SlideShare a Scribd company logo
 มลพิษสิ่งแวดล้อม (Pollution Environment) คือ ภาวะที่มีสาร
มลพิษ (Pollutants) หรือภาวะแปลกปลอมอื่น ๆ ปะปนในสิ่งแวดล้อมใน
ระดับที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เป็นภาวะที่ผิดปกติไปจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติ
เดิม เกินขีดมาตรฐานที่ชีวิต
จะทนได้
 สารมลพิษต่าง ๆในสิ่งแวดล้อมได้ 3 ประเภทใหญ่ ได้แก่
1. พวกที่สามารถย่อยสลายได้โดยวิธีการทางชีววิทยา (Degradable or
Bio Degradable Pollutants) สารมลพิษประเภทนี้ได้แก่ ของทิ้งเสีย
(Waste) ทั้งของแข็งและของเหลวที่เป็นอินทรีย์สารต่าง ๆ ช่น ขยะมูลฝอยที่เป็นอินทรีย
สาร น้าทิ้งจากชุมชน น้าทิ้งจากโรงงานแปรรูปอาหาร เป็นต้น
2. พวกที่ไม่สามารถจะย่อยสลายได้โดยขบวนการทางชีววิทยา
(Nondegradable
or Nonbio Degradable Pollutants) สารมลพิษเหล่านี้ได้แก่ สาร
ปรอท ตะกั่ว
สารหนู แคดเมียม ดีดีที เป็นต้น
3. สารมลพิษที่เป็นก๊าซ ได้แก่ ก๊าซพิษต่าง ๆ เช่น คาร์บอนมอนนอกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์
คลอรีน เป็นต้น
 1) เป็นผลจากการกระทาของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่
2) มีสิ่งเจือปนหรือปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมทั้งในรูปของสสารและพลังงาน
3) มีปริมาณมากพอที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
หรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนิเวศ
4) การเกิดมลพิษจะดาเนินไปตามวิถีทางของสารมลพิษจากแหล่งที่ผ่าน
สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ จนกระทั่งถึงมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
5) ขนาดหรือระดับของปัญหาจะขึ้นอยู่กับผลกระทบต่อกลุ่มเป้ าหมายต่าง ๆ
ได้แก่ มนุษย์ทรัพยากรธรรมชาติหรือระบบนิเวศ
 1. อากาศที่หายใจไม่บริสุทธิ์ มีเขม่า ควัน ปะปนมา ตลอดจนมีกลิ่นเหม็น และมี
ก๊าซที่ เป็นอันตรายต่อระบบหายใจของมนุษย์
2. น้าท่วมไร่นา บ้านเรือน ถนน เสียหายโดยฉับพลัน
3. น้าแข็งที่ขั้วโลกละลายมากขึ้น ทาให้น้าทะเลมีระดับสูง และไหลเข้ามาปนกับ
น้าจืดใน แม่น้าลาคลองมากขึ้น ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อบ้านเรือนและพืชที่ปลูกไว้
ริมน้า
4. ฝนเป็นกรด ทาลายพืชพันธุ์ธัญญาหาร ทาลายดิน ทาให้ปลูกพืชไม่งอกงาม
5. โลกจะร้อนขึ้น
6. ฤดูกาลจะแปรปรวน
7. ชั้นโอโซนถูกทาลาย และไม่ช่วยกรองรังสีอันตราย ทาให้ตาเป็นต้อ และ
ผิวหนังเป็น มะเร็ง
 1. มลพิษที่เป็นก๊าซ ของเหลว และของแข็ง จะเกิดขึ้นจากธรรมชาติ จากการเผา
ไหม้ ของเชื้อเพลิง จากการตัดไม้ทาลายป่า และจากการปนเปื้อนแทรกซึมของสาร
สังเคราะห์บางชนิดที่มนุษย์เราผลิตใช้กันมากขึ้น
2. มลพิษที่เป็นพลังงาน เช่น พลังงานความร้อนที่ทาให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น
เนื่องมาจาก
การตัดไม้ทาลายป่า การทาลายโอโซนในบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกไว้ การสร้าง
ยานพาหนะที่มีการเผาไหม้สูง หรือมีการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เป็นต้น ส่วนมลพิษที่
เป็นพลังงานชนิดอื่น เช่น แสง เสียง และแม่เหล็กไฟฟ้ านั้น ก็เกิดจากการที่มนุษย์
ผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่ไปทาลายประสาทหู ตา และประสาทสัมผัสอื่น
ของมนุษย์มากขึ้น
 มลพิษทางน้าเป็นปัญหาทางน้ามีสาเหตุสาคัญมาจากการน้าทิ้งจากโรงงาน
อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นน้าเสียจากขั้นตอนและกระบวนการผลิต การล้าง ขบวนการ หล่อเย็น
เป็นต้น แม้ว่าจะมีกฎหมายบังคับให้โรงงานอุตสาหกรรมต้องบาบัดน้าทิ้งเหล่านี้ก่อนปล่อย
ออกสู่แหล่งน้าธรรมชาติก็ แต่ในทางปฏิบัติรัฐบาลไม่สามารถควบคุมได้อย่างทั่วถึง การ
ก่อสร้างอาคารบ้านเรือนและชุมชน โดยเฉพาะในชุมชนเขตเมืองเช่น กรุงเทพมหานคร ที่มี
ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นทุกครัวเรือนปล่อยน้าทิ้งสู่แหล่งน้าธรรมชาติโดยตรง มิได้ผ่าน
ขบวนการกาจัดใดๆ นอกจากนี้ยังมีการทิ้งขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลต่างๆ ลงสู่แม่น้าลา
คลองอันเป็นการเพิ่มความสกปรกให้กับแหล่งน้าต่างๆ อีกด้วย
 รวมทั้งการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ในกระบวนการเพาะปลูกมักมีการใช้ปุ๋ ยและสารเคมี
ป้ องกัน กาจัดศัตรูพืชและสัตว์ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้อย่างขาดความระมัดระวัง ทาให้
สารเคมีแพร่กระจายสู่แหล่งน้าซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการฉีดพ่นสาร การชะล้างโดยฝน
การล้างภาชนะที่บรรจุหรืออุปกรณ์การฉีดพ่นในแหล่งน้า
 แนวทางการป้ องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางน้า มีดังนี้
 1). กาหนดค่ามาตรฐานคุณภาพของน้า เพื่อการควบคุมและอนุรักษ์คุณภาพน้าให้อยู่ในมาตรฐาน
ที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
 2). ควบคุมการกาจัดน้าเสียจากแหล่งกาเนิดน้าเสียต่างๆ เช่น บ้านพักอาศัย โรงงานอุตสาหกรรม
สถานประกอบการ ให้มีการบาบัดด้วยวิธีที่ได้มาตรฐานก่อนปล่อยสู่แหล่งน้าตามธรรมชาติ
 3). ประชาชนควรให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์แหล่งน้า โดยไม่ทิ้งขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลหรือ
สารเคมีลงแหล่งน้ารวมทั้งใช้น้าอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพมากที่สุด
 4). ไม่ตัดไม้ทาลายป่าอันเป็นแหล่งต้นน้าลาธาร เพราะเมื่อป่าไม้ถูกทาลายจะทาให้พื้นดินพังทลาย
ได้ง่าย เมื่อฝนตกลงมาน้าฝนก็จะกัดเซาะ พัดพาอินทรียวัตถุที่ปกคลุมผิวดิน ตะกอนดินและสิ่ง
ต่างๆลงสู่แหล่งน้า ทาให้น้าสกปรก ตื้นขึ้น
 5). ลดการใช้สารเคมีต่างๆให้น้อยที่สุด เพราะสารเคมีที่ใช้นั้น เมื่อถูกน้าฝนชะล้างลงสู่แหล่งน้าจะ
กลายเป็นปัญหามลพิษทางน้าต่อไป
 6). ประชาชนควรให้ความร่วมมือกับทางราชการหรือหน่วยงานอื่นๆ ในการพัฒนาแหล่งน้าหรือ
กาจัดน้าเสีย
 มลภาวะทางเสียง เป็นสภาวะที่มีการก่อให้เกิดเสียงที่มีการรบกวน อาจมาจาก
แหล่งกาเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากมนุษย์, สัตว์ หรือเครื่องจักรต่างๆ โดยหากเกิน 85 เดซิเบล
จะเป็นอันตรายต่อหู ยิ่งถ้าเกิน 90 เดซิเบลจะเป็นอันตรายต่อหูอย่างมาก ดังนั้นไม่ควรเข้า
ใกล้บริเวณที่มีเสียงดังเกินจะรับได้
 ทั้งนี้แหล่งที่มาของเสียงภายนอกทั่วโลกส่วนใหญ่มาจากการก่อสร้างและระบบการ
ขนส่ง รวมทั้ง เสียงรบกวนจากพาหนะยานยนต์, เครื่องบิน และรถไฟ หรือแม้แต่การวางผัง
เมืองที่ไม่ดีอาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงได้เช่นกัน และทางด้านแหล่งอุตสาหกรรมข้างเคียง
ตลอดจนการปลูกสร้างที่อยู่อาศัยก็อาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงในพื้นที่บริเวณที่อยู่อาศัย
ได้เช่นกัน
 มลภาวะทางเสียงทั้งภายในและภายนอกอาคารมีหลายชนิด อาทิ เสียงเตือนภัยจากรถ
, เสียงไซเรนสัญญาณฉุกเฉิน, อุปกรณ์เครื่องกล, พลุ, ฮอร์นบีบอัดอากาศ, เครื่องเจาะถนน,
เสียงสุนัขเห่า, เครื่องใช้ไฟฟ้ า, การแสดงแสงสีเสียง, ระบบเสียงเพื่อความบันเทิง, โทรโข่ง
ไฟฟ้ า และเสียงตะโกนจากมนุษย์
 1). กาหนดและบังคับใช้มาตรฐานระดับความดังในสถานที่ต่างๆไม้ให้เกินค่ามาตรฐาน เพื่อ
ลดอันตรายของเสียงที่อาจทาให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและการได้ยิน
 2). ควบคุมแหล่งกาเนิดเสียง เช่น ควบคุมเสียงที่เกิดจากยานพาหนะ โดยผู้ใช้รถทุกคันต้อง
ตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ของตนให้อยู่ในสภาพที่ดี ไม่ดัดแปลงท่อไอเสียให้เกิดเสียงดัง
รบกวนผู้อื่น โรงภาพยนตร์และสถานบันเทิงไม่ควรเปิดเสียงเครื่องเสียงที่ดังเกินค่า
มาตรฐาน รวมทั้งโรงงานอุตสาหกรรมควรเลือกใช้เครื่องจักรหรือเครื่องมือต่างๆที่เกิดเสียง
ดังรบกวนน้อยที่สุด
 3). สารวจและตรวจสอบตามแหล่งกาเนิดเสียงต่างๆเป็นประจา เพื่อเฝ้ าระวังและควบคุม
ไม่ให้เกิดมลพิษทางเสียง
 4). หลีกเลี่ยงการอยู่ในแหล่งที่เสียงดังเป็นเวลานานๆ แต่หากถ้าจาเป็นต้องอยู่หรือต้อง
ทางานที่เกี่ยวข้องกับเสียงดังมากๆ ควรใช้อุปกรณ์ป้ องกันหู เช่นที่ครอบหู ที่อุดหู เพื่อลด
อันตรายจากความดังของเสียง
 มลพิษทางอากาศ (Air pollution) คือการเกิดฝุ่นละออง โมเลกุล
ชีวภาพ หรือวัตถุอันตรายชนิดอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศของโลก เป็นสาเหตุของโรค
การเสียชีวิตในมนุษย์ และทาลายสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น พืชพันธุ์ สิ่งแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
 ชั้นบรรยากาศเป็นระบบแก๊สธรรมชาติที่ซับซ้อนที่จาเป็นต่อชีวิตบนโลก การลดลง
ของโอโซนในชั้นสตราโทสเฟียร์เนื่องจากมลพิษทางอากาศถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อ
สุขภาพของมนุษย์ รวมถึงระบบนิเวศของโลกด้วย
 สามารถแบ่งออกเป็น 3 แหล่งใหญ่ๆ ดังนี้
1. แหล่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม การจราจร การเผาขยะมูล
ฝอย การผลิตพลังงานไฟฟ้ า การใช้เชื้อเพลิงภายในบ้าน ฯลฯ
2. แหล่งธรรมชาติ ได้แก่ การระเบิดของภูเขาไฟ ไฟไหม้ป่า การเน่าเปื่อย การหมัก
การปลิวกระจายของดิน ฯลฯ
3. แหล่งกาเนิดอื่นๆ ได้แก่ แหล่งที่เกิดปัญหามลพิษทางอากาศจากการรวมตัวทาง
ปฏิกิริยาเคมีจากแหล่งต่างๆ ซึ่งจะทาให้เกิดการรวมตัวทางเคมี เช่น การ
เกิดปฏิกิริยา photochemical smog ฝนกรด อนุภาคซัลเฟตและไนเตรท
โดยทั่วไป
 1. จัดหาและพัฒนาระบบการตรวจคุณภาพในอากาศ ให้สามารถวิเคราะห์ปริมาณ
มลพิษทางอากาศชนิดต่าง ๆ เพื่อประเมินคุณภาพในอากาศ
 2. หาทางลดปริมาณสารมลพิษทางอากาศจาแหล่งกาเนิด เพื่อให้สามารถควบคุม
และรักษาคุณภาพอากาศให้ได้ตามมาตรฐาน
 3. กระตุ้นให้ผู้ใช้รถยนต์ให้ความสาคัญในการดูแลรักษาเครื่องยนต์ให้อยู่ในภาพดี
เพื่อ ลดควันดา
 4. ออกมาตรการตรวจสอบและตรวจจับรถยนต์ที่มีควันดา
5. รณรงค์ให้ผู้ขับขี่รถยนต์มีวินัยและเคารพในกฎจราจร
1. https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/en
-
sakol/sakoln.htm?fbclid=IwAR2oFoCuUbX2tIqd8
9TP0HmHsHptDwz4lZ3sRAUEGGMkZic4U7C3Sa6
PmKU
 2.
https://www.baanjomyut.com/library_2/extensio
n-4/social_studies/05_5.html
 3.
https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/mo
npit-a/monpit-a.htm
 4.
https://sites.google.com/site/30267jankk/naewt
hang-pxngkan-laea-kae-khi-payh
 เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
 เสนอ
 อาจารย์ อุบลรัตน์ วาริชวัฒนะ
 จัดทาโดย

 นายวัชระ ปราริปุณนัง 590404426284
 นายเฉลิมชัย ไกรพินิจ 590404426550
 นายสิรวัชญ์ ใจคิด 590404425778
 นายสิทธิกร ทุ่ยอ้น 590404426145

 วิชา
 SCIENCE AND TECHNOLOGY IN EVERY DAY LIFE

More Related Content

What's hot

หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่าย
Wichai Likitponrak
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
gchom
 
Food chain
Food chainFood chain
Food chain
Patcharee Punlaban
 
สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1Khwan Jomkhwan
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
Araya Toonton
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
kkrunuch
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีJariya Jaiyot
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis Pat Pataranutaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารWann Rattiya
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
Wan Ngamwongwan
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคTANIKAN KUNTAWONG
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Thitaree Samphao
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5Wichai Likitponrak
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
Mutita Eamtip
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
Sircom Smarnbua
 

What's hot (20)

หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่าย
 
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศแบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
แบบบันทึกกิจกรรมระบบนิเวศ
 
Food chain
Food chainFood chain
Food chain
 
สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1สมดุลเคมี1
สมดุลเคมี1
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
การสังเคราะห์ด้วยแสง Photosynthesis
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรคใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
ใบงานที่18คาร์โบไฮเดรค
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
สอบปลายภาคชีวะ51 2m.5
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 

Similar to เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม

คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
Water pollution
Water pollutionWater pollution
Water pollution
SuphakornLuekchanthu
 
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อมมลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
koradalerttayakun
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
Pannipa Saetan
 
การมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน
Chacrit Sitdhiwej
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
Water pollution
Water pollutionWater pollution
Water pollution
SuphakornLuekchanthu
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมQuartz Yhaf
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1Nong Max Z Kamilia
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมโรงพยาบาลสารภี
 
Air pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutAir pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavut
PeetAthipong
 
Mold remediation-after-flood
Mold remediation-after-floodMold remediation-after-flood
Mold remediation-after-flood
Boonlert Aroonpiboon
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมPoramate Minsiri
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
JittrapornKhumthongt
 
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Naname001
 
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
Natta Noname101
 
1384945915
13849459151384945915
1384945915
ssuserf2dcbb
 

Similar to เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม (20)

Dioxin
DioxinDioxin
Dioxin
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
Water pollution
Water pollutionWater pollution
Water pollution
 
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อมมลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
การมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
Water pollution
Water pollutionWater pollution
Water pollution
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อมสารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
สารก่อมะเร็งปอดในสิ่งแวดล้อม
 
Air pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutAir pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavut
 
Mold remediation-after-flood
Mold remediation-after-floodMold remediation-after-flood
Mold remediation-after-flood
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
 
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
 
1384945915
13849459151384945915
1384945915
 

เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม

  • 1.
  • 2.  มลพิษสิ่งแวดล้อม (Pollution Environment) คือ ภาวะที่มีสาร มลพิษ (Pollutants) หรือภาวะแปลกปลอมอื่น ๆ ปะปนในสิ่งแวดล้อมใน ระดับที่เป็นอันตรายต่อผู้บริโภค เป็นภาวะที่ผิดปกติไปจากสภาพแวดล้อมธรรมชาติ เดิม เกินขีดมาตรฐานที่ชีวิต จะทนได้
  • 3.  สารมลพิษต่าง ๆในสิ่งแวดล้อมได้ 3 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 1. พวกที่สามารถย่อยสลายได้โดยวิธีการทางชีววิทยา (Degradable or Bio Degradable Pollutants) สารมลพิษประเภทนี้ได้แก่ ของทิ้งเสีย (Waste) ทั้งของแข็งและของเหลวที่เป็นอินทรีย์สารต่าง ๆ ช่น ขยะมูลฝอยที่เป็นอินทรีย สาร น้าทิ้งจากชุมชน น้าทิ้งจากโรงงานแปรรูปอาหาร เป็นต้น 2. พวกที่ไม่สามารถจะย่อยสลายได้โดยขบวนการทางชีววิทยา (Nondegradable or Nonbio Degradable Pollutants) สารมลพิษเหล่านี้ได้แก่ สาร ปรอท ตะกั่ว สารหนู แคดเมียม ดีดีที เป็นต้น 3. สารมลพิษที่เป็นก๊าซ ได้แก่ ก๊าซพิษต่าง ๆ เช่น คาร์บอนมอนนอกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ คลอรีน เป็นต้น
  • 4.  1) เป็นผลจากการกระทาของมนุษย์เป็นส่วนใหญ่ 2) มีสิ่งเจือปนหรือปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อมทั้งในรูปของสสารและพลังงาน 3) มีปริมาณมากพอที่จะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ หรือสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนิเวศ 4) การเกิดมลพิษจะดาเนินไปตามวิถีทางของสารมลพิษจากแหล่งที่ผ่าน สิ่งแวดล้อมต่าง ๆ จนกระทั่งถึงมนุษย์หรือสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ 5) ขนาดหรือระดับของปัญหาจะขึ้นอยู่กับผลกระทบต่อกลุ่มเป้ าหมายต่าง ๆ ได้แก่ มนุษย์ทรัพยากรธรรมชาติหรือระบบนิเวศ
  • 5.  1. อากาศที่หายใจไม่บริสุทธิ์ มีเขม่า ควัน ปะปนมา ตลอดจนมีกลิ่นเหม็น และมี ก๊าซที่ เป็นอันตรายต่อระบบหายใจของมนุษย์ 2. น้าท่วมไร่นา บ้านเรือน ถนน เสียหายโดยฉับพลัน 3. น้าแข็งที่ขั้วโลกละลายมากขึ้น ทาให้น้าทะเลมีระดับสูง และไหลเข้ามาปนกับ น้าจืดใน แม่น้าลาคลองมากขึ้น ซึ่งจะเป็นอันตรายต่อบ้านเรือนและพืชที่ปลูกไว้ ริมน้า 4. ฝนเป็นกรด ทาลายพืชพันธุ์ธัญญาหาร ทาลายดิน ทาให้ปลูกพืชไม่งอกงาม 5. โลกจะร้อนขึ้น 6. ฤดูกาลจะแปรปรวน 7. ชั้นโอโซนถูกทาลาย และไม่ช่วยกรองรังสีอันตราย ทาให้ตาเป็นต้อ และ ผิวหนังเป็น มะเร็ง
  • 6.  1. มลพิษที่เป็นก๊าซ ของเหลว และของแข็ง จะเกิดขึ้นจากธรรมชาติ จากการเผา ไหม้ ของเชื้อเพลิง จากการตัดไม้ทาลายป่า และจากการปนเปื้อนแทรกซึมของสาร สังเคราะห์บางชนิดที่มนุษย์เราผลิตใช้กันมากขึ้น 2. มลพิษที่เป็นพลังงาน เช่น พลังงานความร้อนที่ทาให้โลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องมาจาก การตัดไม้ทาลายป่า การทาลายโอโซนในบรรยากาศที่ห่อหุ้มโลกไว้ การสร้าง ยานพาหนะที่มีการเผาไหม้สูง หรือมีการเผาไหม้ที่ไม่สมบูรณ์ เป็นต้น ส่วนมลพิษที่ เป็นพลังงานชนิดอื่น เช่น แสง เสียง และแม่เหล็กไฟฟ้ านั้น ก็เกิดจากการที่มนุษย์ ผลิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ที่ไปทาลายประสาทหู ตา และประสาทสัมผัสอื่น ของมนุษย์มากขึ้น
  • 7.
  • 8.  มลพิษทางน้าเป็นปัญหาทางน้ามีสาเหตุสาคัญมาจากการน้าทิ้งจากโรงงาน อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นน้าเสียจากขั้นตอนและกระบวนการผลิต การล้าง ขบวนการ หล่อเย็น เป็นต้น แม้ว่าจะมีกฎหมายบังคับให้โรงงานอุตสาหกรรมต้องบาบัดน้าทิ้งเหล่านี้ก่อนปล่อย ออกสู่แหล่งน้าธรรมชาติก็ แต่ในทางปฏิบัติรัฐบาลไม่สามารถควบคุมได้อย่างทั่วถึง การ ก่อสร้างอาคารบ้านเรือนและชุมชน โดยเฉพาะในชุมชนเขตเมืองเช่น กรุงเทพมหานคร ที่มี ประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นทุกครัวเรือนปล่อยน้าทิ้งสู่แหล่งน้าธรรมชาติโดยตรง มิได้ผ่าน ขบวนการกาจัดใดๆ นอกจากนี้ยังมีการทิ้งขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลต่างๆ ลงสู่แม่น้าลา คลองอันเป็นการเพิ่มความสกปรกให้กับแหล่งน้าต่างๆ อีกด้วย  รวมทั้งการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ ในกระบวนการเพาะปลูกมักมีการใช้ปุ๋ ยและสารเคมี ป้ องกัน กาจัดศัตรูพืชและสัตว์ซึ่งเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้อย่างขาดความระมัดระวัง ทาให้ สารเคมีแพร่กระจายสู่แหล่งน้าซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการฉีดพ่นสาร การชะล้างโดยฝน การล้างภาชนะที่บรรจุหรืออุปกรณ์การฉีดพ่นในแหล่งน้า
  • 9.  แนวทางการป้ องกันและแก้ไขปัญหามลพิษทางน้า มีดังนี้  1). กาหนดค่ามาตรฐานคุณภาพของน้า เพื่อการควบคุมและอนุรักษ์คุณภาพน้าให้อยู่ในมาตรฐาน ที่ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ  2). ควบคุมการกาจัดน้าเสียจากแหล่งกาเนิดน้าเสียต่างๆ เช่น บ้านพักอาศัย โรงงานอุตสาหกรรม สถานประกอบการ ให้มีการบาบัดด้วยวิธีที่ได้มาตรฐานก่อนปล่อยสู่แหล่งน้าตามธรรมชาติ  3). ประชาชนควรให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์แหล่งน้า โดยไม่ทิ้งขยะมูลฝอย สิ่งปฏิกูลหรือ สารเคมีลงแหล่งน้ารวมทั้งใช้น้าอย่างประหยัดและมีประสิทธิภาพมากที่สุด  4). ไม่ตัดไม้ทาลายป่าอันเป็นแหล่งต้นน้าลาธาร เพราะเมื่อป่าไม้ถูกทาลายจะทาให้พื้นดินพังทลาย ได้ง่าย เมื่อฝนตกลงมาน้าฝนก็จะกัดเซาะ พัดพาอินทรียวัตถุที่ปกคลุมผิวดิน ตะกอนดินและสิ่ง ต่างๆลงสู่แหล่งน้า ทาให้น้าสกปรก ตื้นขึ้น  5). ลดการใช้สารเคมีต่างๆให้น้อยที่สุด เพราะสารเคมีที่ใช้นั้น เมื่อถูกน้าฝนชะล้างลงสู่แหล่งน้าจะ กลายเป็นปัญหามลพิษทางน้าต่อไป  6). ประชาชนควรให้ความร่วมมือกับทางราชการหรือหน่วยงานอื่นๆ ในการพัฒนาแหล่งน้าหรือ กาจัดน้าเสีย
  • 10.
  • 11.  มลภาวะทางเสียง เป็นสภาวะที่มีการก่อให้เกิดเสียงที่มีการรบกวน อาจมาจาก แหล่งกาเนิดเสียงต่างๆ ทั้งจากมนุษย์, สัตว์ หรือเครื่องจักรต่างๆ โดยหากเกิน 85 เดซิเบล จะเป็นอันตรายต่อหู ยิ่งถ้าเกิน 90 เดซิเบลจะเป็นอันตรายต่อหูอย่างมาก ดังนั้นไม่ควรเข้า ใกล้บริเวณที่มีเสียงดังเกินจะรับได้  ทั้งนี้แหล่งที่มาของเสียงภายนอกทั่วโลกส่วนใหญ่มาจากการก่อสร้างและระบบการ ขนส่ง รวมทั้ง เสียงรบกวนจากพาหนะยานยนต์, เครื่องบิน และรถไฟ หรือแม้แต่การวางผัง เมืองที่ไม่ดีอาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงได้เช่นกัน และทางด้านแหล่งอุตสาหกรรมข้างเคียง ตลอดจนการปลูกสร้างที่อยู่อาศัยก็อาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงในพื้นที่บริเวณที่อยู่อาศัย ได้เช่นกัน  มลภาวะทางเสียงทั้งภายในและภายนอกอาคารมีหลายชนิด อาทิ เสียงเตือนภัยจากรถ , เสียงไซเรนสัญญาณฉุกเฉิน, อุปกรณ์เครื่องกล, พลุ, ฮอร์นบีบอัดอากาศ, เครื่องเจาะถนน, เสียงสุนัขเห่า, เครื่องใช้ไฟฟ้ า, การแสดงแสงสีเสียง, ระบบเสียงเพื่อความบันเทิง, โทรโข่ง ไฟฟ้ า และเสียงตะโกนจากมนุษย์
  • 12.  1). กาหนดและบังคับใช้มาตรฐานระดับความดังในสถานที่ต่างๆไม้ให้เกินค่ามาตรฐาน เพื่อ ลดอันตรายของเสียงที่อาจทาให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและการได้ยิน  2). ควบคุมแหล่งกาเนิดเสียง เช่น ควบคุมเสียงที่เกิดจากยานพาหนะ โดยผู้ใช้รถทุกคันต้อง ตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ของตนให้อยู่ในสภาพที่ดี ไม่ดัดแปลงท่อไอเสียให้เกิดเสียงดัง รบกวนผู้อื่น โรงภาพยนตร์และสถานบันเทิงไม่ควรเปิดเสียงเครื่องเสียงที่ดังเกินค่า มาตรฐาน รวมทั้งโรงงานอุตสาหกรรมควรเลือกใช้เครื่องจักรหรือเครื่องมือต่างๆที่เกิดเสียง ดังรบกวนน้อยที่สุด  3). สารวจและตรวจสอบตามแหล่งกาเนิดเสียงต่างๆเป็นประจา เพื่อเฝ้ าระวังและควบคุม ไม่ให้เกิดมลพิษทางเสียง  4). หลีกเลี่ยงการอยู่ในแหล่งที่เสียงดังเป็นเวลานานๆ แต่หากถ้าจาเป็นต้องอยู่หรือต้อง ทางานที่เกี่ยวข้องกับเสียงดังมากๆ ควรใช้อุปกรณ์ป้ องกันหู เช่นที่ครอบหู ที่อุดหู เพื่อลด อันตรายจากความดังของเสียง
  • 13.
  • 14.  มลพิษทางอากาศ (Air pollution) คือการเกิดฝุ่นละออง โมเลกุล ชีวภาพ หรือวัตถุอันตรายชนิดอื่น ๆ ในชั้นบรรยากาศของโลก เป็นสาเหตุของโรค การเสียชีวิตในมนุษย์ และทาลายสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ เช่น พืชพันธุ์ สิ่งแวดล้อมทาง ธรรมชาติ หรือสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง  ชั้นบรรยากาศเป็นระบบแก๊สธรรมชาติที่ซับซ้อนที่จาเป็นต่อชีวิตบนโลก การลดลง ของโอโซนในชั้นสตราโทสเฟียร์เนื่องจากมลพิษทางอากาศถือว่าเป็นภัยคุกคามต่อ สุขภาพของมนุษย์ รวมถึงระบบนิเวศของโลกด้วย
  • 15.  สามารถแบ่งออกเป็น 3 แหล่งใหญ่ๆ ดังนี้ 1. แหล่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ โรงงานอุตสาหกรรม การจราจร การเผาขยะมูล ฝอย การผลิตพลังงานไฟฟ้ า การใช้เชื้อเพลิงภายในบ้าน ฯลฯ 2. แหล่งธรรมชาติ ได้แก่ การระเบิดของภูเขาไฟ ไฟไหม้ป่า การเน่าเปื่อย การหมัก การปลิวกระจายของดิน ฯลฯ 3. แหล่งกาเนิดอื่นๆ ได้แก่ แหล่งที่เกิดปัญหามลพิษทางอากาศจากการรวมตัวทาง ปฏิกิริยาเคมีจากแหล่งต่างๆ ซึ่งจะทาให้เกิดการรวมตัวทางเคมี เช่น การ เกิดปฏิกิริยา photochemical smog ฝนกรด อนุภาคซัลเฟตและไนเตรท โดยทั่วไป
  • 16.  1. จัดหาและพัฒนาระบบการตรวจคุณภาพในอากาศ ให้สามารถวิเคราะห์ปริมาณ มลพิษทางอากาศชนิดต่าง ๆ เพื่อประเมินคุณภาพในอากาศ  2. หาทางลดปริมาณสารมลพิษทางอากาศจาแหล่งกาเนิด เพื่อให้สามารถควบคุม และรักษาคุณภาพอากาศให้ได้ตามมาตรฐาน  3. กระตุ้นให้ผู้ใช้รถยนต์ให้ความสาคัญในการดูแลรักษาเครื่องยนต์ให้อยู่ในภาพดี เพื่อ ลดควันดา  4. ออกมาตรการตรวจสอบและตรวจจับรถยนต์ที่มีควันดา 5. รณรงค์ให้ผู้ขับขี่รถยนต์มีวินัยและเคารพในกฎจราจร
  • 17.
  • 18. 1. https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/en - sakol/sakoln.htm?fbclid=IwAR2oFoCuUbX2tIqd8 9TP0HmHsHptDwz4lZ3sRAUEGGMkZic4U7C3Sa6 PmKU  2. https://www.baanjomyut.com/library_2/extensio n-4/social_studies/05_5.html  3. https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/mo npit-a/monpit-a.htm  4. https://sites.google.com/site/30267jankk/naewt hang-pxngkan-laea-kae-khi-payh
  • 19.  เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม  เสนอ  อาจารย์ อุบลรัตน์ วาริชวัฒนะ  จัดทาโดย   นายวัชระ ปราริปุณนัง 590404426284  นายเฉลิมชัย ไกรพินิจ 590404426550  นายสิรวัชญ์ ใจคิด 590404425778  นายสิทธิกร ทุ่ยอ้น 590404426145   วิชา  SCIENCE AND TECHNOLOGY IN EVERY DAY LIFE