื่องมืออื่น ๆ ที่ใช้ในการจัดค่าย
๕. ภาพประกอบการจัดกิจกรรมค่าย/ชิ้นงานของผู้เข้าค่าย (ถ้ามี)
*หมายเหตุ*ให้แนบแผ่น CD ไว้ที่ปกหลังของเอกสาร
ฉบับร่าง ๑๑
แบบรายงานการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
โรงเรียน.........................................................สพท.………………………………................เขต………………….
ผู้รายงาน...………………………………………………………วัน/เดือน/ปี (ที่รายงาน)…………………………………….....
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. ผู้เข้ารับการอบรม จานวน...........................คน จานวน......................รุ่น
๑). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน
๒). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน
๓). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน
๒. ระยะเวลาในการอบรมในแต่ละรุ่น จานวน....................วัน
๓. หลักสูตรการอบรม ประกอบด้วย (ระบุเรื่องที่อบรม)
๓.๑ .......................................................................................................................................................
๓.๒ ......................................................................................................................................................
๓.๓ ......................................................................................................................................................
๓.๔ ......................................................................................................................................................
๓.๕ ......................................................................................................................................................
๔. วิธีการอบรม (ตอบได้มากกว่า ๑ วิธี)
( ) บรรยาย ( ) ฝึกปฏิบัติจริง ( ) อภิปราย ( ) เสวนา
( ) อื่นๆ (โปรดระบุ).....................................................................................................................
๕. ผลการอบรม (เชิงคุณภาพ)
๓.๑ ......................................................................................................................................................
๓.๒ .....................................................................................................................................................
๓.๓ ......................................................................................................................................................
๓.๔ ......................................................................................................................................................
๓.๕ ......................................................................................................................................................
๖. ปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......
๗. การนาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......
...........…...……………………………………………………………………………………………………………………………………………
ภาคผนวก
๑.โครงการที่ได้รับอนุมัติ ๒. ตารางการจัดค่าย ๓. คู่มือการจัดค่าย
๔.แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบประเมิน หรือเครื่องมืออื่น ๆ ที่ใช้ในการจัดค่าย
๕. ภาพประกอบการจัดกิจกรรมค่าย ๖.ชิ้นงานของผู้เข้าค่าย (ถ้ามี)
*หมายเหตุ*ให้แนบแผ่น CD ไว้ที่ปกหลังของเอกสาร
ฉบับร่าง ๑๒
บรรณานุกรม
ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (๒๕๖๐). คู่มือวิทยากรการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๓.
กรุงเทพฯ : บริษัท มาตาการพิมพ์จากัด.
ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (๒๕๕๘) คู่มือปฏิบัติโรงเรียนคุณธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทสหมิตร
พริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง จากัด.
ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (๒๕๖๐) บนเส้นทางสร้างคนดี. กรุงเทพฯ : บริษัทสหมิตรพริ้นติ้ง
แอนด์พับลิสซิ่ง จากัด.
ฉบับร่าง ๑๓
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก. กาหนดการจัดค่ายพัฒนาผู้นาเยาวชนคนคุณธรรม
วันที่หนึ่ง
เวลา เนื้อหา วิทยากร
๐๗.๓๐ – ๐๘.๓๐ ลงทะเบียน/รับเอกสาร
๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ พิธีเปิดการอบรมและบรรยายพิเศษ “ความเป็นมาของ
โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.และ กระบวนการพัฒนาผู้นา
เยาวชนคนคุณธรรม”
ประธานในพิธีหรือ
ผู้แทน
๐๙.๓๐- ๐๙.๔๕ กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑
ชี้แจงระเบียบการจัดค่าย และข้อปฏิบัติระหว่างอยู่ในค่าย
ครูแกนนา
๐๙.๔๕ – ๑๐.๓๐ -ผู้นาและภาวะผู้นาสาหรับผู้นาเยาวชนคนคุณธรรม
- คุณสมบัติ บทบาทหน้าที่และทักษะที่จาเป็นของผู้นายุวชน
คนคุณธรรม (วิทยากรกระบวนการ)๒
วิทยากรหลัก/
ครูแกนนา
๑๐.๓๐ – ๑๐.๔๕ พักรับประทานอาหารว่าง
๑๐.๔๕ – ๑๒.๐๐ - สาระของคุณธรรมจริยธรรม
การเรียนรู้วิธีการค้นหาคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน๓
(ตามใบงานที่ ๑ – ๒)
วิทยากรหลัก/
ครูแกนนา
๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ พักรับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ – ๑๓.๑๕ กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ครูแกนนา
๑๓.๑๕ – ๑๔.๓๐ การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรม๓
ตามใบงานที่ ๓-๔
วิทยากรหลัก/
ครูแกนนา
๑๔.๓๐-๑๔.๔๕ พักรับประทานอาหารว่าง
๑๔.๔๕-๑๖.๓๐ การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรม(ต่อ)๓
ตามในงานที่ ๕- ๖
วิทยากรหลัก/
ครูแกนนา
๑๖.๓๐ – ๑๘.๓๐ พักผ่อนตามอัธยาศัย และรับประทานอาหารเย็น
๑๘.๓๐-๑๘.๔๕ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ครูแกนนา
๑๘.๔๕ – ๒๐.๓๐ เปิดใจ คลายเขิน เดินหน้าหาเพื่อน สู่กระบวนการสร้างทีม
วิทยากร ๔
ครูแกนนา
๒๐.๓๐ - ๒๑.๐๐ กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action
Review : AAR)๑๐
ครูแกนนา
๒๑.๐๐ – ๐๔.๓๐ สวดมนต์ไหว้พระ หรือ ปฏิบัติศาสนกิจ/พักผ่อน
ฉบับร่าง ๑๔
เวลา เนื้อหา วิทยากร
๐๔.๓๐ -๐๕.๐๐ น. - ตื่นทาภารกิจส่วนตัว
๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ศาสตร์พระราชา๕
กิจกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๙และรัชกาลที่ ๑๐
-ชมสารคดี โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
กิจกรรมเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๙และรัชกาลที่ ๑๐
วิทยากรหลัก/ครูแกนนา
๐๕.๓๐-๐๖.๐๐ น. ออกกาลังกาย ครูแกนนา
๐๖.๐๐ -๐๖.๓๐ น. กิจกรรมจิตสาธารณะ ผู้นาเยาวชน
๐๖.๓๐ - ๐๗.๓๐ น. ทาภารกิจส่วนตัว
๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑
ครูแกนนา
๐๘.๔๕ - ๑๐.๓๐ น. การเตรียมความพร้อมฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากรกระบวนการใน
สถานการณ์จริง(ใช้ใบงานให้ผู้นาเยาวชนปฏิบัติ)๖
- อุปกรณ์และสื่อในการจัดค่าย
- เทคนิคการแบ่งกลุ่ม
- เทคนิคการสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
ครูแกนนา
๑๐.๓๐-๑๐.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง
๑๐.๔๕ - ๑๒.๐๐ น. กระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม๗
- กิจกรรมสร้างความตระหนักในความรักชาติ รักท้องถิ่น
- ชมวีดีทัศน์ หรือฟังบรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ของท้องถิ่น (วิทยากรเตรียมคลิปวีดีโอ หรือสื่ออื่นที่เกี่ยวกับประวัติ
ท้องถิ่นของตน เช่น ประวัติความเป็นมาของจังหวัด อาเภอ หรือ
หมู่บ้าน)
ครูแกนนา
๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐-๑๓.๑๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)
๑๓.๑๕-๑๖.๑๕ น. ฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากรกระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
กิจกรรมการเรียนรู้ สู่คุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ
(เวียนฐานที่ ๑ - ๔)๘
ฐานที่ ๑ พอเพียง
ฐานที่ ๒ กตัญญู
ฐานที่ ๓ ซื่อสัตย์สุจริต
ฐานที่ ๔ รับผิดชอบ
ครูแกนนา
๑๖.๑๕ – ๑๗.๐๐ ฐานที่ ๕ อุดมการณ์คุณธรรม (บรรยายรวม) ครูแกนนา
๑๗.๐๐ - ๑๘.๓๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย และรับประทานอาหารเย็น
๑๘.๓๐-๑๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑
ครูแกนนา
๑๘.๔๕ - ๒๐.๓๐ น. “ศาสตร์พระราชา”สู่โรงเรียนคุณธรรม๙
ครูแกนนา
๒๐.๓๐ - ๒๑.๐๐ น. กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action Review)AAR ๑๐
ครูแกนนา
๒๑.๐๐ - ๐๔.๓๐ น. สวดมนต์ไหว้พระ หรือ ปฏิบัติศาสนกิจ /พักผ่อน
วันที่สอง
ฉบับร่าง ๑๕
วันที่สาม
เวลา เนื้อหา วิทยากร
๐๔.๓๐ -๐๕.๐๐ น. ตื่นทาภารกิจส่วนตัว
๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. เรื่องเล่า เร้าพลัง๑๑
- ชวนบอกเล่าเรื่องราวดี ๆ “เด็กดีสร้างได้ ง่ายนิดเดียว”
- เสนอสารคดีดอกไม้บานสื่อสารความดี
ครูแกนนา
๐๕.๓๐-๐๖.๐๐ น. ออกกาลังกาย ครูแกนนา
๐๖.๐๐ -๐๖.๓๐ น. กิจกรรมจิตสาธารณะ ครูแกนนา
๐๖.๓๐ - ๐๗.๓๐ น. ทาภารกิจส่วนตัว
๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑
๐๘.๔๕ - ๑๐.๓๐ น. การฝึกปฏิบัติการจัดการจัดค่ายสาหรับวิทยากรกระบวนการ
โครงงานคุณธรรม
- กิจกรรม “ระดมความคิด....ปัญหาที่อยากแก้ และความดี
ที่อยากทา” (ใบงานที่ ๑ -๓)๓
ครูแกนนา
๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง
๑๐.๔๕ - ๑๒.๐๐ น. กิจกรรม“เรียนรู้และฝึกทาความดี...ด้วยวิถีโครงงานคุณธรรม
(ใบงานที่ ๔-๖)๓
ครูแกนนา
๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๕ น. กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ครูแกนนา
๑๓.๑๕ - ๑๔.๓๐ น. การออกแบบโครงงานคุณธรรม ครูแกนนา
๑๔.๓๐-๑๔.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง
๑๔.๔๕-๑๕.๓๐ น. การนาเสนอโครงงาน ผู้นาเยาวชนคน
คุณธรรม
๑๕.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. การสะท้อนผลการจัดค่าย/พันธสัญญาสู่การปฏิบัติ ครูแกนนา
๑๖.๐๐-๑๖.๓๐ น. พิธีปิดการอบรม / พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ๑๓
เพลงภูมิแผ่นดินนวมินมหาราชา
เพลงสรรเสริญพระบารมี
ประธานในพิธี /
ครูแกนนา
หมายเหตุ : เอกสารประกอบการอบรมสามารถดาวน์โหลดได้ตาม link ที่ปรากฏ
-๑
เกมเพลง : คู่มือวิทยากรการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม บทที่ 4 หน้า ๕๗-๖๕
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGWDNwYzhDQmFoaG8
-๒ ไฟล์นาเสนอบทบาทผู้นา/วิทยากรกระบวนการ
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGQlFZSFJEdlZHWTA?q
ฉบับร่าง ๑๖
-๓
ใบงาน และ วีดิทัศน์กรณีตัวอย่าง
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGMWt0cUhQRGVCTTQ
-๔ ใบงาน วิธีการเปิดใจคลายเขินฯ
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGQzhLWVZFbHJYbmM
-๕
เรื่องเล่า เร้าพลังกิจกรรมเทิดพระเกียรติ
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGVGVsV3pGMkRZOEk
-๖
การฝึกเป็นวิทยากร การวาแผน/เทคนิคการแบ่งกลุ่ม/การสร้างกลุ่มสัมพันธ์
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGMWt0cUhQRGVCTTQ
-๗
กระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม กิจกรรมความรักชาติ/ วีดิทัศน์
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGWFRWVGFmTWh2WXM
-๘ กิจกรรมการเรียนรู้ สู่คุณลักษณะ ๕ ประการ :
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGZW5YRy1Od19XY0k
-๙
ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGWkhTeWg2MWRVUE0
-๑๐ กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action Review :AAR)
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGVnFQNDRxNUpQT0k
-๑๑
เรื่องเล่า เร้าพลัง
- ชวนบอกเล่าเรื่องราวดี ๆ “เด็กดีสร้างได้ ง่ายนิดเดียว”(วิทยากรเชิญชวนให้ผู้เข้ารับการอบรมเล่าเรื่องราวที่ได้
ทาความดีและเกิดความประทับใจ ภาคภูมิใจ)
- เสนอสารคดีดอกไม้บานสื่อสารความดี
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGV0RmZVVuM3lna0E
-๑๒
กิจกรรมจิตสาธารณะ เช่น การรักษาความสะอาดสถานที่อบรม หรือกิจกรรมอื่นตามความเหมาะสม
-๑๓
พิธีปิด/คาปฏิญานตน/เพลงภูมิแผ่นดินนวมินมหาราชา/เพลงสรรเสริญพระบารมี
https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGYzVXSHNYc1A0MEE
ฉบับร่าง ๑๗
ภาคผนวก ข. กาหนดการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
วันที่หนึ่ง
เวลา เนื้อหา วิทยากร
๐๗.๓๐ - ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. พิธีเปิดการอบรมและบรรยายพิเศษ “ความเป็นมาของ
โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.และ กระบวนการจัดค่าย
ยุวชนคนคุณธรรม
ประธานในพิธีหรือผู้แทน
๐๙.๓๐ - ๐๙.๔๕ น. กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา
๐๙.๔๕ - ๑๐.๓๐ น. กระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม๗
ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา- กิจกรรมสร้างความตระหนักในความรักชาติ รักท้องถิ่น
- ชมวีดีทัศน์ หรือฟังบรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ของท้องถิ่น (วิทยากรเตรียมคลิปวีดีโอ หรือสื่ออื่นที่เกี่ยวกับประวัติ
ท้องถิ่นของตน เช่น ประวัติความเป็นมาของจังหวัด อาเภอ หรือ
หมู่บ้าน)
๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง
ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา
ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา
ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา
๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๕ น. กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา๑๓.๑๕ - ๑๔.๓๐ น. ปฏิบัติการเรียนรู้ สู่คุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ
(เวียนฐานที่ ๓ -๕)๘
ฐานที่ ๓ ซื่อสัตย์สุจริต
ฐานที่ ๔ ความรับผิดชอบ
๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง
๑๔.๔๕ – ๑๕.๑๕ ฐานที่ ๕ อุดมการณ์คุณธรรม (บรรยายรวม) ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา
๑๔.๔๕ - ๑๖.๓๐ น. กิจกรรมการเรียนรู้ “ร่วมด้วย....ช่วยกัน”๑๓
- ต่อให้ยาว....สาวให้ยืด
- ระเบิดเถิดเทิง
ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา
๑๖.๓๐ - ๑๘.๓๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย และรับประทานอาหารเย็น
๑๘.๓๐ - ๑๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา๑๘.๔๕ - ๒๐.๓๐ น. “เปิดใจ คลายเขิน เดินหน้าหาเพื่อน สู่กระบวนการสร้างทีม
วิทยากร”๔
๒๐.๓๐ - ๒๑.๐๐ น. กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action Review
:AAR)๑๐
ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา
๒๑.๐๐ - ๐๔.๓๐ น. สวดมนต์ไหว้พระ หรือ ปฏิบัติศาสนกิจ/พักผ่อน
ฉบับร่าง ๑๘
วันที่สอง
เวลา เนื้อหา วิทยากร
๐๔.๓๐ - ๐๕.๐๐ น. ตื่นทาภารกิจส่วนตัว
๐๕.๐๐ - ๐๖.๐๐ น. เรื่องเล่า เร้าพลัง
กิจกรรมเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
- กิจกรรมเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ ๙“ศาสตร์พระราชา”
ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา
๐๖.๐๐ - ๐๖.๓๐ น. กิจกรรมจิตสาธารณะ (ตามที่วิทยากรเห็นสมควรกับเวลา)
๐๖.๓๐ - ๐๗.๓๐ น. ทาภารกิจส่วนตัว
๐๗.๓๐ - ๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า
๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง) ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา๐๘.๔๕ - ๑๐.๓๐ น. กิจกรรม “ระดมความคิด....ปัญหาที่อยากแก้ และความดีที่
อยากทา”
๑๐.๓๐-๑๐.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง
๑๐.๔๕ - ๑๒.๐๐ น. กิจกรรม“เรียนรู้และฝึกทาความดี...ด้วยวิถีโครงงานคุณธรรม ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา
พักรับประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐-๑๓.๑๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)* ผู้นาเยาวชน
และครูแกนนา๑๓.๑๕-๑๔.๓๐ น. กิจกรรม “การนาเสนอตัวอย่าง Moral Project
ในมุมมองของเด็กตัวน้อย ๆ ร้อยสู่โครงงาน
๑๔.๓๐-๑๔.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง
๑๔.๔๕-๑๕.๓๐ น. การสะท้อนผลและการประเมินผลการจัดกิจกรรม และทา
พันธสัญญาสู่การปฏิบัติ
ครูวิทยากรแกนนา
๑๕.๓๐-๑๖.๐๐ น. พิธีปิดการอบรมพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ
เพลงภูมิแผ่นดินนวมินมหาราชา
เพลงสรรเสริญพระบารมี
ครูวิทยากรแกนนา
ฉบับร่าง ๑๙
หมายเหตุ
รหัสเอกสาร / PPT.นาเสนอ
สามารถดาวน์โหลดได้ตาม link ที่ปรากฎ
-๑ เกมและเพลง
-๒ ไฟล์นาเสนอบทบาทผู้นา/วิยากรกระบวนการ
-๓ ใบงาน และ วิดีทัศน์กรณีตัวอย่าง
-๔ ใบงาน วิธีการเปิดใจคลายเขินฯชมวีดีทัศน์ หรือฟังบรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์
ของท้องถิ่น (วิทยากรเตรียมคลิปวีดีโอ หรือสื่ออื่นที่เกี่ยวกับประวัติท้องถิ่นของตน เช่น ประวัติความเป็นมาของ
จังหวัด อาเภอ หรือหมู่บ้าน)
-๕ เรื่องเล่า เร้าพลังกิจกรรมเทิดพระเกียรติ
-๖ การฝึกเป็นวิทยากร การวาแผน/เทคนิคการแบ่งกลุ่ม/การสร้างกลุ่มสัมพันธ์
-๗ กระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม กิจกรรมความรักชาติ/ วีดืทัศน์
-๘ กิจกรรมการเรียนรู้ สู่คุณลักษณะ ๕ ประการ
-๙ “ศาสตร์พระราชา”สู่การพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม
-๑๐ กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action Review :AAR)
-๑๑ สารคดีเด็กดีสร้างได้/ดอกไม้บานสื่อสารความดี
-๑๒ พิธีปิด/คาปฏิญานตน/เพลงภูมิแผ่นดินนวมินมหาราชา/เพลงสรรเสริญพระบารมี
ฉบับร่าง ๒๐
ภาคผนวก ข.กาหนดการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
ใบความรู้
ใบงานที่๑
ใบงานที่ ๒
ใบงานที่ ๓
ใบงานที่ ๔
ใบงานที่ ๕
ใบงานที่ ๖
แบบสังเกตพฤติกรรมผู้นาเยาวชนคนคุณธรรม
แบบประเมินบุคลิกภาพความเป็นผู้นา
แบบประเมินความรู้ความเข้าใจคุณธรรม ๕ ประการ โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ฉบับร่าง ๒๑
ใบความรู้
คุณสมบัติของวิทยากรกระบวนการ หลักสูตรพัฒนาศักยภาพผู้นายุวชนคนคุณธรรม
เป็นกิจกรรมลงมือปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ มีลักษณะเป็นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรม ซึ่ง
วิทยากรกระบวนการจะทาหน้าที่อานวยความสะดวกให้กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ เป็นไปตามขั้นตอนที่แผนการ
เข้าค่ายได้กาหนดไว้ เพื่อให้ผู้นายุวชนเข้ารับการการเรียนรู้ผ่านค่ายยุวชนคนคุณธรรม สามารถปฏิบัติแต่ละ
ขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และ เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง คุณสมบัติของวิทยากรกระบวนการจึงเป็น
ส่วนสาคัญในการสร้างสรรค์กิจกรรมให้น่าสนใจ และเป็นที่ยอมรับของผู้เข้ารับการเข้าค่าย โรงเรียนจึงควร
พิจารณาคุณสมบัติของผู้นายุวชนคนคุณธรรม ซึ่งจะมาทาหน้าที่วิทยากรกระบวนการ เช่น
๑.มีความเข้าใจในกระบวนการกลุ่ม เอาใจใส่กับกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของทีม(Team
Learning) ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วม และยอมรับความแตกต่างหลากหลาย ไม่เป็นเผด็จการ เพื่อให้เกิด
การปรับ วิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared Vision)
๒.ให้ความสาคัญกับกระบวนการสื่อสารแบบ ๒ ทาง (Two-way communication) มีความ
เชื่อมั่น ในพลังทวีคูณ (Synergy)ระหว่างบุคคลภายในกลุ่ม สนับสนุนให้บุคคลในกลุ่มเปิดใจกว้าง เปิดเผย
และไม่มีอคติ
๓.มีวิธีคิดแบบองค์รวม (System Thinking) ไม่แยกส่วน และสามารถจัดให้มีการให้ข้อมูล
ย้อนกลับ มีความคิดสร้างสรรค์ ไม่ติดกรอบ พร้อมที่จะขยาย ปรับ หรือเปลี่ยนแบบแผนทางความคิด กล้าคิด
กล้าทา กล้าจินตนาการ กล้าเปลี่ยนแปลง กล้าตัดสินใจ และมีความรับผิดชอบสูง
๔.มีอารมณ์ดี สมาธิดี ใจเย็น ไม่ตื่นตระหนกง่าย ไม่ฉุ่นเฉียว ไม่เอาแต่ใจตัวเอง มีความฉลาด
ทางอารมณ์ (EQ) มีความสนุก ตื่นเต้นตลอดเวลากับการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่ม มีความละเอียดอ่อน สามารถรับรู้
อารมณ์ ความรู้สึกของบุคคลอื่นได้ง่าย
บทบาทหน้าที่ของวิทยากรกระบวนการ เพื่อให้กิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรมเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ วิทยากรกระบวนการจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมของหลักสูตร
พัฒนาศักยภาพผู้นายุวชนคนคุณธรรม เพื่อนาไปปรับใช้ในการพัฒนาศักยภาพนักเรียนได้ สามารถวาง
แผนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ กระตุ้นการปฏิบัติงานของกลุ่มกิจกรรมค่าย
ให้เป็นไปตามแผนตลอดจนประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับการเข้าค่ายยุวชนคนคุณธรรม กล่าวได้ว่า
วิทยากรกระบวนการจะเป็นผู้รับผิดชอบความสาเร็จของกระบวนการค่ายที่ได้จัดขึ้น จึงควรมีบทบาทหน้าที่
ดังต่อไปนี้
๑. ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง
ผู้เข้าค่าย
๒. ตั้งคาถาม ตั้งประเด็นให้ผู้เข้าค่าย ได้คิด วิเคราะห์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน
เป็นกระจก สะท้อนให้ผู้เข้าค่ายได้เห็นศักยภาพของตน และเข้าใจสถานการณ์ของกลุ่ม
๓. เป็นผู้นา ทาหน้าที่ร้อยเรียงกระบวนการกิจกรรมค่ายตั้งแต่ต้นจนจบ โดยกากับกฎ กติกา
ให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกันบนความแตกต่าง หลากหลายไม่มีการทาลายความคิดเห็นใดๆ
ฉบับร่าง ๒๒
๔. กระตุ้นให้กาลังใจสมาชิกในการเรียนรู้ ลงมือทากิจกรรมภายในกลุ่ม เพื่อนาไปสู่การ
เปลี่ยนแปลงโดยวิเคราะห์สรุปประเด็น ติดตาม สังเคราะห์เชื่อมโยงเพื่อนาไปสู่การเรียนรู้ความรู้ใหม่ หรือวิธี
ปฏิบัติใหม่ๆ ของสมาชิกกลุ่ม
๕. สนับสนุนกระบวนการการมีส่วนร่วมทางความคิด คลี่คลาย ข้อขัดแย้ง จัดการกับความคิดที่
แตกต่าง หลากหลายอย่างสร้างสรรค์ และเป็นกัลยาณมิตร
ทักษะที่จาเป็นของวิทยากร การกากับกระบวนการกิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรมตั้งแต่ต้นจนจบ
จาเป็นต้องรอบรู้ในการใช้ทักษะหลากหลายวิธีการ และใช้อย่างเหมาะสมกับเหตุการณ์เพื่อให้กระบวนการค่าย
ดึงดูดความสนใจของผู้เข้าค่าย อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา เช่น
ก. การตั้งคาถาม เพื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกของกลุ่มมีส่วนร่วมในการแสดงออก และ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทาให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน ลักษณะการตั้งคาถาม เช่น คาถามปลายเปิด คาถาม
เจาะลึก คาถามสะท้อนเพื่อความเข้าใจ หรือคาถามสรุป คาถามสะท้อนความรู้สึก คาถามปิดเพื่อตรวจสอบ
ความเข้าใจของประเด็น เป็นต้น
ข. การฟัง เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจในสิ่งที่ผู้พูดต้องการสื่อให้ทราบ การฟังที่ดีจะช่วยกระตุ้นให้กลุ่มร่วม
แสดง ความคิดเห็น การฟังที่ดีจะต้องใช้ทั้งตาและหู รับรู้ภาษากายและคาพูด ทาความเข้าใจในความหมายของ
สิ่งที่สื่อ ออกมาทั้งหมด ไม่ใช่เข้าใจอย่างผิวเผิน
ฉบับร่าง ๒๓
ใบงานที่ ๑ ทดสอบความเข้าใจคุณธรรมและจริยธรรม
กลุ่มที่ ..................ชื่อกลุ่ม......................................................................................................
ชื่อ....................................................นามสกุล..........................โรงเรียน.....................................
คาชี้แจง พิจารณาข้อความตามรายการแล้วใส่เครื่องหมายในช่องที่เป็น “คุณธรรม” หรือ “จริยธรรม”
ลาดับที่ รายการ คุณธรรม จริยธรรม
๑ ความสามัคคี
๒ ปิดน้าทุกครั้งหลังใช้
๓ ความขยัน
๔ นวดให้พ่อ
๕ ความกตัญญู
๖ ความมีน้าใจ
๗ พูดจาไพเราะ
๘ ความซื่อสัตย์สุจริต
๙ พูดความจริง
๑๐ ความมีวินัย
๑๑ กล่าวคาขอโทษ
๑๒ ยิ้มไหว้ทักทาย
๑๓ ความพอเพียง
๑๔ ความรับผิดชอบ
๑๕ ช่วยเก็บขยะที่ทิ้งไว้นอกถังขยะ
๑๖ เข้าสอนตรงเวลาเป็นประจา
๑๗ ความสุภาพ
๑๘ แต่งกายถูกระเบียบของโรงเรียน
๑๙ นักเรียนอ่านหนังสือทุกวัน
๒๐ ช่วยสอนการบ้านให้เพื่อน
ฉบับร่าง ๒๔
คาชี้แจง ๑. เขียนชื่อวีดิทัศน์ที่รับชมลงในช่องสี่เหลี่ยม
๒. บันทึกคุณธรรมที่พบในการชมวีดิทัศน์ ลงในช่องวงรี
๓. บันทึกพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกที่พบของแต่ละคุณธรรม ลงในเส้นก้างปลา
ใบงานที่ ๒ วิเคราะห์คุณธรรมและจริยธรรมจากสื่อวีดิทัศน์
กลุ่มที่ .............. ชื่อกลุ่ม......................................................
ฉบับร่าง ๒๕
ใบงานที่ ๓ การค้นหาปัญหาที่สาคัญ
กลุ่มที่.............. ชื่อกลุ่ม........................................................................
คาชี้แจง สมาชิกแต่ละคนระบุปัญหาสาคัญ ที่ต้องการแก้ไขเร่งด่วนที่สุด ๓ – ๕ ปัญหา
ลาดับความสาคัญ ปัญหา
ฉบับร่าง 25
คาชี้แจง ๑. นาปัญหาจากใบงานที่ ๓มาอภิปราย เพื่อคัดเลือกปัญหาของกลุ่ม และจัดลาดับความสาคัญของปัญหาของกลุ่ม ประมาณ ๓-๕ปัญหา
๒. วิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริงของแต่ละปัญหา
๓. ระบุพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกที่ต้องการให้เกิดขึ้น
๔. ระบุคุณธรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา
ลาดับ
ที่
ปัญหาของกลุ่ม สาเหตุ พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คุณธรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา
ใบงานที่ ๔ ปัญหาของกลุ่ม – สาเหตุ - พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก – คุณธรรม
กลุ่มที่ .............. ชื่อกลุ่ม......................................................
ฉบับร่าง 26
คาชี้แจง ๑. กาหนดคุณธรรมเป้าหมาย โดยเลือกจากคุณธรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาในใบงานที่ ๔
๒. นาพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกในใบงานที่ ๔มาใช้ในใบงานที่ ๕ โดยพิจารณาตามหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละบุคคล
คุณธรรมเป้าหมาย
พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก
ผู้บริหาร ครู นักเรียน
ใบงานที่ ๕ ตารางคุณธรรมอัตลักษณ์
โรงเรียน..................................................................
ฉบับร่าง 27
ใบงานที่ ๖ การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรม
กลุ่มที่ ............ชื่อกลุ่ม.....................................................
คาชี้แจง๑. อ่านข้อความทางซ้ายของตารางทีละข้อ
๒. รวมกันหาคาตอบจากข้อความทางซ้าย บันทึกลงในช่องด้านขวาของตาราง
๑.ระบุปัญหา โดยเลือกปัญหาจากใบ
งานที่ ๔ ที่กลุ่มต้องการแก้ไขมากที่สุด ปัญหา :
๒. ระบุสาเหตุของปัญหา โดยนามา
จากสาเหตุที่วิเคราะห์ไว้แล้วในใบงานที่
๔ และพิจารณาเพิ่มเติมตามความ
จาเป็น
สาเหตุของปัญหา (อาจมีมากกว่า ๑ สาเหตุ)
๑...................................................................................................
๒...................................................................................................
๓....................................................................................................
๔....................................................................................................
๓. กาหนดวัตถุประสงค์ โดยให้
สอดคล้องกับปัญหาและสาเหตุของ
ปัญหา
ระบุวัตถุประสงค์ที่ทาโครงงาน
๑.....................................................................................................
๒....................................................................................................
๓....................................................................................................
๔. กาหนดเป้าหมายของการแก้ปัญหา
นั้น โดยระบุเป้าหมายเชิงปริมาณและ
เชิงคุณภาพ
- เชิงปริมาณ โดยระบุกลุ่มบุคคล และ
จานวนที่ต้องการให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลง
- เชิงคุณภาพ โดยระบุพฤติกรรมบ่งชี้
เชิงบวกที่ต้องการให้เกิดขึ้น โดย
กาหนดให้เป็นเป้าหมายระยะสั้นและ
ระยะยาว
ก็ได้
เป้าหมายเชิงปริมาณ =นักเรียนชั้น.................. จานวน........คน
เป้าหมายเชิงคุณภาพ ................................................………….
………………………………………………………..………………..
………………………………………………………..………………..
- เป้าหมายระยะสั้น (ระยะ ๖ เดือนแรก) ...........................
....................................................................................................
- เป้าหมายระยะยาว (ระยะ ๑๒ เดือน) ..............................
....................................................................................................
๕.กาหนดวิธีแก้ไขปัญหา(สอดคล้องกับ
สาเหตุของปัญหา และวัตถุประสงค์
วิธีการแก้ไขต้องเป็นวิธีการเชิงบวก)
วิธีแก้ไขปัญหา
๑....................................................................................................
๒....................................................................................................
๓....................................................................................................
๔....................................................................................................
๖.กาหนดหลักธรรม พระราชดารัส
พระราชดาริ หรือคาสอนที่นามาใช้ใน
การดาเนินงานโครงงานคุณธรรมให้
ประสบความสาเร็จ
หลักธรรม/พระราชดารัส/พระราชดาริ/คาสอน
……....……………………….………………………………………..
……....……………………….………………………………………..
……....……………………….………………………………………..
ฉบับร่าง 28
๗. เชื่อมโยงไปสู่คุณธรรมอัตลักษณ์ของ
โรงเรียน โดยระบุความสอดคล้องกับ
คุณธรรมเป้าหมาย และพฤติกรรมบ่งชี้
เชิงบวก ซึ่งนามาจากใบงานที่ ๕
คุณธรรมเป้าหมาย .....................................................................
พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก………………………………………………………
๘. กาหนดวิธีวัดและประเมินผล โดย
กาหนดตัวชี้วัด เพื่อวัดหรือประเมินผล
ว่ามีการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มเป้าหมาย
เพียงใด
วิธีการ : สอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการจะ
วัด เช่น การเก็บข้อมูลโดยการสอบถาม
การสังเกต
เครื่องมือ: สอดคล้องกับวิธีการวัด เช่น
แบบสอบถาม แบบสังเกต
ช่วงเวลา: เหมาะสมกับลักษณะของ
โครงงาน
ตัวชี้วัด.........................................................................................
.....................................................................................................
วิธีการประเมิน............................................................................
.....................................................................................................
เครื่องมือที่ใช้ประเมิน………………………………………………………….
.....................................................................................................
ช่วงเวลาในการประเมิน..............................................................
.....................................................................................................
๙. ตั้งชื่อโครงงานคุณธรรม
(ชัดเจน เข้าใจง่ายและสะท้อนถึงปัญหาที่
เกิดขึ้น และกิจกรรม)
ชื่อโครงงานคุณธรรม…………………………………………………………
………………………………………………………………………....................
๑๐.คณะผู้รับผิดชอบ ชื่อคณะผู้รับผิดชอบ………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………….
๑๑. ครูที่ปรึกษา ชื่อครูที่ปรึกษา………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………
ฉบับร่าง 29
แบบประเมินความรู้ความเข้าใจ
คุณธรรม ๕ ประการ ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. (หลังการเรียนรู้ครบทั้ง ๕ ฐาน)
ชื่อ-นามสกุล......................................................................ชั้น.................โรงเรียน...............................................
กลุ่มที่.........................ชิอกลุ่ม...............................................................................................................
คาชี้แจง พิจารณาข้อความตามรายการแล้วใส่เครื่องหมาย / ในช่องที่ตรงกับคุณธรรมอัตลักษณ์ที่กาหนด
ข้อ
ที่
รายการ
คุณธรรมอัตลักษณ์
พอเพียง กตัญญู ซื่อสัตย์
สุจริต
ความรับ
ผิดชอบ
อุดมการณ์
คุณธรรม
๑. นักเรียนเก็บของได้คืนให้แก่เจ้าของ
๒. นักเรียนไหว้พ่อแม่ก่อนมาโรงเรียน
๓. ด.ช.พนัสส่งการบ้านทันตามกาหนดเวลา
๔. นักเรียนทาความสะอาดในเขตรับผิดชอบ
๕. ชีวิตตั้งใจทาความดีเพราะเชื่อว่าการทาความดี
จะทาให้ตนเองและคนอื่นมีความสุขด้วย
๖. ขวัญใจ นาผลไม้ไปมอบให้คุณครูที่บ้าน
๗. ปนัดดาตั้งใจทาข้อสอบโดยไม่ถามใคร
๘. นักเรียนมีสวนรวมในการจัดหาและ
บารุงรักษาสมบัติของทางโรงเรียน
๙. ใช้สิ่งของตนเองหรือส่วนรวมอย่างประหยัด
๑๐. นราพร ปิดน้า-ปิดไฟของโรงเรียนเมื่อเลิกใช้
แล้ว
๑๑. พิมล สร้างชื่อเสียง และความภาคภูมิใจให้
ครอบครัวและโรงเรียน
๑๒. จาปีปลูกพืชสวนครัวไว้รับประทานเอง
๑๓. วันชัยช่วยเหลืองานพ่อแม่หรือผู้ปกครอง
๑๔. ดวงตาตั้งใจทางานตามที่คุณครูมอบหมาย
๑๕. บุหงาเป็นผู้พฤติตนสุภาพเรียบร้อย มารยาทดี
เสมอจึงเป็นที่รักใคร่ของผู้ที่ได้พบเห็น
๑๖. ปัญญาแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของ
โรงเรียน
๑๗. แก้วตาช่วยเหลือคนชราข้ามถนน
๑๘. จรรยาไปทาอาหารมอบให้คนพิการ
๑๙. นภาช่วยเก็บขยะที่ทิ้งไว้นอกถังขยะ
๒๐. จินดานวดคลายเส้นให้พ่อแม่
เกณฑ์การประเมิน ตอบได้ถูก ๑๒ข้อขึ้นไปถือว่าผ่าน
ฉบับร่าง 30
เฉลยแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจคุณธรรม ๕ ประการ ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
ชื่อ-นามสกุล......................................................................ชั้น.................โรงเรียน...............................................
กลุ่มที่.........................ชิอกลุ่ม...............................................................................................................
คาชี้แจง พิจารณาข้อความตามรายการแล้วใส่เครื่องหมาย / ในช่องที่ตรงกับคุณธรรมอัตลักษณ์ที่กาหนด
ข้อ
ที่
รายการ
คุณธรรมอัตลักษณ์
พอเพียง กตัญญู ซื่อสัตย์
สุจริต
ความรับ
ผิดชอบ
อุดมการณ์
คุณธรรม
๑. นักเรียนเก็บของได้คืนให้แก่เจ้าของ 
๒. นักเรียนไหว้พ่อแม่ก่อนมาโรงเรียน 
๓. ด.ช.พนัสส่งการบ้านทันตามกาหนดเวลา 
๔. นักเรียนทาความสะอาดในเขตรับผิดชอบ 
๕. ชีวิตตั้งใจทาความดีเพราะเชื่อว่าการทาความดี
จะทาให้ตนเองและคนอื่นมีความสุขด้วย

๖. ขวัญใจ นาผลไม้ไปมอบให้คุณครูที่บ้าน 
๗. ปนัดดาตั้งใจทาข้อสอบโดยไม่ถามใคร 
๘. นักเรียนมีสวนรวมในการจัดหาและ
บารุงรักษาสมบัติของทางโรงเรียน

๙. ใช้สิ่งของตนเองหรือส่วนรวมอย่างประหยัด 
๑๐. นราพร ปิดน้า-ปิดไฟของโรงเรียนเมื่อเลิกใช้
แล้ว

๑๑. พิมล สร้างชื่อเสียง และความภาคภูมิใจให้
ครอบครัวและโรงเรียน

๑๒. จาปีปลูกพืชสวนครัวไว้รับประทานเอง 
๑๓. วันชัยช่วยเหลืองานพ่อแม่หรือผู้ปกครอง 
๑๔. ดวงตาตั้งใจทางานตามที่คุณครูมอบหมาย 
๑๕. บุหงาเป็นผู้พฤติตนสุภาพเรียบร้อย มารยาทดี
เสมอจึงเป็นที่รักใคร่ของผู้ที่ได้พบเห็น

๑๖. ปัญญาแตงกายถูกต้องตามระเบียบของ
โรงเรียน

๑๗. แก้วตาช่วยเหลือคนชราข้ามถนน 
๑๘. จรรยาไปทาอาหารมอบให้คนพิการ 
๑๙. นภาช่วยเก็บขยะที่ทิ้งไว้นอกถังขยะ 
๒๐. จินดานวดคลายเส้นให้พ่อแม่ 
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม

More Related Content

What's hot

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
MintraMarisa
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
Theeraphisith Candasaro
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดMethaporn Meeyai
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯศิริพัฒน์ ธงยศ
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
โรงเรียน บ้านสุไหงโก-ลก
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
Moll Kim
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
Piyarerk Bunkoson
 

What's hot (20)

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาคความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
ความแตกต่างของวัฒนธรรมและประเพณี4ภาค
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัดรามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
รามเกียรติ์ ตอนนารายณ์ปราบนนทก พร้อมแบบฝึกหัด
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯโครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
โครงการปรับปรุงซ่อมแซมโรงอาหารโรงเรียนบ้านโคกกลางแก้งน้อยฯ
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
คำศัพท์พื้นฐานชั้นป.6
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 

Similar to แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม

680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
Siriratbruce
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
Dr.Piyawat Saisang
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
norrasweb
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
norrasweb
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
norrasweb
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิดNirut Uthatip
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยวิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
ratchadaphun
 
โครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ
โครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพโครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ
โครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ
วัชรพล เที่ยงปา
 
หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู...
หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู...หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู...
หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู...
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานrbsupervision
 

Similar to แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม (20)

680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
680 1377-1-pb the development of servant leadership for international school ...
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
 
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียนแนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
แนวทางการจัดกิจกรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด2 ระดมความคิด
2 ระดมความคิด
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
วิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อยวิจัยนักธุรกิจน้อย
วิจัยนักธุรกิจน้อย
 
โครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ
โครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพโครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ
โครงการเสื้อพูดได้ พัฒนาประชาธิปไตยเชิงคุณภาพ
 
หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู...
หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู...หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู...
หลักสูตรการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู...
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม

  • 2. ฉบับร่าง ๒ คานา การพัฒนาผู้นายุวชนคนคุณธรรม เป็นกลไกสาคัญยิ่งในการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรงเรียน คุณธรรม สพฐ. โดยนักเรียนเป็นผู้คิด วางแผนและเป็นผู้ปฏิบัติร่วมกับผู้บริหารครูและบุคลากรเพื่อให้บรรลุ เป้าหมายในการสร้างคุณธรรมบนพื้นฐานอัตลักษณ์ของโรงเรียน เอกสารแนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรมเล่มนี้มุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจในกระบวนการ สร้างผู้นายุวชนคนคุณธรรมให้สามารถดาเนินการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม รวมถึงเป็นผู้นาในการขับเคลื่อน กิจกรรมที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนได้ ดังนั้นหากครูและบุคลากร ทางการศึกษาและนักเรียนมีเอกสารแนวทางการดาเนินงานที่สามารถนาไปจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรมได้เอง ในโรงเรียนและนักเรียนสามารถเป็นผู้นาในการขับเคลื่อนการดาเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.ของตนเองได้ โดยการส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่นอย่างต่อเนื่องจะส่งผลให้การพัฒนาโรงเรียนคุณธรรมเกิดความต่อเนื่องและมีความ ยั่งยืน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้จัดทาแนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม ขึ้น ขอขอบคุณคณะทางานและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนในการจัดทาเอกสารเล่มนี้จนสาเร็จ ด้วยดี และหวังว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้เกี่ยวทุกท่านและหน่วยงานต่างๆ ที่สนใจนาไปประยุกต์ใช้ ในการพัฒนาคุณธรรมให้นักเรียนและบุคลากรเพื่อสร้างคนดีให้บ้านเมือง ต่อไป สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 3. ฉบับร่าง ๓ สารบัญ หน้า คานา สารบัญ ความเป็นมาของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. กิจกรรมของโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ความเป็นมา จุดมุ่งหมาย กิจกรรมการดาเนินงาน สรุปกิจกรรมการดาเนินงาน การประเมินผลกิจกรรม ตัวชี้วัดความสาเร็จ หลักฐาน / ร่องรอย / ลักษณะที่พบ ผลสาเร็จที่ต้องการให้เกิด การรายงานผลการดาเนินงาน บรรณานุกรม ภาคผนวก รายชื่อคณะทางาน
  • 4. ฉบับร่าง ๔ ความเป็นมาของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ( หม่อมหลวงปนัดดา ดิศกุล )ได้กล่าวถึง ศาสตร์ พระราชาซึ่งเป็นศาสตร์ที่ครอบคลุม เรื่องเอกลักษณ์ของชนชาติไทย เช่นการอ่อนน้อมถ่อมตน การเป็น สุภาพชน ความขยันหมั่นเพียร การซื่อสัตย์สุจริตซึ่งเป็นคุณงามความดีของคนไทยที่บรรพชนไทยได้ปฏิบัติ สืบทอดต่อกันมา ศาสตร์พระราชาให้ข้อคิดการประพฤติปฏิบัติตนไว้ว่าอย่าคบคนด้วยฐานะ คบคนด้วยความดี มีมิตรภาพด้วยความรักและความผูกพันและขอให้มีความกตัญญูรู้คุณต่อบิดามารดาผู้มีพระคุณ ประเทศชาติ และพระมหากษัตริย์ ถ้าทุกคนปฏิบัติตนตามศาสตร์ของพระราชาแล้วก็จะเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ ประเทศ ก็จะมีแต่คนดีและทาให้ประเทศเจริญก้าวหน้ารวมทั้งน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในชีวิตประจาวันเพื่อมุ่งให้เกิดภูมิคุ้มกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมเกิดความสมดุลและ ยั่งยืน แนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ ได้พระราชทานไว้กว่า ๔๐ ปีที่ผ่านมาเพื่อให้ประชาชนชาวไทยนาไปเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเองและ ครอบครัวให้มีภูมิคุ้มกันที่มั่นคงในการดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข จึงนับได้ว่า“ศาสตร์พระราชา” เป็นเสมือน องค์ความรู้ที่อยู่คู่แผ่นดินไทยซึ่งล้วนมุ่งให้ประชาชนทุกคนปฏิบัติตนเป็น “คนดี” ทั้งคิดดี พูดดี ทาดี ยึดมั่น ในคุณธรรม จริยธรรม สุจริต มีวินัย และมีความสามัคคีซึ่งกันและกันเพื่อร่วมกันพัฒนาประเทศชาติบ้านเมือง ให้มีความเจริญก้าวหน้าเป็นปึกแผ่นมั่นคงตลอดไป นอกจากนี้พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ มีพระราชกระแสรับสั่งต่อ ประชาชนชาวไทยให้ “ช่วยสร้างคนดีให้บ้านเมือง” พร้อมทั้งพระราชทานหลัก ๓ ประการ ที่เกี่ยวกับครูและ นักเรียนไว้ว่า “ให้ครูรักเด็ก เด็กรักครู” “ให้ครูสอนให้เด็กมีน้าใจต่อเพื่อนไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเองและให้เด็กที่เรียนเก่งช่วย สอนเพื่อนที่เรียนช้ากว่า” “ให้ครูจัดกิจกรรมให้นักเรียนทาร่วมกันเพื่อให้เห็นคุณค่าของความสามัคคี” จากพระราชกระแสรับสั่งข้างต้นสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงพระราชทานพระบรมราโชวาทด้านการศึกษาเพื่อสานต่อพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ว่าการศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่ผู้เรียน ๔ ด้าน ดังนี้ ๑. มีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง ๒. มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง-มีคุณธรรม ๓. มีงานทา-มีอาชีพ ๔. เป็นพลเมืองดี
  • 5. ฉบับร่าง ๕ เพื่อเป็นการสืบสานศาสตร์พระราชา และสนองพระราชกระแสรับสั่งของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ และพระบรมราโชวาทด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูรสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงจัดทาโครงการโรงเรียน คุณธรรม สพฐ. ขึ้น เพื่อมุ่งปลูกฝังให้ผู้บริหาร ครู นักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการปลูกฝังคุณธรรม ๕ ประการ ได้แก่ ๑) พอเพียง ๒) กตัญญู ๓) ซื่อสัตย์สุจริต ๔) ความรับผิดชอบ และ ๕) อุดมการณ์คุณธรรม โดยปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ให้แต่ละสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา คัดเลือกโรงเรียน เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. อย่างน้อยร้อยละ ๓๕ และปีงบประมาณ ๒๕๖๑ โรงเรียนทุกโรงเรียน เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. และเพื่อให้โรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. มีแนวทางในการดาเนินงาน จึงได้จัดทาเอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ขึ้น จานวน ๑๐ เรื่อง เอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดทา เอกสารแนวทางการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ตามกิจกรรมที่กาหนดไว้ในโครงการ จานวน ๑๐ เรื่อง เพื่อให้โรงเรียนและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาใช้เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการพัฒนา โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ให้บรรลุตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยกิจกรรมการดาเนินงาน ประกอบด้วย เรื่องที่ ๑ แนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม เรื่องที่ ๒ แนวทางการจัดทาโครงงานพัฒนาจริยคุณ เรื่องที่ ๓ แนวทางการผลิตนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี เรื่องที่ ๔ แนวทางการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. เรื่องที่ ๕ แนวทางการจัดกิจกรรม ๑๐,๐๐๐ คุรุชน คนคุณธรรม เรื่องที่ ๖ แนวทางการจัดกิจรรมคืนคุณธรรมสู่ห้องเรียน เรื่องที่ ๗ แนวทางการจัดกิจกรรมครอบครัวคุณธรรม เรื่องที่ ๘ แนวทางการจัดกิจกรรมโรงเรียนดีต้องมีที่ยืน เรื่องที่ ๙ แนวทางการนิเทศ กากับ ติดตาม เรื่องที่ ๑๐ แนวทางการจัดทาภาพยนตร์สั้นโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
  • 6. ฉบับร่าง ๖ ความเป็นมาของแนวทางการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรมเป็นแนวทางหนึ่งในการขับเคลื่อนโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ตามศาสตร์พระราชา และสนองพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ และ พระประสงค์ของรัชกาลที่ ๑๐ สู่การปฏิบัติให้เป็นรูปธรรม ซึ่งการดาเนินงานดังกล่าวจะต้องฝึกภาวะผู้นาให้แก่ นักเรียนแกนนา เพื่อไปเป็นผู้นาในการขับเคลื่อนการดาเนินงานตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนผ่านการจัด ค่ายยุวชนคนคุณธรรมที่เน้นให้นักเรียนทุกคนในโรงเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงผ่านการจัดทาโครงงานพัฒนาจริยคุณ และการปฏิบัติกิจกรรมอื่นๆ เพื่อให้บรรลุผลตามเป้าหมายนักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น และ พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ลดลง ปฏิบัติตนเป็นคนดีของครอบครัวโรงเรียน ชุมชนและสังคม ทั้งนี้ เพื่อเป็นการ สร้างคนดีให้บ้านเมืองต่อไป จุดมุ่งหมาย ๑. เพื่อปลูกฝังให้นักเรียนเป็นผู้นาในการทาโครงงานคุณธรรมและเป็นผู้นาในการจัดค่ายยุวชน คนคุณธรรม ๒. เพื่อให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามคุณธรรมอัตลักษณ์ ของโรงเรียนผ่านกิจกรรม การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม
  • 7. ฉบับร่าง ๗ กิจกรรมการดาเนินงาน ที่ กิจกรรมหลัก/แนวปฏิบัติ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ ๑. พัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม เม.ย. – พ.ค. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๑.๑ สพท.แต่งตั้งคณะกรรมการและครูแกนนาดาเนินการจัดค่ายผู้นา เยาวชนด้านคุณธรรม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๑.๒ สพท.แจ้งให้โรงเรียน ส่งนักเรียนที่มีคุณสมบัติความเป็นผู้นาเข้ารับ การพัฒนาอย่างน้อยโรงเรียนละ๓ - ๕ คนหรือตามที่ สพท.กาหนด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๑.๓ สพท.จัดประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงานจัดค่ายผู้นาเยาวชน ด้านคุณธรรม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ๑.๔ สพท.ร่วมกับครูแกนนาดาเนินการจัดค่ายผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และครูแกนนา ๑.๕ สพท.และครูแกนนา ประเมินผลการจัดค่ายผู้นาเยาวชน ด้านคุณธรรม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และครูแกนนา ๑.๖ สพท.สรุปและรายงานผลการจัดค่ายผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมไปยัง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตามรูปแบบที่กาหนด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และครูแกนนา ๒. ค่ายยุวชนคนคุณธรรม พ.ค. – มิ.ย. ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน ๒.๑ โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม (ประกอบด้วยครูแกนนาและผู้นาเยาวชน) โรงเรียน ๒.๒ ประชุมชี้แจงคณะกรรมการเกี่ยวแนวทางการดาเนินการจัดค่าย ยุวชนคนคุณธรรม โรงเรียน ๒.๓ ศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรมในการปลูกฝัง ให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะ ๕ ประการคือ ๑) พอเพียง ๒) กตัญญู ๓) ซื่อสัตย์สุจริต ๔) ความรับผิดชอบ และ ๕) อุดมการณ์คุณธรรม และสอดคล้องกับคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน ๒.๔ ครูแกนนาร่วมกับผู้นาเยาวชนคนคุณธรรมวางแผนและออกแบบ การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน ๒.๕ ครูแกนนาร่วมกับผู้นาเยาวชนคนคุณธรรมดาเนินการจัดค่ายยุวชน คนคุณธรรมให้แก่นักเรียนในโรงเรียน ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน ๒.๖ ครูแกนนาและผู้นาเยาวชนคนคุณธรรมร่วมกัน ประเมินผลการจัด ค่ายยุวชนคนคุณธรรม ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน ๒.๗ ครูแกนนาและผู้นาเยาวชนคนคุณธรรมร่วมกันสรุปและรายงานผล การจัดค่ายฯ ไปยังสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามแบบรายงาน ที่กาหนด ครูแกนนาและผู้นาเยาวชน ๒.๘ โรงเรียนจัดทาแผนงาน/โครงการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณธรรม สู่การปฏิบัติ ผู้บริหาร ครูและนักเรียน
  • 8. ฉบับร่าง ๘ แผนภูมิแนวทางการดาเนินงานกิจกรรม - ประเมินผลการพัฒนาผู้นาเยาวชน ผู้นานักเรียนจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม / ผู้นานักเรียนขับเคลื่อนกิจกรรม โครงงานพัฒนาจริยคุณ ประเมินผลการจัดค่ายยุวชนคน คุณธรรม ประชาสัมพันธ์ / เผยแพร่องค์ความรู้ การจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพท. วางแผนการพัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม และแจ้งโรงเรียนส่งนักเรียนแกนนาเข้ารับการพัฒนาโรงเรียนละ ๓-๕ คน สพท. ดาเนินการพัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม รายงานผล สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้บริหาร ครู และผู้นาเยาวชนวางแผนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม ดาเนินการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม รายงานผล
  • 9. ฉบับร่าง ๙ การประเมินผลกิจกรรม 1. การประเมินผลกิจกรรมพัฒนาค่ายผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม และค่ายยุวชนคนคุณธรรม ที่ ตัวชี้วัดความสาเร็จ หลักฐาน/ร่องรอย/ลักษณะที่พบ ๑. ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการพัฒนาค่ายผู้นาเยาวชน ด้านคุณธรรม -แบบสังเกตพฤติกรรม - ภาพการจัดกิจกรรม ๒. ร้อยละของนักเรียนที่ผ่านการอบรมค่ายยุวชนคนคุณธรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ภาพการจัดกิจกรรม ๓. ร้อยละของนักเรียนที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามกรอบ คุณธรรม๕ ประการหรือตามคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน - แบบสังเกตพฤติกรรม - แบบประเมินพฤติกรรม ผลสาเร็จที่ต้องการให้เกิด ๑. ผู้นาเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถจัดทาโครงงานคุณธรรมได้ ๒. ผู้นาเยาวชนสามารถร่วมเป็นวิทยากรในการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรมได้ ๓. นักเรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้น การรายงานผลการดาเนินงาน เมื่อผู้รับผิดชอบกิจกรรมได้ดาเนินการจัดค่ายผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมและค่ายยุวชน คนคุณธรรมเสร็จเรียบร้อยแล้วผู้รับผิดชอบจะต้องจัดทารายงานผลการดาเนินงานเสนอผู้บริหาร/ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องตามลาดับ เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผนปฏิบัติงานต่อไป ตามรูปแบบการรายงานผล การดาเนินงาน ดังนี้ - ค่ายพัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรมสู่สังคม เขตพื้นที่การศึกษารายงานผล ต่อสพฐ. - ค่ายยุวชนคนคุณธรรม โรงเรียนรายงานผลการดาเนินงานต่อเขตพื้นที่การศึกษา กรุณาส่ง นายภูธร จันทะหงส์ ปุณญจรัสธารงค์ (โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.) สนก. สพฐ. อาคาร ๕ชั้น ๑๐กระทรวงศึกษาธิการ เขตดุสิต กรุงเทพฯ ๑๐๓๐๐ (ภายในเวลาที่กาหนด)
  • 10. ฉบับร่าง ๑๐ แบบรายงานการจัดค่ายพัฒนาผู้นาเยาวชนด้านคุณธรรม สพท.…………………………………………………..................................เขต………………………………………................. ผู้รายงาน...…………………………………………………………วัน/เดือน/ปี (ที่รายงาน)……………………………………..... ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ๑. ผู้เข้ารับการอบรม จานวน...........................คน จานวน......................รุ่น ๑). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน ๒). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน ๓). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน ๒. ระยะเวลาในการอบรมในแต่ละรุ่น จานวน....................วัน ๓. หลักสูตรการอบรม ประกอบด้วย (ระบุเรื่องที่อบรม) ๓.๑ ........................................................................................................................................................ ๓.๒ ........................................................................................................................................................ ๓.๓ ........................................................................................................................................................ ๓.๔ ........................................................................................................................................................ ๓.๕ ........................................................................................................................................................ ๔. วิธีการอบรม (ตอบได้มากกว่า ๑ วิธี) ( ) บรรยาย ( ) ฝึกปฏิบัติจริง ( ) อภิปราย ( ) เสวนา ( ) อื่นๆ (โปรดระบุ)..................................................................................................................... ๕. ผลการอบรม (เชิงคุณภาพ) ๓.๑ ........................................................................................................................................................ ๓.๒ ........................................................................................................................................................ ๓.๓ ........................................................................................................................................................ ๓.๔ ........................................................................................................................................................ ๓.๕ ........................................................................................................................................................ ๖. ปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...... ๗. การนาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...... ...........…...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ภาคผนวก ๑. โครงการที่ได้รับอนุมัติ ๒. ตารางการจัดค่าย ๓. คู่มือการจัดค่าย ๔. แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบประเมิน หรือเครื่องมืออื่น ๆ ที่ใช้ในการจัดค่าย ๕. ภาพประกอบการจัดกิจกรรมค่าย/ชิ้นงานของผู้เข้าค่าย (ถ้ามี) *หมายเหตุ*ให้แนบแผ่น CD ไว้ที่ปกหลังของเอกสาร
  • 11. ฉบับร่าง ๑๑ แบบรายงานการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม โรงเรียน.........................................................สพท.………………………………................เขต…………………. ผู้รายงาน...………………………………………………………วัน/เดือน/ปี (ที่รายงาน)……………………………………..... ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ๑. ผู้เข้ารับการอบรม จานวน...........................คน จานวน......................รุ่น ๑). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน ๒). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน ๓). รุ่นที่....................วันที่......................................................จานวน...........................คน ๒. ระยะเวลาในการอบรมในแต่ละรุ่น จานวน....................วัน ๓. หลักสูตรการอบรม ประกอบด้วย (ระบุเรื่องที่อบรม) ๓.๑ ....................................................................................................................................................... ๓.๒ ...................................................................................................................................................... ๓.๓ ...................................................................................................................................................... ๓.๔ ...................................................................................................................................................... ๓.๕ ...................................................................................................................................................... ๔. วิธีการอบรม (ตอบได้มากกว่า ๑ วิธี) ( ) บรรยาย ( ) ฝึกปฏิบัติจริง ( ) อภิปราย ( ) เสวนา ( ) อื่นๆ (โปรดระบุ)..................................................................................................................... ๕. ผลการอบรม (เชิงคุณภาพ) ๓.๑ ...................................................................................................................................................... ๓.๒ ..................................................................................................................................................... ๓.๓ ...................................................................................................................................................... ๓.๔ ...................................................................................................................................................... ๓.๕ ...................................................................................................................................................... ๖. ปัญหา/อุปสรรคและข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...... ๗. การนาความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปขับเคลื่อนการดาเนินงานโครงการการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...... ...........…...…………………………………………………………………………………………………………………………………………… ภาคผนวก ๑.โครงการที่ได้รับอนุมัติ ๒. ตารางการจัดค่าย ๓. คู่มือการจัดค่าย ๔.แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบประเมิน หรือเครื่องมืออื่น ๆ ที่ใช้ในการจัดค่าย ๕. ภาพประกอบการจัดกิจกรรมค่าย ๖.ชิ้นงานของผู้เข้าค่าย (ถ้ามี) *หมายเหตุ*ให้แนบแผ่น CD ไว้ที่ปกหลังของเอกสาร
  • 12. ฉบับร่าง ๑๒ บรรณานุกรม ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (๒๕๖๐). คู่มือวิทยากรการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพฯ : บริษัท มาตาการพิมพ์จากัด. ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (๒๕๕๘) คู่มือปฏิบัติโรงเรียนคุณธรรม. กรุงเทพฯ : บริษัทสหมิตร พริ้นติ้งแอนด์พับลิสซิ่ง จากัด. ศูนย์โรงเรียนคุณธรรม มูลนิธิยุวสถิรคุณ. (๒๕๖๐) บนเส้นทางสร้างคนดี. กรุงเทพฯ : บริษัทสหมิตรพริ้นติ้ง แอนด์พับลิสซิ่ง จากัด.
  • 13. ฉบับร่าง ๑๓ ภาคผนวก ภาคผนวก ก. กาหนดการจัดค่ายพัฒนาผู้นาเยาวชนคนคุณธรรม วันที่หนึ่ง เวลา เนื้อหา วิทยากร ๐๗.๓๐ – ๐๘.๓๐ ลงทะเบียน/รับเอกสาร ๐๘.๓๐-๐๙.๓๐ พิธีเปิดการอบรมและบรรยายพิเศษ “ความเป็นมาของ โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.และ กระบวนการพัฒนาผู้นา เยาวชนคนคุณธรรม” ประธานในพิธีหรือ ผู้แทน ๐๙.๓๐- ๐๙.๔๕ กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ชี้แจงระเบียบการจัดค่าย และข้อปฏิบัติระหว่างอยู่ในค่าย ครูแกนนา ๐๙.๔๕ – ๑๐.๓๐ -ผู้นาและภาวะผู้นาสาหรับผู้นาเยาวชนคนคุณธรรม - คุณสมบัติ บทบาทหน้าที่และทักษะที่จาเป็นของผู้นายุวชน คนคุณธรรม (วิทยากรกระบวนการ)๒ วิทยากรหลัก/ ครูแกนนา ๑๐.๓๐ – ๑๐.๔๕ พักรับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔๕ – ๑๒.๐๐ - สาระของคุณธรรมจริยธรรม การเรียนรู้วิธีการค้นหาคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน๓ (ตามใบงานที่ ๑ – ๒) วิทยากรหลัก/ ครูแกนนา ๑๒.๐๐ – ๑๓.๐๐ พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ – ๑๓.๑๕ กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ครูแกนนา ๑๓.๑๕ – ๑๔.๓๐ การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรม๓ ตามใบงานที่ ๓-๔ วิทยากรหลัก/ ครูแกนนา ๑๔.๓๐-๑๔.๔๕ พักรับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔๕-๑๖.๓๐ การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรม(ต่อ)๓ ตามในงานที่ ๕- ๖ วิทยากรหลัก/ ครูแกนนา ๑๖.๓๐ – ๑๘.๓๐ พักผ่อนตามอัธยาศัย และรับประทานอาหารเย็น ๑๘.๓๐-๑๘.๔๕ กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ครูแกนนา ๑๘.๔๕ – ๒๐.๓๐ เปิดใจ คลายเขิน เดินหน้าหาเพื่อน สู่กระบวนการสร้างทีม วิทยากร ๔ ครูแกนนา ๒๐.๓๐ - ๒๑.๐๐ กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action Review : AAR)๑๐ ครูแกนนา ๒๑.๐๐ – ๐๔.๓๐ สวดมนต์ไหว้พระ หรือ ปฏิบัติศาสนกิจ/พักผ่อน
  • 14. ฉบับร่าง ๑๔ เวลา เนื้อหา วิทยากร ๐๔.๓๐ -๐๕.๐๐ น. - ตื่นทาภารกิจส่วนตัว ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ศาสตร์พระราชา๕ กิจกรรมเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙และรัชกาลที่ ๑๐ -ชมสารคดี โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ กิจกรรมเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙และรัชกาลที่ ๑๐ วิทยากรหลัก/ครูแกนนา ๐๕.๓๐-๐๖.๐๐ น. ออกกาลังกาย ครูแกนนา ๐๖.๐๐ -๐๖.๓๐ น. กิจกรรมจิตสาธารณะ ผู้นาเยาวชน ๐๖.๓๐ - ๐๗.๓๐ น. ทาภารกิจส่วนตัว ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ครูแกนนา ๐๘.๔๕ - ๑๐.๓๐ น. การเตรียมความพร้อมฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากรกระบวนการใน สถานการณ์จริง(ใช้ใบงานให้ผู้นาเยาวชนปฏิบัติ)๖ - อุปกรณ์และสื่อในการจัดค่าย - เทคนิคการแบ่งกลุ่ม - เทคนิคการสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ครูแกนนา ๑๐.๓๐-๑๐.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔๕ - ๑๒.๐๐ น. กระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม๗ - กิจกรรมสร้างความตระหนักในความรักชาติ รักท้องถิ่น - ชมวีดีทัศน์ หรือฟังบรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ของท้องถิ่น (วิทยากรเตรียมคลิปวีดีโอ หรือสื่ออื่นที่เกี่ยวกับประวัติ ท้องถิ่นของตน เช่น ประวัติความเป็นมาของจังหวัด อาเภอ หรือ หมู่บ้าน) ครูแกนนา ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๓.๑๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง) ๑๓.๑๕-๑๖.๑๕ น. ฝึกปฏิบัติการเป็นวิทยากรกระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม กิจกรรมการเรียนรู้ สู่คุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ (เวียนฐานที่ ๑ - ๔)๘ ฐานที่ ๑ พอเพียง ฐานที่ ๒ กตัญญู ฐานที่ ๓ ซื่อสัตย์สุจริต ฐานที่ ๔ รับผิดชอบ ครูแกนนา ๑๖.๑๕ – ๑๗.๐๐ ฐานที่ ๕ อุดมการณ์คุณธรรม (บรรยายรวม) ครูแกนนา ๑๗.๐๐ - ๑๘.๓๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย และรับประทานอาหารเย็น ๑๘.๓๐-๑๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ครูแกนนา ๑๘.๔๕ - ๒๐.๓๐ น. “ศาสตร์พระราชา”สู่โรงเรียนคุณธรรม๙ ครูแกนนา ๒๐.๓๐ - ๒๑.๐๐ น. กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action Review)AAR ๑๐ ครูแกนนา ๒๑.๐๐ - ๐๔.๓๐ น. สวดมนต์ไหว้พระ หรือ ปฏิบัติศาสนกิจ /พักผ่อน วันที่สอง
  • 15. ฉบับร่าง ๑๕ วันที่สาม เวลา เนื้อหา วิทยากร ๐๔.๓๐ -๐๕.๐๐ น. ตื่นทาภารกิจส่วนตัว ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. เรื่องเล่า เร้าพลัง๑๑ - ชวนบอกเล่าเรื่องราวดี ๆ “เด็กดีสร้างได้ ง่ายนิดเดียว” - เสนอสารคดีดอกไม้บานสื่อสารความดี ครูแกนนา ๐๕.๓๐-๐๖.๐๐ น. ออกกาลังกาย ครูแกนนา ๐๖.๐๐ -๐๖.๓๐ น. กิจกรรมจิตสาธารณะ ครูแกนนา ๐๖.๓๐ - ๐๗.๓๐ น. ทาภารกิจส่วนตัว ๐๗.๓๐-๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ๐๘.๔๕ - ๑๐.๓๐ น. การฝึกปฏิบัติการจัดการจัดค่ายสาหรับวิทยากรกระบวนการ โครงงานคุณธรรม - กิจกรรม “ระดมความคิด....ปัญหาที่อยากแก้ และความดี ที่อยากทา” (ใบงานที่ ๑ -๓)๓ ครูแกนนา ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔๕ - ๑๒.๐๐ น. กิจกรรม“เรียนรู้และฝึกทาความดี...ด้วยวิถีโครงงานคุณธรรม (ใบงานที่ ๔-๖)๓ ครูแกนนา ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๕ น. กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ครูแกนนา ๑๓.๑๕ - ๑๔.๓๐ น. การออกแบบโครงงานคุณธรรม ครูแกนนา ๑๔.๓๐-๑๔.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔๕-๑๕.๓๐ น. การนาเสนอโครงงาน ผู้นาเยาวชนคน คุณธรรม ๑๕.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. การสะท้อนผลการจัดค่าย/พันธสัญญาสู่การปฏิบัติ ครูแกนนา ๑๖.๐๐-๑๖.๓๐ น. พิธีปิดการอบรม / พิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ๑๓ เพลงภูมิแผ่นดินนวมินมหาราชา เพลงสรรเสริญพระบารมี ประธานในพิธี / ครูแกนนา หมายเหตุ : เอกสารประกอบการอบรมสามารถดาวน์โหลดได้ตาม link ที่ปรากฏ -๑ เกมเพลง : คู่มือวิทยากรการพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม บทที่ 4 หน้า ๕๗-๖๕ https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGWDNwYzhDQmFoaG8 -๒ ไฟล์นาเสนอบทบาทผู้นา/วิทยากรกระบวนการ https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGQlFZSFJEdlZHWTA?q
  • 16. ฉบับร่าง ๑๖ -๓ ใบงาน และ วีดิทัศน์กรณีตัวอย่าง https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGMWt0cUhQRGVCTTQ -๔ ใบงาน วิธีการเปิดใจคลายเขินฯ https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGQzhLWVZFbHJYbmM -๕ เรื่องเล่า เร้าพลังกิจกรรมเทิดพระเกียรติ https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGVGVsV3pGMkRZOEk -๖ การฝึกเป็นวิทยากร การวาแผน/เทคนิคการแบ่งกลุ่ม/การสร้างกลุ่มสัมพันธ์ https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGMWt0cUhQRGVCTTQ -๗ กระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม กิจกรรมความรักชาติ/ วีดิทัศน์ https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGWFRWVGFmTWh2WXM -๘ กิจกรรมการเรียนรู้ สู่คุณลักษณะ ๕ ประการ : https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGZW5YRy1Od19XY0k -๙ ศาสตร์พระราชาสู่การพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGWkhTeWg2MWRVUE0 -๑๐ กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action Review :AAR) https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGVnFQNDRxNUpQT0k -๑๑ เรื่องเล่า เร้าพลัง - ชวนบอกเล่าเรื่องราวดี ๆ “เด็กดีสร้างได้ ง่ายนิดเดียว”(วิทยากรเชิญชวนให้ผู้เข้ารับการอบรมเล่าเรื่องราวที่ได้ ทาความดีและเกิดความประทับใจ ภาคภูมิใจ) - เสนอสารคดีดอกไม้บานสื่อสารความดี https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGV0RmZVVuM3lna0E -๑๒ กิจกรรมจิตสาธารณะ เช่น การรักษาความสะอาดสถานที่อบรม หรือกิจกรรมอื่นตามความเหมาะสม -๑๓ พิธีปิด/คาปฏิญานตน/เพลงภูมิแผ่นดินนวมินมหาราชา/เพลงสรรเสริญพระบารมี https://drive.google.com/drive/folders/0BynIBjiC4oZGYzVXSHNYc1A0MEE
  • 17. ฉบับร่าง ๑๗ ภาคผนวก ข. กาหนดการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม วันที่หนึ่ง เวลา เนื้อหา วิทยากร ๐๗.๓๐ - ๐๘.๓๐ น. ลงทะเบียน/รับเอกสาร ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. พิธีเปิดการอบรมและบรรยายพิเศษ “ความเป็นมาของ โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.และ กระบวนการจัดค่าย ยุวชนคนคุณธรรม ประธานในพิธีหรือผู้แทน ๐๙.๓๐ - ๐๙.๔๕ น. กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา ๐๙.๔๕ - ๑๐.๓๐ น. กระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม๗ ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา- กิจกรรมสร้างความตระหนักในความรักชาติ รักท้องถิ่น - ชมวีดีทัศน์ หรือฟังบรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ของท้องถิ่น (วิทยากรเตรียมคลิปวีดีโอ หรือสื่ออื่นที่เกี่ยวกับประวัติ ท้องถิ่นของตน เช่น ประวัติความเป็นมาของจังหวัด อาเภอ หรือ หมู่บ้าน) ๑๐.๓๐ - ๑๐.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา ๑๒.๐๐ - ๑๓.๐๐ น. พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐ - ๑๓.๑๕ น. กิจกรรมสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา๑๓.๑๕ - ๑๔.๓๐ น. ปฏิบัติการเรียนรู้ สู่คุณลักษณะ ๕ ประการของโรงเรียนคุณธรรม สพฐ (เวียนฐานที่ ๓ -๕)๘ ฐานที่ ๓ ซื่อสัตย์สุจริต ฐานที่ ๔ ความรับผิดชอบ ๑๔.๓๐ - ๑๔.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔๕ – ๑๕.๑๕ ฐานที่ ๕ อุดมการณ์คุณธรรม (บรรยายรวม) ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา ๑๔.๔๕ - ๑๖.๓๐ น. กิจกรรมการเรียนรู้ “ร่วมด้วย....ช่วยกัน”๑๓ - ต่อให้ยาว....สาวให้ยืด - ระเบิดเถิดเทิง ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา ๑๖.๓๐ - ๑๘.๓๐ น. พักผ่อนตามอัธยาศัย และรับประทานอาหารเย็น ๑๘.๓๐ - ๑๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)๑ ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา๑๘.๔๕ - ๒๐.๓๐ น. “เปิดใจ คลายเขิน เดินหน้าหาเพื่อน สู่กระบวนการสร้างทีม วิทยากร”๔ ๒๐.๓๐ - ๒๑.๐๐ น. กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action Review :AAR)๑๐ ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา ๒๑.๐๐ - ๐๔.๓๐ น. สวดมนต์ไหว้พระ หรือ ปฏิบัติศาสนกิจ/พักผ่อน
  • 18. ฉบับร่าง ๑๘ วันที่สอง เวลา เนื้อหา วิทยากร ๐๔.๓๐ - ๐๕.๐๐ น. ตื่นทาภารกิจส่วนตัว ๐๕.๐๐ - ๐๖.๐๐ น. เรื่องเล่า เร้าพลัง กิจกรรมเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - กิจกรรมเทิดพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙“ศาสตร์พระราชา” ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา ๐๖.๐๐ - ๐๖.๓๐ น. กิจกรรมจิตสาธารณะ (ตามที่วิทยากรเห็นสมควรกับเวลา) ๐๖.๓๐ - ๐๗.๓๐ น. ทาภารกิจส่วนตัว ๐๗.๓๐ - ๐๘.๓๐ น. รับประทานอาหารเช้า ๐๘.๓๐ - ๐๘.๔๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง) ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา๐๘.๔๕ - ๑๐.๓๐ น. กิจกรรม “ระดมความคิด....ปัญหาที่อยากแก้ และความดีที่ อยากทา” ๑๐.๓๐-๑๐.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๐.๔๕ - ๑๒.๐๐ น. กิจกรรม“เรียนรู้และฝึกทาความดี...ด้วยวิถีโครงงานคุณธรรม ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา พักรับประทานอาหารกลางวัน ๑๓.๐๐-๑๓.๑๕ น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ (เกม เพลง)* ผู้นาเยาวชน และครูแกนนา๑๓.๑๕-๑๔.๓๐ น. กิจกรรม “การนาเสนอตัวอย่าง Moral Project ในมุมมองของเด็กตัวน้อย ๆ ร้อยสู่โครงงาน ๑๔.๓๐-๑๔.๔๕ น. พักรับประทานอาหารว่าง ๑๔.๔๕-๑๕.๓๐ น. การสะท้อนผลและการประเมินผลการจัดกิจกรรม และทา พันธสัญญาสู่การปฏิบัติ ครูวิทยากรแกนนา ๑๕.๓๐-๑๖.๐๐ น. พิธีปิดการอบรมพิธีถวายสัตย์ปฏิญาณ เพลงภูมิแผ่นดินนวมินมหาราชา เพลงสรรเสริญพระบารมี ครูวิทยากรแกนนา
  • 19. ฉบับร่าง ๑๙ หมายเหตุ รหัสเอกสาร / PPT.นาเสนอ สามารถดาวน์โหลดได้ตาม link ที่ปรากฎ -๑ เกมและเพลง -๒ ไฟล์นาเสนอบทบาทผู้นา/วิยากรกระบวนการ -๓ ใบงาน และ วิดีทัศน์กรณีตัวอย่าง -๔ ใบงาน วิธีการเปิดใจคลายเขินฯชมวีดีทัศน์ หรือฟังบรรยายเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ของท้องถิ่น (วิทยากรเตรียมคลิปวีดีโอ หรือสื่ออื่นที่เกี่ยวกับประวัติท้องถิ่นของตน เช่น ประวัติความเป็นมาของ จังหวัด อาเภอ หรือหมู่บ้าน) -๕ เรื่องเล่า เร้าพลังกิจกรรมเทิดพระเกียรติ -๖ การฝึกเป็นวิทยากร การวาแผน/เทคนิคการแบ่งกลุ่ม/การสร้างกลุ่มสัมพันธ์ -๗ กระบวนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม กิจกรรมความรักชาติ/ วีดืทัศน์ -๘ กิจกรรมการเรียนรู้ สู่คุณลักษณะ ๕ ประการ -๙ “ศาสตร์พระราชา”สู่การพัฒนาโรงเรียนคุณธรรม -๑๐ กิจกรรมถอดบทเรียนหลังการเรียนรู้ (After Action Review :AAR) -๑๑ สารคดีเด็กดีสร้างได้/ดอกไม้บานสื่อสารความดี -๑๒ พิธีปิด/คาปฏิญานตน/เพลงภูมิแผ่นดินนวมินมหาราชา/เพลงสรรเสริญพระบารมี
  • 20. ฉบับร่าง ๒๐ ภาคผนวก ข.กาหนดการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม ใบความรู้ ใบงานที่๑ ใบงานที่ ๒ ใบงานที่ ๓ ใบงานที่ ๔ ใบงานที่ ๕ ใบงานที่ ๖ แบบสังเกตพฤติกรรมผู้นาเยาวชนคนคุณธรรม แบบประเมินบุคลิกภาพความเป็นผู้นา แบบประเมินความรู้ความเข้าใจคุณธรรม ๕ ประการ โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
  • 21. ฉบับร่าง ๒๑ ใบความรู้ คุณสมบัติของวิทยากรกระบวนการ หลักสูตรพัฒนาศักยภาพผู้นายุวชนคนคุณธรรม เป็นกิจกรรมลงมือปฏิบัติการอย่างเป็นระบบ มีลักษณะเป็นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรม ซึ่ง วิทยากรกระบวนการจะทาหน้าที่อานวยความสะดวกให้กิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ เป็นไปตามขั้นตอนที่แผนการ เข้าค่ายได้กาหนดไว้ เพื่อให้ผู้นายุวชนเข้ารับการการเรียนรู้ผ่านค่ายยุวชนคนคุณธรรม สามารถปฏิบัติแต่ละ ขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และ เกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง คุณสมบัติของวิทยากรกระบวนการจึงเป็น ส่วนสาคัญในการสร้างสรรค์กิจกรรมให้น่าสนใจ และเป็นที่ยอมรับของผู้เข้ารับการเข้าค่าย โรงเรียนจึงควร พิจารณาคุณสมบัติของผู้นายุวชนคนคุณธรรม ซึ่งจะมาทาหน้าที่วิทยากรกระบวนการ เช่น ๑.มีความเข้าใจในกระบวนการกลุ่ม เอาใจใส่กับกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของทีม(Team Learning) ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วม และยอมรับความแตกต่างหลากหลาย ไม่เป็นเผด็จการ เพื่อให้เกิด การปรับ วิสัยทัศน์ร่วมกัน (Shared Vision) ๒.ให้ความสาคัญกับกระบวนการสื่อสารแบบ ๒ ทาง (Two-way communication) มีความ เชื่อมั่น ในพลังทวีคูณ (Synergy)ระหว่างบุคคลภายในกลุ่ม สนับสนุนให้บุคคลในกลุ่มเปิดใจกว้าง เปิดเผย และไม่มีอคติ ๓.มีวิธีคิดแบบองค์รวม (System Thinking) ไม่แยกส่วน และสามารถจัดให้มีการให้ข้อมูล ย้อนกลับ มีความคิดสร้างสรรค์ ไม่ติดกรอบ พร้อมที่จะขยาย ปรับ หรือเปลี่ยนแบบแผนทางความคิด กล้าคิด กล้าทา กล้าจินตนาการ กล้าเปลี่ยนแปลง กล้าตัดสินใจ และมีความรับผิดชอบสูง ๔.มีอารมณ์ดี สมาธิดี ใจเย็น ไม่ตื่นตระหนกง่าย ไม่ฉุ่นเฉียว ไม่เอาแต่ใจตัวเอง มีความฉลาด ทางอารมณ์ (EQ) มีความสนุก ตื่นเต้นตลอดเวลากับการปฏิสัมพันธ์ในกลุ่ม มีความละเอียดอ่อน สามารถรับรู้ อารมณ์ ความรู้สึกของบุคคลอื่นได้ง่าย บทบาทหน้าที่ของวิทยากรกระบวนการ เพื่อให้กิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรมเป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ วิทยากรกระบวนการจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมของหลักสูตร พัฒนาศักยภาพผู้นายุวชนคนคุณธรรม เพื่อนาไปปรับใช้ในการพัฒนาศักยภาพนักเรียนได้ สามารถวาง แผนการจัดค่ายยุวชนคนคุณธรรม เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ กระตุ้นการปฏิบัติงานของกลุ่มกิจกรรมค่าย ให้เป็นไปตามแผนตลอดจนประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เข้ารับการเข้าค่ายยุวชนคนคุณธรรม กล่าวได้ว่า วิทยากรกระบวนการจะเป็นผู้รับผิดชอบความสาเร็จของกระบวนการค่ายที่ได้จัดขึ้น จึงควรมีบทบาทหน้าที่ ดังต่อไปนี้ ๑. ออกแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกันระหว่าง ผู้เข้าค่าย ๒. ตั้งคาถาม ตั้งประเด็นให้ผู้เข้าค่าย ได้คิด วิเคราะห์ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน เป็นกระจก สะท้อนให้ผู้เข้าค่ายได้เห็นศักยภาพของตน และเข้าใจสถานการณ์ของกลุ่ม ๓. เป็นผู้นา ทาหน้าที่ร้อยเรียงกระบวนการกิจกรรมค่ายตั้งแต่ต้นจนจบ โดยกากับกฎ กติกา ให้เกิดการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ และเรียนรู้ร่วมกันบนความแตกต่าง หลากหลายไม่มีการทาลายความคิดเห็นใดๆ
  • 22. ฉบับร่าง ๒๒ ๔. กระตุ้นให้กาลังใจสมาชิกในการเรียนรู้ ลงมือทากิจกรรมภายในกลุ่ม เพื่อนาไปสู่การ เปลี่ยนแปลงโดยวิเคราะห์สรุปประเด็น ติดตาม สังเคราะห์เชื่อมโยงเพื่อนาไปสู่การเรียนรู้ความรู้ใหม่ หรือวิธี ปฏิบัติใหม่ๆ ของสมาชิกกลุ่ม ๕. สนับสนุนกระบวนการการมีส่วนร่วมทางความคิด คลี่คลาย ข้อขัดแย้ง จัดการกับความคิดที่ แตกต่าง หลากหลายอย่างสร้างสรรค์ และเป็นกัลยาณมิตร ทักษะที่จาเป็นของวิทยากร การกากับกระบวนการกิจกรรมค่ายยุวชนคนคุณธรรมตั้งแต่ต้นจนจบ จาเป็นต้องรอบรู้ในการใช้ทักษะหลากหลายวิธีการ และใช้อย่างเหมาะสมกับเหตุการณ์เพื่อให้กระบวนการค่าย ดึงดูดความสนใจของผู้เข้าค่าย อย่างต่อเนื่อง ตลอดเวลา เช่น ก. การตั้งคาถาม เพื่อเปิดโอกาสให้สมาชิกของกลุ่มมีส่วนร่วมในการแสดงออก และ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นทาให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน ลักษณะการตั้งคาถาม เช่น คาถามปลายเปิด คาถาม เจาะลึก คาถามสะท้อนเพื่อความเข้าใจ หรือคาถามสรุป คาถามสะท้อนความรู้สึก คาถามปิดเพื่อตรวจสอบ ความเข้าใจของประเด็น เป็นต้น ข. การฟัง เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจในสิ่งที่ผู้พูดต้องการสื่อให้ทราบ การฟังที่ดีจะช่วยกระตุ้นให้กลุ่มร่วม แสดง ความคิดเห็น การฟังที่ดีจะต้องใช้ทั้งตาและหู รับรู้ภาษากายและคาพูด ทาความเข้าใจในความหมายของ สิ่งที่สื่อ ออกมาทั้งหมด ไม่ใช่เข้าใจอย่างผิวเผิน
  • 23. ฉบับร่าง ๒๓ ใบงานที่ ๑ ทดสอบความเข้าใจคุณธรรมและจริยธรรม กลุ่มที่ ..................ชื่อกลุ่ม...................................................................................................... ชื่อ....................................................นามสกุล..........................โรงเรียน..................................... คาชี้แจง พิจารณาข้อความตามรายการแล้วใส่เครื่องหมายในช่องที่เป็น “คุณธรรม” หรือ “จริยธรรม” ลาดับที่ รายการ คุณธรรม จริยธรรม ๑ ความสามัคคี ๒ ปิดน้าทุกครั้งหลังใช้ ๓ ความขยัน ๔ นวดให้พ่อ ๕ ความกตัญญู ๖ ความมีน้าใจ ๗ พูดจาไพเราะ ๘ ความซื่อสัตย์สุจริต ๙ พูดความจริง ๑๐ ความมีวินัย ๑๑ กล่าวคาขอโทษ ๑๒ ยิ้มไหว้ทักทาย ๑๓ ความพอเพียง ๑๔ ความรับผิดชอบ ๑๕ ช่วยเก็บขยะที่ทิ้งไว้นอกถังขยะ ๑๖ เข้าสอนตรงเวลาเป็นประจา ๑๗ ความสุภาพ ๑๘ แต่งกายถูกระเบียบของโรงเรียน ๑๙ นักเรียนอ่านหนังสือทุกวัน ๒๐ ช่วยสอนการบ้านให้เพื่อน
  • 24. ฉบับร่าง ๒๔ คาชี้แจง ๑. เขียนชื่อวีดิทัศน์ที่รับชมลงในช่องสี่เหลี่ยม ๒. บันทึกคุณธรรมที่พบในการชมวีดิทัศน์ ลงในช่องวงรี ๓. บันทึกพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกที่พบของแต่ละคุณธรรม ลงในเส้นก้างปลา ใบงานที่ ๒ วิเคราะห์คุณธรรมและจริยธรรมจากสื่อวีดิทัศน์ กลุ่มที่ .............. ชื่อกลุ่ม......................................................
  • 25. ฉบับร่าง ๒๕ ใบงานที่ ๓ การค้นหาปัญหาที่สาคัญ กลุ่มที่.............. ชื่อกลุ่ม........................................................................ คาชี้แจง สมาชิกแต่ละคนระบุปัญหาสาคัญ ที่ต้องการแก้ไขเร่งด่วนที่สุด ๓ – ๕ ปัญหา ลาดับความสาคัญ ปัญหา
  • 26. ฉบับร่าง 25 คาชี้แจง ๑. นาปัญหาจากใบงานที่ ๓มาอภิปราย เพื่อคัดเลือกปัญหาของกลุ่ม และจัดลาดับความสาคัญของปัญหาของกลุ่ม ประมาณ ๓-๕ปัญหา ๒. วิเคราะห์สาเหตุที่แท้จริงของแต่ละปัญหา ๓. ระบุพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกที่ต้องการให้เกิดขึ้น ๔. ระบุคุณธรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา ลาดับ ที่ ปัญหาของกลุ่ม สาเหตุ พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก คุณธรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหา ใบงานที่ ๔ ปัญหาของกลุ่ม – สาเหตุ - พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก – คุณธรรม กลุ่มที่ .............. ชื่อกลุ่ม......................................................
  • 27. ฉบับร่าง 26 คาชี้แจง ๑. กาหนดคุณธรรมเป้าหมาย โดยเลือกจากคุณธรรมที่ใช้ในการแก้ปัญหาในใบงานที่ ๔ ๒. นาพฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวกในใบงานที่ ๔มาใช้ในใบงานที่ ๕ โดยพิจารณาตามหน้าที่รับผิดชอบของแต่ละบุคคล คุณธรรมเป้าหมาย พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก ผู้บริหาร ครู นักเรียน ใบงานที่ ๕ ตารางคุณธรรมอัตลักษณ์ โรงเรียน..................................................................
  • 28. ฉบับร่าง 27 ใบงานที่ ๖ การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรม กลุ่มที่ ............ชื่อกลุ่ม..................................................... คาชี้แจง๑. อ่านข้อความทางซ้ายของตารางทีละข้อ ๒. รวมกันหาคาตอบจากข้อความทางซ้าย บันทึกลงในช่องด้านขวาของตาราง ๑.ระบุปัญหา โดยเลือกปัญหาจากใบ งานที่ ๔ ที่กลุ่มต้องการแก้ไขมากที่สุด ปัญหา : ๒. ระบุสาเหตุของปัญหา โดยนามา จากสาเหตุที่วิเคราะห์ไว้แล้วในใบงานที่ ๔ และพิจารณาเพิ่มเติมตามความ จาเป็น สาเหตุของปัญหา (อาจมีมากกว่า ๑ สาเหตุ) ๑................................................................................................... ๒................................................................................................... ๓.................................................................................................... ๔.................................................................................................... ๓. กาหนดวัตถุประสงค์ โดยให้ สอดคล้องกับปัญหาและสาเหตุของ ปัญหา ระบุวัตถุประสงค์ที่ทาโครงงาน ๑..................................................................................................... ๒.................................................................................................... ๓.................................................................................................... ๔. กาหนดเป้าหมายของการแก้ปัญหา นั้น โดยระบุเป้าหมายเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพ - เชิงปริมาณ โดยระบุกลุ่มบุคคล และ จานวนที่ต้องการให้เกิดการ เปลี่ยนแปลง - เชิงคุณภาพ โดยระบุพฤติกรรมบ่งชี้ เชิงบวกที่ต้องการให้เกิดขึ้น โดย กาหนดให้เป็นเป้าหมายระยะสั้นและ ระยะยาว ก็ได้ เป้าหมายเชิงปริมาณ =นักเรียนชั้น.................. จานวน........คน เป้าหมายเชิงคุณภาพ ................................................…………. ………………………………………………………..……………….. ………………………………………………………..……………….. - เป้าหมายระยะสั้น (ระยะ ๖ เดือนแรก) ........................... .................................................................................................... - เป้าหมายระยะยาว (ระยะ ๑๒ เดือน) .............................. .................................................................................................... ๕.กาหนดวิธีแก้ไขปัญหา(สอดคล้องกับ สาเหตุของปัญหา และวัตถุประสงค์ วิธีการแก้ไขต้องเป็นวิธีการเชิงบวก) วิธีแก้ไขปัญหา ๑.................................................................................................... ๒.................................................................................................... ๓.................................................................................................... ๔.................................................................................................... ๖.กาหนดหลักธรรม พระราชดารัส พระราชดาริ หรือคาสอนที่นามาใช้ใน การดาเนินงานโครงงานคุณธรรมให้ ประสบความสาเร็จ หลักธรรม/พระราชดารัส/พระราชดาริ/คาสอน ……....……………………….……………………………………….. ……....……………………….……………………………………….. ……....……………………….………………………………………..
  • 29. ฉบับร่าง 28 ๗. เชื่อมโยงไปสู่คุณธรรมอัตลักษณ์ของ โรงเรียน โดยระบุความสอดคล้องกับ คุณธรรมเป้าหมาย และพฤติกรรมบ่งชี้ เชิงบวก ซึ่งนามาจากใบงานที่ ๕ คุณธรรมเป้าหมาย ..................................................................... พฤติกรรมบ่งชี้เชิงบวก……………………………………………………… ๘. กาหนดวิธีวัดและประเมินผล โดย กาหนดตัวชี้วัด เพื่อวัดหรือประเมินผล ว่ามีการเปลี่ยนแปลงในกลุ่มเป้าหมาย เพียงใด วิธีการ : สอดคล้องกับสิ่งที่ต้องการจะ วัด เช่น การเก็บข้อมูลโดยการสอบถาม การสังเกต เครื่องมือ: สอดคล้องกับวิธีการวัด เช่น แบบสอบถาม แบบสังเกต ช่วงเวลา: เหมาะสมกับลักษณะของ โครงงาน ตัวชี้วัด......................................................................................... ..................................................................................................... วิธีการประเมิน............................................................................ ..................................................................................................... เครื่องมือที่ใช้ประเมิน…………………………………………………………. ..................................................................................................... ช่วงเวลาในการประเมิน.............................................................. ..................................................................................................... ๙. ตั้งชื่อโครงงานคุณธรรม (ชัดเจน เข้าใจง่ายและสะท้อนถึงปัญหาที่ เกิดขึ้น และกิจกรรม) ชื่อโครงงานคุณธรรม………………………………………………………… ……………………………………………………………………….................... ๑๐.คณะผู้รับผิดชอบ ชื่อคณะผู้รับผิดชอบ……………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………. ๑๑. ครูที่ปรึกษา ชื่อครูที่ปรึกษา……………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………
  • 30. ฉบับร่าง 29 แบบประเมินความรู้ความเข้าใจ คุณธรรม ๕ ประการ ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. (หลังการเรียนรู้ครบทั้ง ๕ ฐาน) ชื่อ-นามสกุล......................................................................ชั้น.................โรงเรียน............................................... กลุ่มที่.........................ชิอกลุ่ม............................................................................................................... คาชี้แจง พิจารณาข้อความตามรายการแล้วใส่เครื่องหมาย / ในช่องที่ตรงกับคุณธรรมอัตลักษณ์ที่กาหนด ข้อ ที่ รายการ คุณธรรมอัตลักษณ์ พอเพียง กตัญญู ซื่อสัตย์ สุจริต ความรับ ผิดชอบ อุดมการณ์ คุณธรรม ๑. นักเรียนเก็บของได้คืนให้แก่เจ้าของ ๒. นักเรียนไหว้พ่อแม่ก่อนมาโรงเรียน ๓. ด.ช.พนัสส่งการบ้านทันตามกาหนดเวลา ๔. นักเรียนทาความสะอาดในเขตรับผิดชอบ ๕. ชีวิตตั้งใจทาความดีเพราะเชื่อว่าการทาความดี จะทาให้ตนเองและคนอื่นมีความสุขด้วย ๖. ขวัญใจ นาผลไม้ไปมอบให้คุณครูที่บ้าน ๗. ปนัดดาตั้งใจทาข้อสอบโดยไม่ถามใคร ๘. นักเรียนมีสวนรวมในการจัดหาและ บารุงรักษาสมบัติของทางโรงเรียน ๙. ใช้สิ่งของตนเองหรือส่วนรวมอย่างประหยัด ๑๐. นราพร ปิดน้า-ปิดไฟของโรงเรียนเมื่อเลิกใช้ แล้ว ๑๑. พิมล สร้างชื่อเสียง และความภาคภูมิใจให้ ครอบครัวและโรงเรียน ๑๒. จาปีปลูกพืชสวนครัวไว้รับประทานเอง ๑๓. วันชัยช่วยเหลืองานพ่อแม่หรือผู้ปกครอง ๑๔. ดวงตาตั้งใจทางานตามที่คุณครูมอบหมาย ๑๕. บุหงาเป็นผู้พฤติตนสุภาพเรียบร้อย มารยาทดี เสมอจึงเป็นที่รักใคร่ของผู้ที่ได้พบเห็น ๑๖. ปัญญาแต่งกายถูกต้องตามระเบียบของ โรงเรียน ๑๗. แก้วตาช่วยเหลือคนชราข้ามถนน ๑๘. จรรยาไปทาอาหารมอบให้คนพิการ ๑๙. นภาช่วยเก็บขยะที่ทิ้งไว้นอกถังขยะ ๒๐. จินดานวดคลายเส้นให้พ่อแม่ เกณฑ์การประเมิน ตอบได้ถูก ๑๒ข้อขึ้นไปถือว่าผ่าน
  • 31. ฉบับร่าง 30 เฉลยแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจคุณธรรม ๕ ประการ ตามโครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ชื่อ-นามสกุล......................................................................ชั้น.................โรงเรียน............................................... กลุ่มที่.........................ชิอกลุ่ม............................................................................................................... คาชี้แจง พิจารณาข้อความตามรายการแล้วใส่เครื่องหมาย / ในช่องที่ตรงกับคุณธรรมอัตลักษณ์ที่กาหนด ข้อ ที่ รายการ คุณธรรมอัตลักษณ์ พอเพียง กตัญญู ซื่อสัตย์ สุจริต ความรับ ผิดชอบ อุดมการณ์ คุณธรรม ๑. นักเรียนเก็บของได้คืนให้แก่เจ้าของ  ๒. นักเรียนไหว้พ่อแม่ก่อนมาโรงเรียน  ๓. ด.ช.พนัสส่งการบ้านทันตามกาหนดเวลา  ๔. นักเรียนทาความสะอาดในเขตรับผิดชอบ  ๕. ชีวิตตั้งใจทาความดีเพราะเชื่อว่าการทาความดี จะทาให้ตนเองและคนอื่นมีความสุขด้วย  ๖. ขวัญใจ นาผลไม้ไปมอบให้คุณครูที่บ้าน  ๗. ปนัดดาตั้งใจทาข้อสอบโดยไม่ถามใคร  ๘. นักเรียนมีสวนรวมในการจัดหาและ บารุงรักษาสมบัติของทางโรงเรียน  ๙. ใช้สิ่งของตนเองหรือส่วนรวมอย่างประหยัด  ๑๐. นราพร ปิดน้า-ปิดไฟของโรงเรียนเมื่อเลิกใช้ แล้ว  ๑๑. พิมล สร้างชื่อเสียง และความภาคภูมิใจให้ ครอบครัวและโรงเรียน  ๑๒. จาปีปลูกพืชสวนครัวไว้รับประทานเอง  ๑๓. วันชัยช่วยเหลืองานพ่อแม่หรือผู้ปกครอง  ๑๔. ดวงตาตั้งใจทางานตามที่คุณครูมอบหมาย  ๑๕. บุหงาเป็นผู้พฤติตนสุภาพเรียบร้อย มารยาทดี เสมอจึงเป็นที่รักใคร่ของผู้ที่ได้พบเห็น  ๑๖. ปัญญาแตงกายถูกต้องตามระเบียบของ โรงเรียน  ๑๗. แก้วตาช่วยเหลือคนชราข้ามถนน  ๑๘. จรรยาไปทาอาหารมอบให้คนพิการ  ๑๙. นภาช่วยเก็บขยะที่ทิ้งไว้นอกถังขยะ  ๒๐. จินดานวดคลายเส้นให้พ่อแม่ 