SlideShare a Scribd company logo
ส่วนที่ 1 บทนำำ
1.1 หลักกำรและเหตุผล
กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวง
มหำดไทย ได้บูรณำกำรร่วมกันในกำรผลักดันและขับเคลื่อนกำรแก้ไขปัญหำ
กำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำย ภำยใต้ Roadmap กำรจัดกำร
ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำย ซึ่งได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรักษำควำม
สงบแห่งชำติ (คสช.) เมื่อวันที่ 26 สิงหำคม 2557 โดยให้ดำำเนินกำรแก้ไข
ปัญหำขยะมูลฝอย ทั้งในกรุงเทพมหำนคร ส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค และท้องถิ่น
ในทุกมิติ ตำมแนวทำงปฏิบัติ 4 ยุทธศำสตร์ คือ
1) กำำจัดขยะมูลฝอยตกค้ำงสะสมในสถำนที่กำำจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่
วิกฤติ (ขยะมูลฝอยเก่ำ)
2) สร้ำงรูปแบบกำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำยที่เหมำะสม
(ขยะมูลฝอยใหม่) เน้นกำรลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทำง จัดกำร
ขยะมูลฝอยแบบศูนย์รวม กำำจัดโดยเทคโนโลยีแบบผสมผสำนเน้นกำรแปรรูป
เป็นพลังงำน หรือทำำให้เกิดประโยชน์สูงสุด
3) วำงระเบียบ มำตรกำร กำรบริหำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสีย
อันตรำย
4) สร้ำงวินัยของคนในชำติมุ่งสู่กำรจัดกำรที่ยั่งยืน
ทั้งนี้ ได้วำงกรอบกำรดำำเนินงำนจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสีย
อันตรำย ตำม Roadmap ดังกล่ำว ดังนี้
1) ให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเป็นผู้บริหำรจัดกำรในภำพรวมของจังหวัด
(Single Manager)
2) ห้ำมเทกองแบบกลำงแจ้ง (No More Open Dump)
3) ปรับปรุง ฟื้นฟู ปิด สถำนที่กำำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชำกำร
4) คัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทำง (ขยะทั่วไป ขยะอินทรีย์ ขยะ
รีไซเคิล ขยะอันตรำย)
5) จัดกำรขยะมูลฝอยแบบรวมศูนย์ เน้นกำรแปรรูปเป็นพลังงำน หรือ
ทำำให้เกิดประโยชน์สูงสุด
6) สร้ำงระบบกำรจัดกำรของเสียอันตรำยชุมชน และมูลฝอยติดเชื้อ
7) ส่งเสริมภำคเอกชนมำลงทุน หรือดำำเนินงำนระบบฯ
8) กำรสร้ำงวินัยคนในชำติ มุ่งสู่กำรจัดกำรอย่ำงยั่งยืน
9) กำรจัดกำรที่ต้นทำง เน้นกำรผลิตและกำรบริโภคอย่ำงยั่งยืน (SCP :
Sustainable Consumption and Production)
10) มีแผนแม่บทกำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำยของ
ประเทศ
1
จังหวัดขอนแก่น มีปริมำณขยะสะสมบริเวณสถำนที่กำำจัดขยะของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถึง 723,691 ตัน ซึ่งจำกกำรจัดลำำดับจังหวัด
สกปรกด้ำนกำรจัดกำรขยะมูลฝอย ปรำกฏว่ำจังหวัดขอนแก่นถูกจัดลำำดับ
จังหวัดสกปรกลำำดับที่ 18 และมีปริมำณขยะสะสมมำกที่สุดอยู่ในลำำดับที่ 8 มี
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพียง 32 แห่ง จำกจำำนวน 224 แห่ง (ไม่รวม
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด) หรือร้อยละ 14 ที่มีกำรกำำจัดขยะมูลฝอยถูกหลัก
สุขำภิบำล และมีปริมำณขยะที่มีกำรจัดกำรและฝังกลบถูกหลักสุขำภิบำลเพียง
206 ตัน/วัน จำกปริมำณกำรเกิดขยะมูลฝอยชุมชน 1,224 ตัน/วัน มีเพียง
หรือคิดเป็นร้อยละ 11.35 เท่ำนั้น ทำำให้เกิดปัญหำผลกระทบสิ่งแวดล้อมจำก
กำรเผำไหม้ขยะมูลฝอย กำรปนเปื้อนของนำ้ำชะขยะไหลลงสู่แหล่งนำ้ำผิวดิน
และแหล่งนำ้ำใต้ดิน ปัญหำกลิ่นเหม็นและพำหะนำำโรค ส่งผลกระทบต่อชุมชน
และประชำชนที่อำศัยใกล้เคียง ทำำให้มีกำรร้องเรียนของรำษฎรเป็นประจำำ
ดังนั้น เพื่อเป็นกำรแก้ไขปัญหำ และบริหำรจัดกำรขยะมูลฝอยของ
จังหวัดขอนแก่นถูกวิธี ป้องกันผลกระทบต่ำงๆ ที่เกิดขึ้น และเพื่อให้กำร
ดำำเนินงำนตำม Roadmap กำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำย เป็น
ไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ จึงได้จัดทำำแผนบริหำรจัดกำรขยะมูลฝอยจังหวัด
ขอนแก่นขึ้น
1.2 วัตถุประสงค์
เพื่อเป็นกรอบแนวทำงให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องนำำไปบริหำรจัดกำรขยะ
มูลฝอยและของเสียอันตรำยของจังหวัดขอนแก่นให้เป็นไปอย่ำงมี
ประสิทธิภำพ ถูกหลักวิชำกำร และสอดคล้องกับสถำนกำรณ์ปัจจุบัน
1.3 เป้ำหมำย
ภำยในปี 2562 จังหวัดขอนแก่น มีกำรบริหำรจัดกำรขยะมูลฝอยและ
ของเสียอันตรำยอย่ำงถูกหลักวิชำกำร และมีประสิทธิภำพ
1.4 กรอบแนวคิด
กำรดำำเนินงำนสอดคล้องและต่อยอดกับ
1.4.1 ทิศทำงแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติฉบับที่ 11
(พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-
2559) มีกรอบแนวคิดกำรพัฒนำภำยใต้หลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง และ
ขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทำงปฏิบัติที่ชัดเจนในทุกภำคส่วน ทุกระดับ ยึด
แนวคิดกำรพัฒนำแบบบูรณำกำรเป็นองค์รวม ที่มีคนเป็นศูนย์กลำงกำรพัฒนำ
มีกำรเชื่อมโยงทุกมิติของกำรพัฒนำอย่ำงบูรณำกำร ทั้งมิติตัวคน สังคม
เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และกำรเมือง เพื่อสร้ำงภูมิคุ้มกันให้พร้อมเผชิญกำร
2
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพื่อให้กำรพัฒนำประเทศสู่ควำมสมดุลและยั่งยืน โดย
นำำทุนของประเทศที่มีศักยภำพมำใช้ประโยชน์อย่ำงบูรณำกำรและเกื้อกูลกัน
พร้อมทั้งเสริมสร้ำงให้แข็งแกร่งเพื่อเป็นรำกฐำนกำรพัฒนำประเทศที่สำำคัญ
ในส่วนของกำรเสริมสร้ำงทุนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ให้ควำม
สำำคัญกับกำรสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนอำหำร กำรบริหำรจัดกำร
ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นฐำนกำรผลิตภำคเกษตร มุ่งสู่กำร
เป็นเศรษฐกิจและสังคมคำร์บอนตำ่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กำรเตรียม
ควำมพร้อมรองรับกำรเปลี่ยนแปลงภูมิอำกำศและภัยพิบัติทำงธรรมชำติ รวม
ทั้งกำรสร้ำงภูมิคุ้มกันด้ำนกำรค้ำจำกเงื่อนไขด้ำนสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับกำร
เพิ่มบทบำทไทยในเวทีประชำคมโลก
ทั้งนี้ ภำยใต้กำรขับเคลื่อนและแปลงแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 11 ไปสู่
กำรปฏิบัติในระดับต่ำงๆ ที่สอดคล้องกับสภำพภูมิสังคม และกระจำยกำร
พัฒนำลงสู่พื้นที่ โดยยึดหลักกำรพัฒนำพื้นที่ ภำรกิจ และกำรมีส่วนร่วม
(Area – Function – Participation : A–F-P) ให้จังหวัดเป็นพื้นที่ดำำเนินกำร
ขับเคลื่อนกำรพัฒนำและเป็นจุดเชื่อมโยงกำรพัฒนำจำกระดับชุมชนสู่
ประเทศและประเทศสู่ชุมชน ใช้กลไกและเครื่องมือกำรพัฒนำของภำครัฐ
ภำคประชำชน ภำคธุรกิจเอกชน และสื่อมวลชนอย่ำงบูรณำกำรให้กำรขับ
เคลื่อนเกิดประสิทธิภำพด้วยกระบวนกำรสร้ำงเครือข่ำยหรือ คลัสเตอร์ที่ตอบ
สนองต่อกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำศักยภำพของพื้นที่
1.4.2 แผนจัดคุณภำพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2555-2559
แผนจัดกำรคุณภำพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2555-2559 เป็นแผนระยะ
กลำงที่มีควำมสอดคล้องกับทิศทำงของแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่ง
ชำติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) โดยยึดหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง
ในกำรสร้ำงสมดุลระหว่ำงกำรอนุรักษ์และกำรใช้ประโยชน์จำก
ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งผลให้เกิดกำรพัฒนำที่ยั่งยืนต่อ
กำรพัฒนำในหลำยมิติ ทั้งมิติด้ำนเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยต้อง
พิจำรณำบริบทกำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมอย่ำงรอบด้ำน
โดยเฉพำะบริบทของกำรเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจำกแรงกดดันของกระแส
แนวคิดและสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ทั้งภำยในและภำยนอกประเทศ รวมถึงให้ควำม
สำำคัญต่อบทบำทที่เข้มแข็งขึ้นของภำคประชำชน สิทธิชุมชนและส่งเสริม
กำรกระจำยอำำนำจและหน้ำที่รับผิดชอบตำมแนวทำงของรัฐธรรมนูญแห่ง
รำชอำณำจักรไทย พ.ศ.2550
1.5 นิยำมและควำมหมำย
มูลฝอย หมำยควำมว่ำ เศษกระดำษ เศษผ้ำ เศษอำหำร เศษสินค้ำ ถุง
พลำสติก ภำชนะใส่อำหำร เถ้ำ มูลสัตว์ หรือซำกสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่
3
เก็บกวำดจำกถนน ตลำด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น (พระรำชบัญญัติกำร
สำธำรณสุข, 2535)
ขยะมูลฝอย (Solid waste) คือ เศษกระดำษ เศษผ้ำ เศษอำหำร เศษ
สินค้ำ เศษวัตถุ ถุงพลำสติก ภำชนะที่ใส่อำหำร เถ้ำ มูลสัตว์ ซำกสัตว์หรือสิ่ง
อื่นใดที่เก็บกวำดจำกถนน ตลำด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น และหมำยควำมรวมถึง
มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษ หรืออันตรำยจำกชุมชนหรือครัวเรือน ยกเว้น
วัสดุที่ไม่ใช้แล้วของโรงงำนซึ่งมีลักษณะและคุณสมบัติที่กำำหนดไว้ตำม
กฎหมำยว่ำด้วยโรงงำน (กรมควบคุมมลพิษ, 2548)
ขยะย่อยสลำย (Compostable waste) หรือ มูลฝอยย่อยสลำย คือ ขยะ
ที่เน่ำเสียและย่อยสลำยได้เร็ว สำมำรถนำำมำหมักทำำปุ๋ยได้ เช่น เศษผัก
เปลือกผลไม้ เศษอำหำร ใบไม้ เศษเนื้อสัตว์ เป็นต้น แต่จะไม่รวมถึงซำกหรือ
เศษของพืช ผัก ผลไม้ หรือสัตว์ที่เกิดจำกกำรทดลองในห้องปฏิบัติกำรโดย
ขยะที่ย่อยสลำยนี้ เป็นขยะที่พบมำกที่สุด คือ พบมำกถึง 64% ของปริมำณ
ขยะทั้งหมดในกองขยะ (กรมควบคุมมลพิษ, 2548)
ขยะรีไซเคิล (Recyclable waste) หรือ มูลฝอยที่ยังใช้ได้ คือ ของเสีย
บรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้ ซึ่งสำมำรถนำำกลับมำใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เช่น
แก้ว กระดำษ เศษพลำสติก กล่องเครื่องดื่มแบบ UHT กระป๋องเครื่องดื่ม เศษ
โลหะ อะลูมิเนียม ยำงรถยนต์ เป็นต้น สำำหรับขยะรีไซเคิลนี้ เป็นขยะที่พบมำก
เป็นอันดับที่สองในกองขยะ กล่ำวคือ พบประมำณ ร้อยละ 30 ของปริมำณ
ขยะทั้งหมดในกองขยะ (กรมควบคุมมลพิษ, 2548)
ขยะอันตรำย (Hazardous waste) หรือ มูลฝอยอันตรำย คือ ขยะที่มี
องค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุอันตรำยชนิดต่ำงๆ ซึ่งได้แก่ วัตถุระเบิด วัตถุ
ไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำำให้เกิดโรค วัตถุกรรมมันตรังสี วัตถุ
ที่ทำำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงทำงพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดกำร
ระคำยเคือง วัตถุอย่ำงอื่นไม่ว่ำจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใดที่อำจทำำให้เกิด
อันตรำยแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม เช่น ถ่ำนไฟฉำย หลอด
ฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่โทรศัพท์เคลื่อนที่ ภำชนะบรรจุสำรกำำจัดศัตรูพืช
กระป๋องสเปรย์บรรจุสีหรือสำรเคมี เป็นต้น ขยะอันตรำยนี้เป็นขยะที่มักจะพบ
ได้น้อยที่สุด กล่ำวคือ พบประมำณเพียง ร้อยละ 3 ของปริมำณขยะทั้งหมดใน
กองขยะ (กรมควบคุมมลพิษ, 2548)
ขยะทั่วไป (General waste) มูลฝอยทั่วไป คือ ขยะประเภทอื่นนอก
เหนือจำกขยะย่อยสลำย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตรำย มีลักษณะที่ย่อยสลำย
ยำกและไม่คุ้มค่ำสำำหรับกำรนำำกลับมำใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ห่อพลำสติกใส่
ขนม ถุงพลำสติกบรรจุผงซักฟอก พลำสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสำำเร็จรูป
ถุงพลำสติกเปื้อนเศษอำหำร โฟมเปื้อนอำหำร ฟอล์ยเปื้อนอำหำร เป็นต้น
สำำหรับขยะทั่วไปนี้ เป็นขยะที่มีปริมำณใกล้เคียงกับขยะอันตรำย กล่ำวคือ จะ
4
พบประมำณ ร้อยละ 3 ของปริมำณขยะทั้งหมดในกองขยะ (กรมควบคุม
มลพิษ, 2548)
มูลฝอยติดเชื้อ หมำยควำมว่ำ มูลฝอยที่มีเชื้อโรคปะปนอยู่ในปริมำรหรือมี
ควำมเข้มข้น ซึ่งถ้ำมีกำรสัมผัสหรือใกล้ชิดกับมูลฝอยนั้นแล้ว สำมำรถทำำให้
เกิดโรคได้(กฎกระทรวงสำธำรณสุขว่ำด้วยกำรกำำจัดมูลฝอยติดเชื้อ, 2545)
กรณีมูลฝอยดังต่อไปนี้ ที่เกิดขึ้นหรือใช้ในกระบวนกำรตรวจวินิจฉัย
ทำงกำรแพทย์และกำรรักษำพยำบำล กำรให้ภูมิคุ้มกันโรคและกำรทดลอง
เกี่ยวกับโรค และกำรตรวจชันสูตรศพหรือซำกสัตว์ รวมทั้งในกำรศึกษำวิจัย
เรื่องดังกล่ำว ให้ถือว่ำเป็นมูลฝอยติดเชื้อ
(1) ซำกหรือชิ้นส่วนของมนุษย์หรือสัตว์ที่เป็นผลมำจำกกำรผ่ำตัดกำร
ตรวจชันสูตรศพ หรือซำกสัตว์ และกำรใช้สัตว์ทดลอง
(2) วัสดุของมีคม เช่น เข็ม ใบมี กระบอกฉีดยำ หลอดแก้ว ภำชนะที่ทำำ
ด้วยแก้ว สไลด์ และกระจกปิดสไลด์
(3) วัสดุซึ่งสัมผัสหรือสงสัยว่ำจะสัมผัสกับเลือด ส่วนประกอบของเลือด
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกเลือด สำรนำ้ำจำกร่ำงกำยของมนุษย์หรือสัตว์ หรือวัคซีนที่
ทำำจำกเชื้อโรคที่มีชีวิต เช่น สำำลี ผ้ำก๊อส ผ้ำต่ำงๆ และท่อยำง
(4) มูลฝอยทุกชนิดที่มำจำกห้องรักษำผู้ป่วยติดเชื้อร้ำยแรง
5
ส่วนที่ 2 สถำนกำรณ์ขยะมูลฝอยในภำพรวมของจังหวัด
2.1 ข้อมูลพื้นฐำนของจังหวัด
2.1.1 สภำพทำงกำยภำพ
จังหวัดขอนแก่น ตั้งอยู่ระหว่ำงเส้นรุ้งที่ 15 - 17 องศำเหนือและเส้น
แวงที่ 101 - 103 องศำตะวันออก ซึ่งอยู่บริเวณตอนกลำงของภำคตะวันออก
เฉียงเหนือ ห่ำงจำกกรุงเทพมหำนคร 445 กิโลเมตร มีพื้นที่ 10,885.99
ตำรำงกิโลเมตร หรือประมำณ 6,803,744 ไร่ ภูมิประเทศเป็นพื้นที่รำบ มี
ลักษณะสูงตำ่ำสลับเป็นลูกคลื่นลำดเทไปทำงทิศตะวันออกและทิศใต้ มีที่รำบ
ลุ่มแถบลุ่มนำ้ำชีและลุ่มนำ้ำพอง พื้นที่สูงกว่ำระดับนำ้ำทะเลปำนกลำงเฉลี่ย 100-
200 เมตร
2.1.2 อำณำเขตจังหวัด (รูปที่ 1)
ทิศเหนือ - ติดกับจังหวัดอุดรธำนี เลย และหนองบัวลำำภู
ทิศใต้ - ติดกับจังหวัดนครรำชสีมำและบุรีรัมย์
ทิศตะวันออก - ติดกับจังหวัดกำฬสินธุ์และมหำสำรคำม
ทิศตะวันตก - ติดกับจังหวัดชัยภูมิและเพชรบูรณ์
2.1.3 เส้นทำงคมนำคม
ทำงรถยนต์ มีทำงหลวงแผ่นดินผ่ำนพื้นที่จำำนวน 7 สำย ได้แก่
- ทำงหลวงหมำยเลข 2: สระบุรี-นครรำชสีมำ-ขอนแก่น-
อุดรธำนี-หนองคำย
- ทำงหลวงหมำยเลข 12: ขอนแก่น-เพชรบูรณ์
- ทำงหลวงหมำยเลข 23: แยกจำกทำงหลวงหมำยเลข 2 ผ่ำน
อำำเภอบ้ำนไผ่ (ขอนแก่น) – มหำสำรคำม
- ทำงหลวงหมำยเลข 201 : ขอนแก่น-ชัยภูมิ-เลย
- ทำงหลวงหมำยเลข 207 : ขอนแก่น-บุรีรัมย์
- ทำงหลวงหมำยเลข 208 : ขอนแก่น-มหำสำรคำม
- ทำงหลวงหมำยเลข 209 : ขอนแก่น-กำฬสินธุ์
ทำงรถไฟ เส้นทำงจำก กรุงเทพฯ-หนองคำย ขนำนกับทำงหลวง
หมำยเลข 2 หรือถนนมิตรภำพ ผ่ำนอำำเภอในเขตพื้นที่ คือ อำำเภอพล
บ้ำนไผ่ บ้ำนแฮด เมืองขอนแก่น นำ้ำพอง และเขำสวนกวำง
ทำงเครื่องบิน มีท่ำอำกำศยำนพำณิชย์ 1 แห่ง ห่ำงจำกตัวเมือง 8
กิโลเมตร เส้นทำงบิน กรุงเทพฯ -ขอนแก่น- กรุงเทพ ฯ ใช้เวลำเดินทำง
ประมำณ 55 นำที
6
รูปที่ 1 แสดงขอบเขตของจังหวัดขอนแก่น
2.1.4 กำรปกครอง
- อำำเภอ จำำนวน 26 อำำเภอ 198 ตำำบล 2,331 หมู่บ้ำน และ 389
ชุมชน
7
(ที่มำ : ที่ทำำกำรปกครองจังหวัดขอนแก่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม
2556)
- - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำำนวน 225 แห่ง ประกอบด้วย
องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด จำำนวน 1 แห่ง เทศบำล จำำนวน 85 แห่ง (เทศบำล
นคร จำำนวน 1 แห่ง เทศบำลเมือง จำำนวน 6 แห่ง และเทศบำลตำำบล จำำนวน
78 แห่ง) และองค์กำรบริหำรส่วนตำำบล จำำนวน 139 แห่ง
(ที่มำ : สำำนักงำนส่งเสริมกำรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดขอนแก่น
2556)
- - รำชกำรส่วนภูมิภำค 33 ส่วนรำชกำร รำชกำรส่วนกลำงและ
รัฐวิสำหกิจ 227 หน่วยงำน
(ที่มำ : สำำนักงำนจังหวัดขอนแก่น 2557)
2.1.5 ประชำกร
ประชำกรรวม 1,781,655 คน แยกเป็นชำย 881,591 คน หญิง
900,064 ค น จำำ น ว น บ้ ำ น 561,774 ห ลั ง
ตำรำงที่ 1 จำำนวนประชำกรและจำำนวนบ้ำนของจังหวัดขอนแก่น
อำำเภอ
จำำนวนประ
ขำกร
จำำนวน
ประชำกรชำย
จำำนวน
ประชำกรหญิง
จำำนวน
บ้ำน
เมือง
ขอนแก่น 396,522 192,189 204,333 171,235
บ้ำนฝำง 54,464 27,273 27,191 16,211
พระยืน 34,534 16,969 17,565 9,747
หนองเรือ 93,422 46,434 46,988 25,013
ชุมแพ 123,351 61,220 62,131 38,487
สีชมพู 78,268 39,138 39,130 22,426
นำ้ำพอง 113,766 56,723 57,043 32,044
อุบลรัตน์ 44,541 22,288 22,253 11,487
กระนวน 78,765 39,245 39,520 22,181
บ้ำนไผ่ 101,214 50,016 51,198 31,636
เปือยน้อย 19,981 10,045 9,936 5,021
พล 87,294 43,274 44,020 25,084
แวงใหญ่ 29,554 14,573 14,981 7,425
แวงน้อย 42,142 20,983 21,159 11,459
หนองสองห้
อง 78,086 39,055 39,031 20,374
ภูเวียง 72,085 35,981 36,104 19,326
มัญจำคีรี 71,738 35,684 36,054 20,946
ชนบท 48,853 23,960 24,893 13,510
8
อำำเภอ
จำำนวนประ
ขำกร
จำำนวน
ประชำกรชำย
จำำนวน
ประชำกรหญิง
จำำนวน
บ้ำน
เขำสวน
กวำง 38,207 19,214 18,993 10,444
ภูผำม่ำน 22,808 11,444 11,364 6,420
ซำำสูง 23,647 11,734 11,913 6,436
โคกโพธิ์
ไชย 25,487 12,757 12,730 7,211
หนองนำคำำ 23,798 11,878 11,920 5,945
บ้ำนแฮด 32,717 16,296 16,421 9,334
โนนศิลำ 26,485 13,292 13,193 7,271
เวียงเก่ำ 19,926 9,926 10,000 5,101
รวม 1,781,655 881,591 900,064 561,774
ที่มำ : สำำนักบริหำรทะเบียน กรมกำรปกครอง กระทรวงมหำดไทย รวบรวม
โดย สำำนักงำนสถิติพยำกรณ์ สำำนักงำนสถิติแห่งชำติ ณ 31 ธันวำคม 2556
2.1.6 ลักษณะภูมิประเทศ
สภำพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่รำบสูง มีพื้นที่สูงตำ่ำสลับเป็นลูกคลื่น ทำง
ทิศตะวันตกสูงมำก เพรำะมีแนวเขำภูกระดึงและเพชรบูรณ์ สำำหรับทำงทิศ
ตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงใต้มีลักษณะสูงตำ่ำ มีที่รำบลุ่มแถบลุ่มนำ้ำชีใน
เขตพื้นที่อำำเภอพระยืน ชนบท บ้ำนไผ่ มัญจำคีรี แวงน้อย แวงใหญ่ เมือง
ขอนแก่น และที่รำบลุ่มนำ้ำพองในเขตพื้นที่อำำเภอนำ้ำพอง อุบลรัตน์และเมือง
ขอนแก่น พื้นที่สูงกว่ำระดับนำ้ำทะเลปำนกลำงโดยเฉลี่ย 100 - 200 เมตร
2.1.7 ลักษณะภูมิอำกำศ
ในรอบปี 2556 อุณหภูมิสูงสุดวัดได้ 41.8 องศำเซลเซียส เมื่อวันที่ 5
เมษำยน 2556 และอุณหภูมิตำ่ำสุดวัดได้ 11.6 องศำเซลเซียส เมื่อวันที่ 28
ธันวำคม 2556 สำมำรถเปรียบเทียบอุณหภูมิย้อนหลัง 10 ปี ได้ตำมตำรำงที่ 4
ตำรำงที่ 2 เปรียบเทียบอุณหภูมิอำกำศของจังหวัดขอนแก่นย้อนหลัง 10 ปี
(พ.ศ. 2547 – 2556)
ปี อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิตำ่ำสุด อุณหภูมิเฉลี่ย
2547 40.4 13.0 27.00
2548 40.2 11.0 25.60
2549 39.3 12.0 25.70
2550 41.1 12.6 27.00
2551 38.5 11.9 26.00
2552 39.6 10.2 27.80
2553 41.2 13.5 27.41
9
ปี อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิตำ่ำสุด อุณหภูมิเฉลี่ย
2554 39.3 11.6 26.17
2555 39.0 15.0 27.11
2556 41.8 11.6 27.70
ที่มำ : สถำนีอุตุนิยมวิทยำขอนแก่น 2557
หมำยเหตุ : 1. อุณหภูมิสูงสุด หรือตำ่ำสุด คือ ค่ำของอุณหภูมิสูงที่สุดหรือ
ตำ่ำที่สุดที่ตรวจวัดได้ในช่วงเวลำ 24 ชั่วโมง (เวลำ 07.00 น.วันนี้ ถึง เวลำ
07.00 น.วันพรุ่งนี้)
2. อุณหภูมิเฉลี่ยของปี คือ ค่ำเฉลี่ยของอุณหภูมิที่ตรวจวัดได้ทุก
ครั้งในเวลำ 1 ปี
2.1.8 ปริมำณนำ้ำฝน
สถิติข้อมูลปริมำณนำ้ำฝนของจังหวัดขอนแก่น โดยศูนย์
อุตุนิยมวิทยำภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เปรียบเทียบย้อนหลัง 10 ปี
(2547 - 2556) ฝนตกมำกที่สุดปี พ.ศ. 2550 วัดได้ 1,378.9 มิลลิเมตร
จำำนวนวันที่ฝนตก 101 วัน ฝนตกน้อยที่สุดในปี พ.ศ.2548 วัดได้ 936.5
มิลลิเมตร จำำนวนวันที่ฝนตก 106 วัน
ตำรำงที่ 3 เปรียบเทียบปริมำณนำ้ำฝนในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นย้อนหลัง 10 ปี
(พ.ศ.2547-พ.ศ.2556)
ปี พ.ศ. ปริมำณนำ้ำฝน (มม.) จำำนวนวันที่ฝนตก
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
1,303.5
936.5
1,201.5
1,378.9
1,274.5
1,039.5
1,230.1
1,338.8
1,039.4
943.1
94
106
108
101
135
104
110
131
100
109
ที่มำ : ศูนย์อุตุนิยมวิทยำภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2556
2.1.9 สภำพเศรษฐกิจ
ในปี 2555 ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) จังหวัดขอนแก่นมีมูลค่ำ
จำำนวน 185,603 ล้ำนบำท เป็นลำำดับที่ 14 ของประเทศ และเป็นลำำดับที่ 2
ของภำคตะวันออกเฉียงเหนือรองจำกจังหวัดนครรำชสีมำ (ตำรำงที่ 6)
10
สำขำกำรผลิตที่สร้ำงรำยได้ให้กับจังหวัดขอนแก่น ในปี 2555 คือ
สำขำนอกภำคเกษตร มีมูลค่ำ 163,144 ล้ำนบำท ในขณะที่สำขำภำคเกษตรมี
มูลค่ำ 22,451 ล้ำนบำท (ตำรำงที่ 7)
สำขำนอกภำคเกษตร มีมูลค่ำอันดับ 1 คือ สำขำผลิตอุตสำหกรรม มี
มูลค่ำ 77,001 ล้ำนบำท รองลงมำคือสำขำกำรศึกษำ มีมูลค่ำ 18,468 ล้ำน
บำท และกำรขำยส่ง ขำยปลีก ซ่อมแซมฯ มีมูลค่ำ 16,426 ล้ำนบำท
รำยได้เฉลี่ยต่อหัวประชำกร (Per Capita GPP) ของจังหวัด
ขอนแก่น ปี 2555 คือ 106,583 บำท (ตำรำงที่ 8) อยู่ในอันดับที่ 1 ของภำค
ตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ 33 ของประเทศ
ตำรำงที่ 4 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดขอนแก่น (Gross Provincial Product:
GPP)
ปี 2551 2552 2553 2554 2555
ผลิตภัณฑ์จังหวัด
(GPP)
125,813 141,468 151,17
9
159,377 185,60
3
ตำรำงที่ 5 รำยได้เปรียบเทียบตำมสัดส่วน GPP สำขำนอกภำคเกษตรและ
สำขำภำคเกษตร
ปี 2551 2552 2553 2554 2555
สำขำภำคเกษตร 13,027 15,842 17,515 19,524 22,451
สำขำนอกภำค
เกษตร
112,786 125,627 133,66
4
139,853 163,14
4
ตำรำงที่ 6 รำยได้เฉลี่ยต่อหัวประชำกร (Per Capita GPP)
ปี 2551 2552 2553 2554 2555
รำยได้เฉลี่ยต่อหัวประชำกร
(GPP)
71,77
4
80,96
1
86,83
4
91,51
6
106,58
3
ที่มำ : สำำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ปี
2555
2.1.10 อุตสำหกรรม
มีโรงงำนอุตสำหกรรมได้รับอนุญำตให้ประกอบกำร จำำนวนทั้งสิ้น
4,191 โรงงำน เงินทุน 92,651,443,781 บำท คนงำน 56,428 คน แยกตำม
จำำพวกโรงงำนได้ดังตำรำงที่ 9
ตำรำงที่ 7 แสดงประเภท จำำนวน เงินลงทุน และจำำนวนคนงำนของโรงงำน
อุตสำหกรรมในจังหวัดขอนแก่น
11
โรงงำ
น
จำำพวก
ที่
จำำนวน
โรงงำน
จำำนวนเงิน
ลงทุน
(บำท)
จำำนวนคนงำน (คน) แรงม้ำ
ชำย หญิง รวมคน
งำน
1 2,750 266,456,040 3,43
9
134 3,573 32,913.56
2 518 906,459,190 2,61
5
1,24
9
3,864 14,179.11
3 923 91,478,528,5
51
23,4
80
25,5
11
48,991 2,905,363.1
7
รวม 4,191 92,651,443,7
81
29,5
34
26,8
94
56,428 2,952,455.8
4
หมำยเหตุ จำำพวกที่ 2 คือ ต้องแจ้งให้ทรำบก่อนกำรประกอบกิจกำรโรงงำน
จำำพวกที่ 3 คือ ต้องได้รับอนุญำตก่อนจึงจะดำำเนินกิจกำรได้
สำขำอุตสำหกรรมที่มีกำรลงทุนมำกที่สุด 10 อันดับแรกของจังหวัดขอนแก่น
ได้แก่
1. อุตสำหกรรมกำรเกษตร จำำนวน 2,764
โรงงำน
2. อุตสำหกรรมอโลหะ จำำนวน 218 โรงงำน
3. อุตสำหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ จำำนวน 218
โรงงำน
4. อุตสำหกรรมขนส่ง จำำนวน 181 โรงงำน
5. อุตสำหกรรมอำหำร จำำนวน 154 โรงงำน
6. อุตสำหกรรมอื่นๆ จำำนวน 116 โรงงำน
7. อุตสำหกรรมเครื่องจักรกล จำำนวน 114 โรงงำน
8. อุตสำหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จำกไม้ จำำนวน 64 โรงงำน
9. อุตสำหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน จำำนวน 52
โรงงำน
10. อุตสำหกรรมพลำสติก จำำนวน 43 โรงงำน
ที่มำ : สำำนักงำนอุตสำหกรรมจังหวัดขอนแก่น 2557
มีโรงงำนอุตสำหกรรมที่ได้รับอนุญำตประกอบกิจกำรที่ใช้แรงงำนตั้งแต่ 100
คนขึ้นไป แยกได้ดังนี้
1. โรงงำนที่ใช้คนงำนตั้งแต่ 100 - 299 คน มี 87 โรงงำน
2. โรงงำนที่ใช้คนงำนตั้งแต่ 300 - 499 คน มี 26 โรงงำน
3. โรงงำนที่ใช้คนงำนตั้งแต่ 500 - 999 คน มี 12 โรงงำน
12
4. โรงงำนที่ใช้คนงำนตั้งแต่ > 1,000 คนขึ้นไป มี 10 โรงงำน
ที่มำ : กรมสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำน กระทรวงแรงงำน 2556
2.1.11 เกษตรกรรม
มีพื้นที่กำรเกษตร 4,369,043 ไร่ (ร้อยละ 64.19 ของพื้นที่
จังหวัด) โดยอยู่ในเขตชลประทำน 757,542 ไร่ (คิดเป็นร้อยละ 13.14 ของ
พื้นที่กำรเกษตร หรือร้อยละ 8 ของพื้นที่จังหวัด) จำำนวนคนทำำงำนในภำค
เกษตร 439,583 คน (ที่มำ : สำำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น
2555) โดยมีผลผลิตจำกพืชที่สำำคัญ ดังนี้
ข้ำว นำปรัง ผลผลิตรวม 67,807 ตัน
นำปี ผลผลิตรวม 760,496 ตัน
อ้อยโรงงำน ผลผลิตรวม 7,248,278 ตัน
มันสำำปะหลัง ผลผลิตรวม 624,636 ตัน
ถั่วเหลือง ผลผลิตรวม 4,457 ตัน
โดยมีผลผลิตจำกสัตว์ที่สำำคัญ ดังนี้
โคเนื้อ ผลผลิตรวม 38,227 ตัว
สุกร ผลผลิตรวม 150,606 ตัว
ไก่เนื้อ ผลผลิตรวม 8,629,462 ตัว
โคนม ผลผลิตนำ้ำนมดิบรวม 31,102ตัน
ที่มำ : สำำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร 2556
2.1.12 พลังงำน
มีโรงงำนผลิตเอทำนอล 2 แห่ง กำำลังกำรผลิตจำกมันสำำปะหลัง
130,000 ลิตร/วัน และจำกกำกนำ้ำตำล 150,000 ลิตร/วัน สถำนีบริกำรนำ้ำมัน
เชื้อเพลิง 667 แห่ง สถำนีบริกำรก๊ำซธรรมชำติ (NGV) 9 แห่ง สถำนีบริกำร
ก๊ำซ LPG 61 แห่ง และร้ำนจำำหน่ำยก๊ำซหุงตุ้ม (LPG) 680 แห่ง
(ที่มำ : สำำนักงำนพลังงำนจังหวัดขอนแก่น 2557)
2.1.13 สื่อสำรและโทรคมนำคม
มีที่ทำำกำรไปรษณีย์ จำำนวน 28 แห่ง แยกเป็นประเภทรับฝำก
(ปทฝ.) 4 แห่ง และประเภทรับ-จ่ำย (ปทจ.) 24 แห่ง มีสำำนักงำนเขตโทรศัพท์
ภูมิภำคที่ 2 ซึ่งมีชุมสำยในกำรปฏิบัติงำนในจังหวัด 8 แห่ง
สื่อมวลชนมีสถำนีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT ขอนแก่น
สำำนักประชำสัมพันธ์เขต 1 สถำนีถ่ำยทอดผ่ำนดำวเทียมของสถำนีวิทยุ
โทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และช่อง 9 อ.ส.ม.ท. สถำนีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก
ช่อง 5 ช่อง 7 และทีวีไทย
13
นอกจำกนี้ยังมีสถำนีวิทยุกระจำยเสียง 14 สถำนี หนังสือพิมพ์
ส่วนกลำง 12 ฉบับ และหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น 13 ฉบับ (สำำนักงำน
ประชำสัมพันธ์จังหวัดขอนแก่น 2555)
2.1.14 กำรเงินกำรธนำคำร
เป็นที่ตั้งของธนำคำรแห่งประเทศไทย สำำนักงำนภำคตะวันออก
เฉียงเหนือ และสถำบันกำรเงินพิเศษของรัฐ ได้แก่ ธนำคำรเพื่อกำรเกษตร
และสหกรณ์กำรเกษตร ธนำคำรออมสิน ธนำคำรอำคำรสงเครำะห์ ธนำคำร
พัฒนำวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อมแห่งประเทศไทย ธนำคำรเพื่อกำร
ส่งออกและนำำเข้ำแห่งประเทศไทย ธนำคำรอิสลำมแห่งประเทศไทย รวมทั้ง
ธนำคำรพำณิชย์สำขำหลักและสำขำย่อย รวมทั้งสิ้น 100 แห่ง
- ปริมำณเงินฝำกธนำคำรพำณิชย์คงค้ำง ณ สิ้นเดือนกุมภำพันธ์
2555 มียอดคงค้ำง 67,765.67 ล้ำนบำท ขยำยตัวจำกเดือนเดียวกันปีที่แล้ว
ร้อยละ 2.48 ชะลอตัวจำกเดือนที่แล้วที่ขยำยตัวร้อยละ 6.23 ตำมกำรชะลอ
ตัวของเงินฝำกออมทรัพย์ และเงินฝำกประจำำ เนื่องจำกผู้ฝำกเงินหันไปลงทุน
ในแหล่งอื่นที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่ำ ในขณะที่เงินฝำกกระแสรำยวันหดตัว
จำกเดือนที่แล้ว ตำมเงินฝำกส่วนรำชกำรที่มีกำรเบิกจ่ำยลดลง
- - ปริมำณเงินฝำกธนำคำรรัฐ (ธนำคำรออมสิน ธนำคำร
อำคำรสงเครำะห์ และธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร) ณ สิ้น
เดือนกุมภำพันธ์ 2555 มียอดค้ำง 35,248.89 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกเดือน
เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 22.29 ปรับตัวดีขึ้นจำกเดือนที่แล้วที่ขยำยตัวร้อยละ
21.93 เนื่องจำกกำรขยำยตัวของเงินฝำกธนำคำรอำคำรสงเครำะห์ ในขณะที่
ธนำคำรออมสิน และธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตรเงินฝำก
ชะลอตัวจำกเดือนที่แล้ว
- - ปริมำณสินเชื่อธนำคำรพำณิชย์คงค้ำง ณ สิ้นเดือนกุมภำพันธ์
2555 มียอดคงค้ำง 94,005 ล้ำนบำท ขยำยตัวจำกเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ร้อย
ละ 15.43 ชะลอจำกเดือนที่แล้วที่ขยำยตัวร้อยละ 16.37 ตำมกำรชะลอตัว
ของเงินเบิกเกินบัญชีและเงินให้กู้
- - ปริมำณสินเชื่อธนำคำรรัฐ (ธนำคำรออมสิน ธนำคำร
อำคำรสงเครำะห์ และธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร) ณ สิ้น
เดือนกุมภำพันธ์ 2555 มียอดค้ำง 67,099.20 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกเดือน
เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 25.31 ปรับตัวดีขึ้นจำกเดือนที่แล้วที่ขยำยตัวร้อยละ
24.02 จำกกำรขยำยตัวของสินเชื่อตำมนโยบำยของภำครัฐผ่ำนธนำคำร
ออมสิน และธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร อย่ำงไรก็ตำมสิน
เชื่อของธนำคำรอำคำรสงเครำะห์ปรับตัวดีขึ้น ตำมสินเชื่อเพื่อที่อยู่อำศัย
ที่มำ : ธนำคำรแห่งประเทศไทย สำำนักงำนภำคตะวันออกเฉียงเหนือ 2555
14
2.1.15 กำรค้ำและกำรบริกำร
มีโรงแรม 142 แห่ง ห้องพัก 5,790 ห้อง มีศูนย์กำรค้ำขนำด
ใหญ่ 6 แห่ง และขนำดกลำง 23 แห่ง โรงภำพยนตร์ 20 โรง สถำนบริกำร
70 แห่ง (ที่มำ : ที่ทำำกำรปกครองจังหวัดขอนแก่น 2554)
2.1.16 ประปำ
กำรประปำ มีสำำนักงำนประปำอยู่ในพื้นที่ จำำนวน 9 แห่ง ให้
บริกำรจ่ำยนำ้ำประปำ 8 แห่ง ได้แก่ สำำนักงำนประปำขอนแก่น บ้ำนไผ่ ชุมแพ
นำ้ำพอง ชนบท กระนวน หนองเรือ และเมืองพล จำำนวนผู้ใช้นำ้ำรวม 164,581
รำย กำำลังกำรผลิตที่ใช้งำน 8,700 ลูกบำศก์เมตร/ชั่วโมง ปริมำณนำ้ำผลิต
63,543,401 ลูกบำศก์เมตร ปริมำณนำ้ำจำำหน่ำย 43,375,003 ลูกบำศก์เมตร
ตำรำงที่ 8 แสดงข้อมูลกำรใช้นำ้ำประปำ จังหวัดขอนแก่น
กำำลังกำรผลิต นำ้ำที่ผลิตได้ ปริมำณนำ้ำที่ จำำนวนผู้ใช้นำ้ำ
(ลบ.ม./ชั่วโมง) (ลบ.ม.) จำำหน่ำยแก่ผู้ใช้ (รำย)
(ลบ.ม.) นำ้ำจ่ำยฟรี นำ้ำสูญเสีย (ลบ.ม.)
8,700 63,543,401 43,375,003 163,971 22,639,028 2,991,984 164,581
สำำนักงำนประปำขอนแก่น 800 4,970,987 3,219,522 18,380 1,661,600 229,510 14,346
สำำนักงำนประปำบ้ำนไผ่ 490 2,102,072 1,502,195 3,799 689,742 70,707 7,245
สำำนักงำนประปำชุมแพ 480 2,539,278 1,783,729 9,015 755,549 66,957 8,445
สำำนักงำนประปำนำ้ำพอง 250 2,120,944 1,490,712 92,040 630,232 38,900 10,264
สำำนักงำนประปำชนบท 450 3,508,739 2,686,785 4,906 821,954 92,882 11,904
สำำนักงำนประปำกระนวน 5,300 41,974,149 27,075,101 23,835 15,760,076 2,335,198 85,059
สำำนักงำนประปำหนองเรือ 430 3,203,559 2,364,616 3,580 838,943 97,391 11,595
สำำนักงำนประปำเมืองพล 500 3,123,673 3,252,343 8,416 1,480,932 60,439 15,723
รวม
ปริมำณนำ้ำที่ใช้
ในระบบ
ปริมำณนำ้ำที่จ่ำยเพื่อ
สำำนักงำนประปำ สำธำรณประโยชน์และรั่วไหล(ลบ.ม)
ที่มำ : สำำนักงำนกำรประปำส่วนภูมิภำคเขต 6 จังหวัดขอนแก่น 2556
2.1.17 ไฟฟ้ำ
กำรไฟฟ้ำมีแหล่งผลิตไฟฟ้ำที่สำำคัญ คือ โรงไฟฟ้ำพลังนำ้ำเขื่อน
อุบลรัตน์ และโรงไฟฟ้ำพลังควำมร้อนร่วมนำ้ำพอง กำำลังผลิต 25.2 เมกกะวัตต์
และ 710 เมกกะวัตต์ตำมลำำดับ สถำนะกำรใช้ ไฟฟ้ำของจังหวัดขอนแก่น
478,919 ครัวเรือน มีไฟฟ้ำใช้แล้ว 464,286 ครัวเรือน เป็นร้อยละที่มีไฟฟ้ำ
ใช้ 96.94
ตำรำงที่ 9 แสดงข้อมูลกำรใช้ไฟฟ้ำ จังหวัดขอนแก่น
อำำเภอ จำำนวนผู้ใช้
ไฟฟ้ำ(รำย)
ปริมำณกำรใช้
ไฟฟ้ำ(หน่วย)
มูลค่ำกำรใช้
ไฟฟ้ำ(บำท)
อำำเภอเมือง
ขอนแก่น
134,443 96,434,338.91 343,310,734.94
อำำเภอ 16,105 3,659,808.67 13,040,054.23
15
อำำเภอ จำำนวนผู้ใช้
ไฟฟ้ำ(รำย)
ปริมำณกำรใช้
ไฟฟ้ำ(หน่วย)
มูลค่ำกำรใช้
ไฟฟ้ำ(บำท)
บ้ำนฝำง
อำำเภอพระยืน 8,753 1,749,170.72 5,841,022.55
อำำเภอ
หนองเรือ
25,807 5,407,359.39 19,738,242.39
อำำเภอชุมแพ 25,837 8,510,547.56 32,416,584.58
อำำเภอสีชมพู 17,971 2,158,302.30 7,801,087.43
อำำเภอนำ้ำพอง 27,356 14,604,994.64 50,931,343.22
อำำเภอ
อุบลรัตน์
13,757 2,193,358.52 7,602,180.59
อำำเภอ
กระนวน
20,370 4,099,072.04 13,835,254.74
อำำเภอบ้ำนไผ่ 30,192 8,665,197.82 30,267,270.04
อำำเภอ
เปือยน้อย
5,413 601,511.88 2,047,228.83
อำำเภอพล 21,921 5,342,993.23 18,711,437.64
อำำเภอ
แวงใหญ่
6,508 782,697.44 2,617,839.52
อำำเภอ
แวงน้อย
10,481 1,236,666.99 4,134,023.86
อำำเภอ
หนองสองห้อง
18,055 2,255,834.05 8,299,128.90
อำำเภอภูเวียง 21,666 3,007,354.31 10,709,109.43
อำำเภอ
มัญจำคีรี
18,039 2,675,183.08 9,653,121.73
อำำเภอชนบท 11,996 2,011,566.40 6,731,159.37
อำำเภอเขำสวน
กวำง
7,110 1,141,360.10 3,867,286.33
อำำเภอภูผำ
ม่ำน
9,432 1,864,689.78 6,968,805.37
อำำเภอซำำสูง 5,212 791,849.82 2,628,922.76
อำำเภอ
โคกโพธิ์ไชย
5,976 773,373.95 2,579,447.65
อำำเภอหนอง
นำคำำ
5,340 707,714.67 2,442,254.87
อำำเภอบ้ำน
แฮด
6,835 2,074,647.78 7,266,542.04
อำำเภอโนน 2,030 255,658.04 927,203.71
16
อำำเภอ จำำนวนผู้ใช้
ไฟฟ้ำ(รำย)
ปริมำณกำรใช้
ไฟฟ้ำ(หน่วย)
มูลค่ำกำรใช้
ไฟฟ้ำ(บำท)
ศิลำ
รวม 150,548 97,207,712.86 368,889,999.88
ที่มำ : กำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำคจังหวัดขอนแก่น 2556
2.1.18 กำรศึกษำ
โรงเรียนทุกสังกัดที่เปิดทำำกำรสอนในระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
ในจังหวัดขอนแก่น จำำนวน 1,247 แห่ง จำำนวนนักเรียน 251,305 คน
จำำนวนครู 10,464 คน จำำนวนห้องเรียน 13,299 ห้อง
ตำรำงที่ 10 แสดงจำำนวนโรงเรียน จำำแนกตำมสังกัด ปีกำรศึกษำ 2555
สังกัด แห่ง
สำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้น
ฐำน
1,101
สำำนักบริหำรงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำร
ศึกษำเอกชน
128
กรมส่งเสริมกำรปกครองส่วนท้องถิ่น 8
อื่น ๆ 0
รวม 1,237
ตำรำงที่ 11 แสดงจำำนวนโรงเรียนจำำแนกตำมระดับกำรศึกษำที่เปิดสอน ปี
กำรศึกษำ 2555
ระดับกำรศึกษำที่เปิดสอน แห่ง
1. อนุบำล 39
2. อนุบำล-ประถมศึกษำ 803
3. อนุบำล-มัธยมฯ ตอนต้น 263
4. อนุบำล-มัธยมฯ ตอนปลำย 3
5. ประถมศึกษำ 219
6. ประถมศึกษำ-มัธยมฯ ตอนต้น 48
7. มัธยมฯ ตอนต้น – มัธยมฯ ตอนปลำย 83
รวม 1,458
ตำรำงที่ 12 แสดงจำำนวนห้องเรียน จำำแนกตำมสังกัด และระดับกำรศึกษำ ปี
กำรศึกษำ 2555
สังกัด แห่ง ระดับกำรศึกษำ แห่ง
สำำนักงำนคณะ
กรรมกำรกำรศึกษำ
ขั้นพื้นฐำน
11,249 ก่อนประถมศึกษำ 2,322
สำำนักบริหำรงำน 888 ประถมศึกษำ 6,861
17
คณะกรรมกำรส่ง
เสริมกำรศึกษำ
เอกชน
กรมส่งเสริมกำร
ปกครองส่วนท้อง
ถิ่น
0 มัธยมศึกษำ 2,583
รวม 12,137 รวม 11,766
ตำรำงที่ 13 แสดงจำำนวนครูจำำแนกตำมสังกัด เพศ ปีกำรศึกษำ 2555
สังกัด ชำย หญิง รวม
สำำนักงำนคณะกรรมกำร
กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
24,899 25,049 49,948
สำำนักบริหำรงำนคณะ
กรรมกำรส่งเสริมกำร
ศึกษำเอกชน
375 865 1,479
กรมส่งเสริมกำรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
0 0 0
อื่น ๆ 0 0 0
รวม 25,274 25,914 51,427
ตำรำงที่ 14 แสดงจำำนวนนักเรียน จำำแนกตำมสังกัด ระดับกำรศึกษำ และชั้น
เรียน ปีกำรศึกษำ 2555
สังกัด ก่อนประถม
ศึกษำ
ประถม
ศึกษำ
มัธยมต้น มัธยม
ปลำย
สำำนักงำนคณะ
กรรมกำรกำร
ศึกษำขั้นพื้นฐำน
19,764 68,597 26,937 37,770
สำำนักบริหำรงำน
คณะกรรมกำร
ส่งเสริมกำร
ศึกษำเอกชน
33,514 11,431 3,180 6,992
กรมส่งเสริมกำร
ปกครองส่วน
ท้องถิ่น
0 0 0 0
อื่น ๆ 0 0 0 0
รวม 251,305 110,496 30,117 44,762
18
ตำรำงที่ 15 แสดงจำำนวนนักเรียน จำำแนกตำมระดับกำรศึกษำ เพศ ปีกำร
ศึกษำ 2555
ระดับกำรศึกษำ ชำย หญิง
ก่อนประถมศึกษำ 18,407 16,792
ประถมศึกษำ 53,422 54,600
มัธยมศึกษำ-ตอนต้น 29,736 30,175
มัธยมศึกษำ-ตอนปลำย 18,367 24,636
รวม 119,932 126,203
ตำรำงที่ 16 แสดงจำำนวนผู้เรียน/นักศึกษำ ในสังกัดสำำนักงำนส่งเสริมกำร
ศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ปีงบประมำณ 2556
ระดับกำรศึกษำ ชำย หญิง รวม
กำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หนังสือ 1,269 2,424 3,693
กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 74,770 82,679 157,449
กำรศึกษำเพื่อพัฒนำอำชีพ ทักษะ
ชีวิต และสังคม
19,989 25,579 45,568
สถำบันระดับอุดมศึกษำ จำำนวน 15 แห่ง
• มหำวิทยำลัยขอนแก่น
• มหำวิทยำลัยภำคตะวันออกเฉียงเหนือ
• มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน วิทยำเขตขอนแก่น
• มหำวิทยำลัยรำมคำำแหง สำขำวิทยบริกำรเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดขอนแก่น
• มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตขอนแก่น
• มหำวิทยำลัยมหำมกุฏรำชวิทยำลัย วิทยำเขตอีสำน และ ศูนย์
กำรศึกษำชุมแพ
• มหำวิทยำลัยรำชภัฏเลย ศูนย์กำรศึกษำจังหวัดขอนแก่น
• มหำวิทยำลัยศรีปทุม วิทยำเขตขอนแก่น
• วิทยำลัยบัณฑิตเอเชีย
• วิทยำลัยกำรสำธำรณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น
• วิทยำลัยเทคนิคขอนแก่น
• วิทยำลัยพยำบำลบรมรำชชนนี ขอนแก่น
• สถำบันกำรบินพลเรือน (ศูนย์ฝึกกำรบินที่ 2)
• วิทยำลัยกำรปกครองท้องถิ่น
• วิทยำลัยอำชีวะศึกษำขอนแก่น
19
โรงเรียนอำชีวศึกษำเอกชน จำำนวน 10 แห่ง
• โรงเรียนเทคโนโลยีขอนแก่น
• โรงเรียนเทคโนโลยีภูมิสิทธิ์
• โรงเรียนขอนแก่นเทคโนโลยีพณิชยกำร
• โรงเรียนพงษ์ภิญโญเทคโนโลยี
• โรงเรียนเทคโนโลยีธุรกิจอำชีวะ
• โรงเรียนขอนแก่นบริหำรธุรกิจและธุรกิจอำชีวะ
• โรงเรียนเทคโนโลยีภำคตะวันออกเฉียงเหนือ
• โรงเรียนอมตะเทคโนโลยีบริหำรธุรกิจ อำำเภอหนองสองห้อง
• โรงเรียนชุมแพบริหำรธุรกิจและเทคโนโลยี อำำเภอชุมแพ
• โรงเรียนเทคโนโลยีพลพณิชยกำร ( ศูนย์บริกำรมหำวิทยำลัย
รำชภัฏพระนคร ) อำำเภอพล
นอกจำกนี้มีศูนย์พัฒนำระบบจีไอเอส (GIS) ที่ใหญ่เป็นอันดับต้น
ของประเทศ สำำหรับโรงเรียน ดูที่ รำยชื่อโรงเรียนในจังหวัดขอนแก่น
1) โรงเรียนมัธยม สพม. จำำนวน 84
แห่ง
2) โรงเรียนในสังกัดองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดขอนแก่น
จำำนวน 17 แห่ง
3) โรงเรียนในสังกัดเทศบำลนครขอนแก่น จำำนวน
11 แห่ง
4) โรงเรียนสำธิต จำำนวน 2
แห่ง
5) โรงเรียนนำนำชำติ จำำนวน 1
แห่ง
6) โรงเรียนเอกชน จำำนวน 12
แห่ง
2.1.19 สำธำรณสุข
สถำนบริกำรด้ำนสำธำรณสุข มีโรงพยำบำล 31 แห่ง สังกัด
สำำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดขอนแก่น 22 แห่ง มหำวิทยำลัยขอนแก่น 2
แห่ง กระทรวงกลำโหม 1 แห่ง กรมอนำมัย 1 แห่ง กรมสุขภำพจิต 1 แห่ง
กรมกำรแพทย์ 1 แห่ง เอกชน 3 แห่ง
- สถำนบริกำรสำธำรณสุข สังกัดกระทรวงสำธำรณสุข
1) โรงพยำบำลขอนแก่น (รพศ.) ขนำด 867 เตียง 1 แห่ง
2) โรงพยำบำลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น (รพท.) ขนำด 250
เตียง 1 แห่ง
20
3) โรงพยำบำลชุมชน ขนำด 120 เตียง 1 แห่ง
ขนำด 90 เตียง 2 แห่ง
ขนำด 60 เตียง 5 แห่ง
ขนำด 30 เตียง 12 แห่ง
4) โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพตำำบล 248 แห่ง
5) ศูนย์แพทย์ 4 มุมเมือง (สังกัดโรงพยำบำลขอนแก่น) 4
แห่ง
- ศูนย์แพทย์ชำตะผดุง - ศูนย์แพทย์ประชำสโมสร
- ศูนย์แพทย์มิตรภำพ - ศูนย์แพทย์ชุมชนวัด
หนองแวง พระอำรำมหลวง
6) ศูนย์อนำมัยที่ 6
- โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพ ขนำด 60 เตียง 1
แห่ง
7) ศูนย์บำำบัดรักษำยำเสพติด จังหวัดขอนแก่น ขนำด 140
เตียง 1 แห่ง
8) โรงพยำบำลจิตเวชขอนแก่นรำชนครินทร์ ขนำด 372
เตียง 1 แห่ง
- สถำนบริกำรสำธำรณสุข สังกัดกระทรวงอื่น
1) โรงพยำบำลศรีนครินทร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น ขนำด
1,220 เตียง 1 แห่ง
2) ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ มหำวิทยำลัย
ขอนแก่น ขนำด 200 เตียง 1 แห่ง
3) โรงพยำบำลค่ำยศรีพัชรินทร จังหวัดขอนแก่น ขนำด 30
เตียง 1 แห่ง
4) ศูนย์บริกำรสำธำรณสุขสังกัดเทศบำลนครขอนแก่น 3
แห่ง
- ศูนย์บริกำรสำธำรณสุขที่ 1 เทศบำลนครขอนแก่น
- ศูนย์บริกำรสำธำรณสุขที่ 3 บ้ำนโนนชัย
- ศูนย์บริกำรสำธำรณสุขที่ 5 บ้ำนหนองใหญ่
- สถำนบริกำรสำธำรณสุขเอกชน โรงพยำบำลเอกชน 3 แห่ง
ได้แก่
1) โรงพยำบำลขอนแก่นรำม ขนำด 100 เตียง
2) โรงพยำบำลรำชพฤกษ์ ขนำด 50 เตียง
3) โรงพยำบำลเวชประสิทธิ์ ขนำด 50 เตียง
2.1.20 ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม
21
ป่ำไม้
เป็นพื้นที่ป่ำ 1,296,400 ไร่ (ร้อยละ 11.91 ของพื้นที่จังหวัด) มี
อุทยำนแห่งชำติ 4 แห่ง มีพื้นที่รวม 743,973 ไร่ วนอุทยำน 2 แห่ง มีพื้นที่
รวม 6,200 ไร่ ป่ำสงวนแห่งชำติ 22 ป่ำ มีพื้นที่รวม 1,697,052 ไร่ ป่ำชุมชน
206 แห่ง มีพื้นที่รวม 49,316 ไร่ สภำพป่ำประกอบด้วยป่ำดิบเขำ ป่ำดิบแล้ง
ป่ำเบญจพรรณ และป่ำเต็งรัง พรรณไม้สำำคัญ ได้แก่ ประดู่ มะค่ำโมง ตะแบก
เหียง พลวง แดง เต็ง รัง พรรณไม้พื้นล่ำงที่ขึ้นอยู่หนำแน่น ได้แก่ หว่ำนไพร
ชัน ข่ำป่ำ เพ็ก หวำย กล้วยไม้ป่ำ หญ้ำคำ แฝก ฯลฯ (ที่มำ : กรมอุทยำนแห่ง
ชำติ สัตว์ป่ำ และพันธุ์พืช 2555)
แหล่งนำ้ำ
(1) นำ้ำผิวดิน
จังหวัดขอนแก่นอยู่ในเขตของลุ่มนำ้ำหลัก 2 ลุ่มนำ้ำ คือ ลุ่มนำ้ำ
มูลและลุ่มนำ้ำชี พื้นที่ลุ่มนำ้ำมูล ได้แก่ กลุ่มลุ่มนำ้ำสำขำที่ไหลลงลำำห้วยแอก ลำำ
ห้วยสะแทด และลำำพังชู ในส่วนพื้นที่ลุ่มนำ้ำชี ได้แก่ กลุ่มลุ่มนำ้ำที่ไหลลงอ่ำง
เก็บนำ้ำอุบลรัตน์ กลุ่มลุ่มนำ้ำที่ไหลลงลำำนำ้ำพองตอนล่ำง กลุ่มลุ่มนำ้ำที่ไหลลง
แม่นำ้ำชี และกลุ่มลุ่มนำ้ำสำขำลำำปำวตอนบน โดยมีลำำนำ้ำสำยหลักที่ไหลผ่ำน
จังหวัดขอนแก่น ได้แก่ ลำำนำ้ำพอง ลำำนำ้ำเชิญ และลำำนำ้ำชี ซึ่งสำมำรถแบ่ง
พื้นที่จังหวัดขอนแก่นทั้งหมดออกเป็น 11 ลุ่มนำ้ำ และปริมำณนำ้ำท่ำเฉลี่ยรำย
เดือนที่เกิดจำกพื้นที่ รับนำ้ำของจังหวัดขอนแก่นทั้ง 11 ลุ่มนำ้ำย่อยสรุปได้
ดังนี้
ตำรำงที่ 17 แสดงข้อมูลลุ่มนำ้ำจังหวัดขอนแก่น
ลำำดับ
ที่
ลุ่มนำ้ำย่อย
พื้นที่รับนำ้ำฝน
(ตร.กม.)
ปริมำณนำ้ำท่ำรำยปี
เฉลี่ย
(ล้ำน ลบ.ม)
1 ลุ่มนำ้ำห้วยแอก 859.39 120.93
2 ลุ่มนำ้ำลำำ
สะแทด
77.86 11.83
3 ลุ่มนำ้ำพังชู 189.89 26.86
4 ลุ่มนำ้ำชีส่วนที่
2
350.49 37.29
5 ลุ่มนำ้ำชีส่วนที่
3
3,244.00 362.23
6 ลุ่มนำ้ำลำำห้วย
สำมหมอ
98.29 15.58
7 ลุ่มนำ้ำพองตอน
บน
2,150.49 411.78
22
8 ลุ่มนำ้ำพองตอน
ล่ำง
2,194.42 359.69
9 ลุ่มนำ้ำลำำปำว
ตอนบน
95.52 26.38
10 ลุ่มนำ้ำเชิญ 1,168.57 174.53
11 ลุ่มนำ้ำห้วยสำย
บำตร
457.06 87.82
รวม 10,885.98 1,634.92
ที่มำ : โครงกำรชลประทำนขอนแก่น 2555
ปริมำณนำ้ำท่ำในพื้นที่ลุ่มนำ้ำชี
จำกกำรรวบรวมข้อมูลปริมำณนำ้ำท่ำจำกสถำนีวัดนำ้ำท่ำที่อยู่ในลุ่ม
นำ้ำชีทั้งหมด 32 สถำนี พบว่ำปริมำณนำ้ำท่ำของแม่นำ้ำชีส่วนใหญ่จะมีมำกใน
ช่วงเดือนสิงหำคม ถึงเดือนพฤศจิกำยน และมีปริมำณน้อยในช่วงฤดูแล้งโดย
เดือนที่มีปริมำณนำ้ำท่ำสูงสุดได้แก่ช่วงเดือนกันยำยนและตุลำคม ส่วนลุ่มนำ้ำ
ย่อยที่อยู่ในลุ่มนำ้ำมูลพื้นที่จังหวัดขอนแก่น จะมีปัญหำกำรขำดแคลนนำ้ำมำก
พอสมควร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจำกปริมำณนำ้ำท่ำที่เกิด
จำกลุ่มนำ้ำมีน้อย และยังไม่มีแหล่งเก็บกักนำ้ำขนำดกลำง
จังหวัดขอนแก่นมีลำำนำ้ำที่สำำคัญไหลผ่ำน 3 สำย ดังนี้
1) ลำำนำ้ำพอง มีต้นกำำเนิดจำกภูกระดึงและเทือกเขำสันปันนำ้ำของ
ลุ่มนำ้ำป่ำสักกับลุ่มนำ้ำชี ไหลผ่ำน อ.ภูกระดึง จ.เลย และ อ.อุบลรัตน์ อ.เมือง
จ.ขอนแก่น และไหลบรรจบแม่นำ้ำชีที่ อ.เมือง จ.ขอนแก่นมีกำรก่อสร้ำงเขื่อน
อุบลรัตน์กั้นลำำนำ้ำพอง ที่ อ.อุบลรัตน์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ำและกำร
ชลประทำน มีพื้นที่ชลประทำนประมำณ 258,000 ไร่ โดยกำรก่อสร้ำงฝำย
หนองหวำยเพื่อทดนำ้ำ ที่ อ.นำ้ำพอง ซึ่งอยู่ในควำมรับผิดชอบของโครงกำรส่ง
นำ้ำและบำำรุงรักษำหนองหวำย
ลำำนำ้ำพองสำมำรถแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
1.1) ลำำนำ้ำพองตอนบน ซึ่งอยู่เหนือเขื่อนอุบลรัตน์ ลำำนำ้ำสำขำ
ประกอบด้วย หนองโก ลำำนำ้ำพวย ห้วยทรำยขำว ลำำนำ้ำมอ ห้วยแกน และห้วย
ซำำจำน ซึ่งไหลลงเขื่อนอุบลรัตน์
1.2) ลำำนำ้ำพองตอนล่ำง ซึ่งอยู่ท้ำยเขื่อนอุบลรัตน์ ลำำนำ้ำสำขำ
ประกอบด้วย ห้วยทรำย ห้วยคุมมุมห้วยยำง ห้วยโจด ห้วยเสือเต้น ห้วยเสียว
ห้วยเก้ำคต ห้วยใหญ่ ห้วยสำยบำตร และห้วยพระคือ
2) ลำำนำ้ำเชิญ มีต้นกำำเนิดจำกสันปันนำ้ำของลุ่มนำ้ำป่ำสักและลุ่ม
นำ้ำชี ใน จ.ชัยภูมิ และ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น และไหลลงเขื่อนอุบลรัตน์ที่
อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่น
23
3) ลำำนำ้ำชี มีต้นกำำเนิดจำกสันปันนำ้ำของลุ่มนำ้ำป่ำสักและลุ่มนำ้ำชี
ใน จ.ชัยภูมิ ไหลเข้ำสู่จังหวัดขอนแก่นบริเวณ อำำเภอแวงน้อย ไหลผ่ำน
อำำเภอแวงใหญ่ อำำเภอชนบท อำำเภอมัญจำคีรี อำำเภอบ้ำนไผ่ และอำำเภอเมือง
จังหวัดขอนแก่น อำำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหำสำรคำม ไหลผ่ำน จังหวัด
ร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร และบรรจบแม่นำ้ำมูล ที่จังหวัดอุบลรำชธำนี ควำมยำว
900 กม. ในสภำพปัจจุบันนำ้ำท่ำจำกแม่นำ้ำชีไหลผ่ำนแม่นำ้ำมูลประมำณ 8.752
ล้ำน ลบ.ม. ต่อปี
(2) นำ้ำบำดำล
บ่อบำดำลในจังหวัดขอนแก่นมีจำำนวน 6,462 บ่อ บ่อนำ้ำ
บำดำลส่วนใหญ่จะใช้ประโยชน์ เพื่อกำรผลิตนำ้ำประปำหมู่บ้ำนและเพื่อกำร
อุปโภคบริโภคในครัวเรือน ส่วนบ่อบำดำลที่ใช้สำำหรับกิจกรรมอื่น ๆ เช่น
เกษตรกรรม อุตสำหกรรม กำรประมง และกำรเลี้ยงสัตว์ มีอยู่บ้ำงแต่เป็น
จำำนวนไม่มำกนัก จำำนวนบ่อบำดำลที่ดำำเนินกำรขุดเจำะโดยหน่วยงำนต่ำง ๆ
สรุปได้ดังนี้
ตำรำงที่ 18 แสดงข้อมูลบ่อนำ้ำบำดำลจังหวัดขอนแก่น
ประเภท จำำนวน
1) บ่อนำ้ำบำดำล (บ่อ)
- ใช้กำรได้ (บ่อ)
- หมดสภำพ (บ่อ)
6,462
6,066
396
2) จุดจ่ำยนำ้ำ (แห่ง) 71
3) นำ้ำดื่มได้ (แห่ง) 39
4) ระบบประปำบำดำล (แห่ง) 1,705
รวม 8,167
ที่มำ : ศูนย์ทรัพยำกรนำ้ำบำดำลภำค 4 ขอนแก่น 2555
ตำรำงที่ 19 แสดงโครงกำรแหล่งนำ้ำในจังหวัดขอนแก่น
ขนำดโครงกำร จำำนวน
(แห่ง)
ปริมำณนำ้ำเก็บ
กัก
(ล้ำน ลบ.ม.)
พื้นที่รับ
ประโยชน์
(ไร่)
โครงกำรขนำดใหญ่ 2 2,263.60 143,767
โครงกำรขนำดกลำง 19 81.44 51,948
โครงกำรขนำดเล็ก 441 37.13 145,681
โครงกำรสถำนีสูบนำ้ำด้วย 109 - 212,065
24
ไฟฟ้า
ที่มา : โครงการชลประทานขอนแก่น 2555
ทรัพยากรธรณี
แหล่งทรัพยากรธรณีที่สำาคัญในจังหวัดขอนแก่น คือ
1. แร่หินปูน มีอยู่ในเขตอำาเภอภูผาม่าน อำาเภอสีชมพู และ
อำาเภอชุมแพ มีพื้นที่รวม 160 ไร่ ปริมาณแร่สำารอง 61.43 ล้านตัน มีการ
ประกอบกิจการเหมืองแร่หินปูนเพื่อการอุตสาหกรรมก่อสร้าง จำานวน 12
แปลง
2. ก๊าซธรรมชาติ พบที่อำาเภอนำ้าพอง เขาสวนกวาง และ
อำาเภอชนบท มีเพียงแหล่งที่อำาเภอนำ้าพองและอำาเภอเขาสวนกวางที่ได้ขุดขึ้น
มาใช้เป็นแหล่งพลังงานความร้อนร่วมในการผลิตกระแสไฟฟ้าของการไฟฟ้า
ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยมีหลุมขุดเจาะก๊าซ จำานวน 2 แห่ง คือ
2.1 หลุมขุดเจาะก๊าซ บริษัท เอ็กซอนโมบิล จำากัด ตั้งอยู่ที่
ตำาบลกุดนำ้าใส อำาเภอนำ้าพองมีปริมาณก๊าซสำารองประมาณ 1.5 ล้านล้าน
ลูกบาศก์ฟุต ในปี พ.ศ.2533 มีปริมาณการใช้วันละ 40 ล้านลูกบาศก์ฟุต ปี
พ.ศ.2537 มีปริมาณการใช้วันละ 200 ล้านลูกบาศก์ฟุต ก๊าซที่แหล่งนำ้าพองมี
โรงงานผลิตก๊าซตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกับหลุมขุดเจาะก๊าซ
2.2 แหล่งก๊าซธรรมชาติสินภูฮ่อม บริษัท เฮสส์ (ไทยแลนด์)
จำากัด โดยมีหลุมขุดเจาะอยู่ที่อำาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี และตำาบลโนน
สมบูรณ์ อำาเภอเขาสวนกวาง มีปริมาณก๊าซสำารอง 500,000-700,000 ล้าน
ลูกบาศก์ฟุต และมีการต่อท่อระยะทาง 63 กม. เพื่อนำามาผลิตก๊าซที่ตำาบลกุด
นำ้าใส อำาเภอนำ้าพอง มีกำาลังการผลิต 70 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน
3. แหล่งแร่ที่สำาคัญของจังหวัดขอนแก่น คือ แร่โพแทช หมายถึง
แร่ที่มีธาตุโพแทชเซียม (K) เป็นส่วนประกอบที่สำาคัญ แร่โพแทชที่เกิดร่วมกับ
เกลือหินในประเทศไทยมี 2 ชนิดใหญ่ ๆ ได้แก่
3.1 แร่ซิลไวต์ (Sylvite : KCL) ซึ่งมีธาตุโพแทชเซียมสูงถึง
ร้อยละ 52.4 มีสีขาว ขาวขุ่น หรือใส
3.2 แร่คาร์นัลไลต์ (Carnallite : KMgCl3H22O) ประกอบ
ด้วยโพแทชเซียมคลอไรด์ (KCl) ร้อยละ 26.87 และแมกเนเซียมคลอไรด์
(MgCl2) ร้อยละ 34.3
แร่โพแทชที่พบในจังหวัดขอนแก่น ส่วนใหญ่จะเป็นแร่คาร์นัลไลต์
มีความหนาเฉลี่ย 25.88 เมตร ที่ระดับความลึกประมาณ 200-300 เมตร พบ
ได้ในบริเวณพื้นที่อำาเภอเมืองขอนแก่น อำาเภอบ้านฝาง และอำาเภอทางตอนไต้
ของจังหวัด แร่คาร์นัลไลต์ของจังหวัดขอนแก่น มีปริมาณที่มีศักยภาพในเชิง
พาณิชย์ประมาณ 27,800 ล้านเมตริกตัน และแร่ซิลไวต์มีปริมาณที่มีศักยภาพ
ในเชิงพาณิชย์ประมาณ 580 ล้านเมตริกตัน
25
2.2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยของจังหวัด
2.2.1 ขยะมูลฝอยชุมชน
จังหวัดขอนแก่น มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 225 แห่ง ประกอบ
ด้วย อบจ. 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 6 แห่ง เทศบาลตำาบล 77
แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำาบล 140 แห่ง มีปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนเกิด
ขึ้น ประมาณ 1,224 ตันต่อวัน โดยเทศบาลนครขอนแก่นมีปริมาณขยะ
มูลฝอยมากที่สุด ประมาณ 210 ตันต่อวัน รองลงมาคือเทศบาลเมืองศิลา
ประมาณ 50 ตันต่อวัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการเก็บรวบรวมและ
ขนส่งขยะไปกำาจัดจำานวน 170 แห่ง ยังไม่มีการจัดเก็บและไม่มีรถเก็บขนขยะ
54 แห่ง มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพียง 32 แห่ง(คิดเป็นร้อยละ 14.3) ที่มี
การกำาจัดขยะถูกหลักวิชาการ คิดเป็นปริมาณขยะที่กำาจัดถูกหลัก 206 ตันต่อ
วัน ได้แก่ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองบ้านไผ่ ศูนย์กำาจัดขยะ
มูลฝอยของเทศบาลเมืองชุมแพ ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลเมือง
กระนวน ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลตำาบลนำ้าพอง/เขาสวนกวาง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กำาจัดขยะไม่ถูกหลักวิชาการ จำานวน 138 แห่ง
ปริมาณขยะ 783 ตันต่อวัน มีสถานที่กำาจัดขยะไม่ถูกหลักวิชาการ 101 แห่ง
ใช้วิธีกำาจัดแบบกองบนพื้น และเผาเป็นครั้งคราว ปริมาณขยะสะสมตกค้างใน
บริเวณสถานที่กำาจัดขยะที่ไม่ถูกหลักรวม 723,960 ตัน คิดเป็นอันดับ 8 ของ
ประเทศ โดยเทศบาลนครขอนแก่นมีปริมาณขยะสะสมมากที่สุด 620,000 ตัน
รองลงมาคือเทศบาลเมืองเมืองพล 15,000 ตัน เทศบาลตำาบลหนองเรือ
10,000 ตัน (ข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ,2557)
2.2.1.1 การคัดแยกและนำาขยะมูลฝอยกลับมาใช้
ประโยชน์ใหม่
กรมควบคุมมลพิษ ได้ทำาการศึกษาปริมาณการนำาขยะ
มูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ในปี 2556 พบว่า จังหวัดขอนแก่น มีอัตรา
การนำามูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ 55.4 ตันต่อวัน คิดเป็น ร้อยละ 5
เป็นการนำากลับมาใช้ใหม่ผ่านกิจกรรมโครงการลด ใช้ซำ้าและแปรรูปกลับมา
ใช้ใหม่ (๓ Rs) เช่น ขยะรีไซเคิล ธนาคารขยะ ร้านรับซื้อของเก่า การทำาปุ๋ย
หมักและนำ้าหมักชีวภาพ เป็นต้น
2.2.1.2 การเก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอย
จังหวัดขอนแก่น มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำานวน 224
แห่ง(ไม่รวมอบจ.) มีการให้บริการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยไปกำาจัด 170 แห่ง
และไม่มีการให้บริการ 54 แห่ง โดยมีปริมาณขยะมูลฝอยที่รวบรวมได้ 974
ตันต่อวัน แบ่งเป็นปริมาณขยะมูลฝอยที่นำาไปกำาจัดอย่างถูกหลักวิชาการ 206
ตันต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 14.3 และกำาจัดแบบไม่ถูกหลักวิชาการ 768 ตันต่อ
วัน คิดเป็นร้อยละ 62.7 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได้ ส่วนปริมาณ
26
ขยะที่เกิดขึ้นแต่ไม่มีการให้บริการเก็บรวบรวมจำานวน 250 ตันต่อวัน คิดเป็น
ร้อยละ 20.4
2.2.1.3 การกำาจัดขยะมูลฝอย
จังหวัดขอนแก่น มีสถานที่กำาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลัก
วิชาการ โดยเป็นการฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill)
จำานวน 5 แห่ง ได้แก่ ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองบ้านไผ่ ศูนย์กำาจัด
ขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองชุมแพ ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองกระนวน
ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองตำาบลนำ้าพอง/เขาสวนกวาง และศูนย์
กำาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองเมืองพล (ในปีพ.ศ.2555-2557 บ่อฝังกลบเต็ม
ทำาให้มีปริมาณขยะสะสมเป็นจำานวนมาก ปัจจุบันตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ได้
ดำาเนินการก่อสร้างบ่อฝังกลบและมีการฝังกลบขยะถูกหลักสุขาภิบาลแล้ว)
ให้บริการกำาจัดขยะมูลฝอยจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานทั้ง
ภาครัฐและเอกชนบริเวณใกล้เคียงมีปริมาณขยะมูลฝอยที่กำาจัดอย่างถูกหลัก
วิชาการ 206 ตันต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 14.3 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น
ส่วนปริมาณขยะมูลฝอย จำานวน 768 ตันต่อวัน ถูกกำาจัดในสถานที่กำาจัดขยะ
มูลฝอยแบบไม่ถูกหลักวิชาการ
ตารางที่ 20 แสดงศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยรวม ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น
ศูนย์กำาจัด
ขยะ
ปี
พ.ศ.ที่
ก่อสร้า
ง
งบ
ประมา
ณ
ก่อสร้าง
(ล้าน
บาท)
จำานว
น
อปท.ร่
วมใช้
ปริมา
ณขยะ
รวม
(ตัน/
วัน)
การบริหารจัดการ
ทน.ขอนแ
ก่น
2541 45.65 8 แห่ง 255.6
5
ตั้งอยู่บ้านคำาบอน ต.โนน
ท่อน อ.เมือง เนื้อที่ 98 ไร่
ได้งบก่อสร้างบ่อฝังกลบ
บ่อที่หนึ่ง และไม่ได้งบ
ก่อสร้างบ่อฝังกลบที่สอง
ต่อเนื่อง ทำาให้ขยะเต็ม
และไม่มีการฝังกลบ มา
ตั้งแต่ปี 2546 ใช้วิธีกอง
บนพื้น ทำาให้มีขยะสะสม
มากว่า 620,000 ตัน มีโรง
แปรรูปขยะเป็นนำ้ามัน
ปัจจุบันไม่ได้ใช้งานและ
เตาเผามูลฝอยติดเชื้อ
27
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด

More Related Content

Similar to ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด

Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
Nithimar Or
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
klainil
 

Similar to ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด (9)

ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
Dioxin
DioxinDioxin
Dioxin
 
6 supannee2
6 supannee26 supannee2
6 supannee2
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
 
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
 

More from Natta Noname101

More from Natta Noname101 (11)

รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
 
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
 
ประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผนประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผน
 
สรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลาง
สรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลางสรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลาง
สรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลาง
 
พื้นที่เป้าหมาย 101 แห่ง
พื้นที่เป้าหมาย 101 แห่งพื้นที่เป้าหมาย 101 แห่ง
พื้นที่เป้าหมาย 101 แห่ง
 
ตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่น
ตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่นตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่น
ตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่น
 
การแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น
การแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่นการแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น
การแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น
 
โครงการการรวมพลังสดโลกร้อน
โครงการการรวมพลังสดโลกร้อนโครงการการรวมพลังสดโลกร้อน
โครงการการรวมพลังสดโลกร้อน
 
สรุปรายงานประจำปี Climate Change
สรุปรายงานประจำปี Climate Changeสรุปรายงานประจำปี Climate Change
สรุปรายงานประจำปี Climate Change
 
สรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมสรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
 
สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557
สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557
สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557
 

ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด

  • 1. ส่วนที่ 1 บทนำำ 1.1 หลักกำรและเหตุผล กระทรวงทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมร่วมกับกระทรวง มหำดไทย ได้บูรณำกำรร่วมกันในกำรผลักดันและขับเคลื่อนกำรแก้ไขปัญหำ กำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำย ภำยใต้ Roadmap กำรจัดกำร ขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำย ซึ่งได้รับควำมเห็นชอบจำกคณะรักษำควำม สงบแห่งชำติ (คสช.) เมื่อวันที่ 26 สิงหำคม 2557 โดยให้ดำำเนินกำรแก้ไข ปัญหำขยะมูลฝอย ทั้งในกรุงเทพมหำนคร ส่วนกลำง ส่วนภูมิภำค และท้องถิ่น ในทุกมิติ ตำมแนวทำงปฏิบัติ 4 ยุทธศำสตร์ คือ 1) กำำจัดขยะมูลฝอยตกค้ำงสะสมในสถำนที่กำำจัดขยะมูลฝอยในพื้นที่ วิกฤติ (ขยะมูลฝอยเก่ำ) 2) สร้ำงรูปแบบกำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำยที่เหมำะสม (ขยะมูลฝอยใหม่) เน้นกำรลดและคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทำง จัดกำร ขยะมูลฝอยแบบศูนย์รวม กำำจัดโดยเทคโนโลยีแบบผสมผสำนเน้นกำรแปรรูป เป็นพลังงำน หรือทำำให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3) วำงระเบียบ มำตรกำร กำรบริหำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสีย อันตรำย 4) สร้ำงวินัยของคนในชำติมุ่งสู่กำรจัดกำรที่ยั่งยืน ทั้งนี้ ได้วำงกรอบกำรดำำเนินงำนจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสีย อันตรำย ตำม Roadmap ดังกล่ำว ดังนี้ 1) ให้ผู้ว่ำรำชกำรจังหวัดเป็นผู้บริหำรจัดกำรในภำพรวมของจังหวัด (Single Manager) 2) ห้ำมเทกองแบบกลำงแจ้ง (No More Open Dump) 3) ปรับปรุง ฟื้นฟู ปิด สถำนที่กำำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชำกำร 4) คัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทำง (ขยะทั่วไป ขยะอินทรีย์ ขยะ รีไซเคิล ขยะอันตรำย) 5) จัดกำรขยะมูลฝอยแบบรวมศูนย์ เน้นกำรแปรรูปเป็นพลังงำน หรือ ทำำให้เกิดประโยชน์สูงสุด 6) สร้ำงระบบกำรจัดกำรของเสียอันตรำยชุมชน และมูลฝอยติดเชื้อ 7) ส่งเสริมภำคเอกชนมำลงทุน หรือดำำเนินงำนระบบฯ 8) กำรสร้ำงวินัยคนในชำติ มุ่งสู่กำรจัดกำรอย่ำงยั่งยืน 9) กำรจัดกำรที่ต้นทำง เน้นกำรผลิตและกำรบริโภคอย่ำงยั่งยืน (SCP : Sustainable Consumption and Production) 10) มีแผนแม่บทกำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำยของ ประเทศ 1
  • 2. จังหวัดขอนแก่น มีปริมำณขยะสะสมบริเวณสถำนที่กำำจัดขยะของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถึง 723,691 ตัน ซึ่งจำกกำรจัดลำำดับจังหวัด สกปรกด้ำนกำรจัดกำรขยะมูลฝอย ปรำกฏว่ำจังหวัดขอนแก่นถูกจัดลำำดับ จังหวัดสกปรกลำำดับที่ 18 และมีปริมำณขยะสะสมมำกที่สุดอยู่ในลำำดับที่ 8 มี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพียง 32 แห่ง จำกจำำนวน 224 แห่ง (ไม่รวม องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด) หรือร้อยละ 14 ที่มีกำรกำำจัดขยะมูลฝอยถูกหลัก สุขำภิบำล และมีปริมำณขยะที่มีกำรจัดกำรและฝังกลบถูกหลักสุขำภิบำลเพียง 206 ตัน/วัน จำกปริมำณกำรเกิดขยะมูลฝอยชุมชน 1,224 ตัน/วัน มีเพียง หรือคิดเป็นร้อยละ 11.35 เท่ำนั้น ทำำให้เกิดปัญหำผลกระทบสิ่งแวดล้อมจำก กำรเผำไหม้ขยะมูลฝอย กำรปนเปื้อนของนำ้ำชะขยะไหลลงสู่แหล่งนำ้ำผิวดิน และแหล่งนำ้ำใต้ดิน ปัญหำกลิ่นเหม็นและพำหะนำำโรค ส่งผลกระทบต่อชุมชน และประชำชนที่อำศัยใกล้เคียง ทำำให้มีกำรร้องเรียนของรำษฎรเป็นประจำำ ดังนั้น เพื่อเป็นกำรแก้ไขปัญหำ และบริหำรจัดกำรขยะมูลฝอยของ จังหวัดขอนแก่นถูกวิธี ป้องกันผลกระทบต่ำงๆ ที่เกิดขึ้น และเพื่อให้กำร ดำำเนินงำนตำม Roadmap กำรจัดกำรขยะมูลฝอยและของเสียอันตรำย เป็น ไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ จึงได้จัดทำำแผนบริหำรจัดกำรขยะมูลฝอยจังหวัด ขอนแก่นขึ้น 1.2 วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นกรอบแนวทำงให้หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องนำำไปบริหำรจัดกำรขยะ มูลฝอยและของเสียอันตรำยของจังหวัดขอนแก่นให้เป็นไปอย่ำงมี ประสิทธิภำพ ถูกหลักวิชำกำร และสอดคล้องกับสถำนกำรณ์ปัจจุบัน 1.3 เป้ำหมำย ภำยในปี 2562 จังหวัดขอนแก่น มีกำรบริหำรจัดกำรขยะมูลฝอยและ ของเสียอันตรำยอย่ำงถูกหลักวิชำกำร และมีประสิทธิภำพ 1.4 กรอบแนวคิด กำรดำำเนินงำนสอดคล้องและต่อยอดกับ 1.4.1 ทิศทำงแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555- 2559) มีกรอบแนวคิดกำรพัฒนำภำยใต้หลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง และ ขับเคลื่อนให้บังเกิดผลในทำงปฏิบัติที่ชัดเจนในทุกภำคส่วน ทุกระดับ ยึด แนวคิดกำรพัฒนำแบบบูรณำกำรเป็นองค์รวม ที่มีคนเป็นศูนย์กลำงกำรพัฒนำ มีกำรเชื่อมโยงทุกมิติของกำรพัฒนำอย่ำงบูรณำกำร ทั้งมิติตัวคน สังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม และกำรเมือง เพื่อสร้ำงภูมิคุ้มกันให้พร้อมเผชิญกำร 2
  • 3. เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น เพื่อให้กำรพัฒนำประเทศสู่ควำมสมดุลและยั่งยืน โดย นำำทุนของประเทศที่มีศักยภำพมำใช้ประโยชน์อย่ำงบูรณำกำรและเกื้อกูลกัน พร้อมทั้งเสริมสร้ำงให้แข็งแกร่งเพื่อเป็นรำกฐำนกำรพัฒนำประเทศที่สำำคัญ ในส่วนของกำรเสริมสร้ำงทุนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม ให้ควำม สำำคัญกับกำรสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนอำหำร กำรบริหำรจัดกำร ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมที่เป็นฐำนกำรผลิตภำคเกษตร มุ่งสู่กำร เป็นเศรษฐกิจและสังคมคำร์บอนตำ่ำและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กำรเตรียม ควำมพร้อมรองรับกำรเปลี่ยนแปลงภูมิอำกำศและภัยพิบัติทำงธรรมชำติ รวม ทั้งกำรสร้ำงภูมิคุ้มกันด้ำนกำรค้ำจำกเงื่อนไขด้ำนสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับกำร เพิ่มบทบำทไทยในเวทีประชำคมโลก ทั้งนี้ ภำยใต้กำรขับเคลื่อนและแปลงแผนพัฒนำฯ ฉบับที่ 11 ไปสู่ กำรปฏิบัติในระดับต่ำงๆ ที่สอดคล้องกับสภำพภูมิสังคม และกระจำยกำร พัฒนำลงสู่พื้นที่ โดยยึดหลักกำรพัฒนำพื้นที่ ภำรกิจ และกำรมีส่วนร่วม (Area – Function – Participation : A–F-P) ให้จังหวัดเป็นพื้นที่ดำำเนินกำร ขับเคลื่อนกำรพัฒนำและเป็นจุดเชื่อมโยงกำรพัฒนำจำกระดับชุมชนสู่ ประเทศและประเทศสู่ชุมชน ใช้กลไกและเครื่องมือกำรพัฒนำของภำครัฐ ภำคประชำชน ภำคธุรกิจเอกชน และสื่อมวลชนอย่ำงบูรณำกำรให้กำรขับ เคลื่อนเกิดประสิทธิภำพด้วยกระบวนกำรสร้ำงเครือข่ำยหรือ คลัสเตอร์ที่ตอบ สนองต่อกำรแก้ปัญหำและกำรพัฒนำศักยภำพของพื้นที่ 1.4.2 แผนจัดคุณภำพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2555-2559 แผนจัดกำรคุณภำพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2555-2559 เป็นแผนระยะ กลำงที่มีควำมสอดคล้องกับทิศทำงของแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่ง ชำติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) โดยยึดหลักปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพียง ในกำรสร้ำงสมดุลระหว่ำงกำรอนุรักษ์และกำรใช้ประโยชน์จำก ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม เพื่อส่งผลให้เกิดกำรพัฒนำที่ยั่งยืนต่อ กำรพัฒนำในหลำยมิติ ทั้งมิติด้ำนเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม โดยต้อง พิจำรณำบริบทกำรจัดกำรทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมอย่ำงรอบด้ำน โดยเฉพำะบริบทของกำรเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นจำกแรงกดดันของกระแส แนวคิดและสถำนกำรณ์ต่ำงๆ ทั้งภำยในและภำยนอกประเทศ รวมถึงให้ควำม สำำคัญต่อบทบำทที่เข้มแข็งขึ้นของภำคประชำชน สิทธิชุมชนและส่งเสริม กำรกระจำยอำำนำจและหน้ำที่รับผิดชอบตำมแนวทำงของรัฐธรรมนูญแห่ง รำชอำณำจักรไทย พ.ศ.2550 1.5 นิยำมและควำมหมำย มูลฝอย หมำยควำมว่ำ เศษกระดำษ เศษผ้ำ เศษอำหำร เศษสินค้ำ ถุง พลำสติก ภำชนะใส่อำหำร เถ้ำ มูลสัตว์ หรือซำกสัตว์ รวมตลอดถึงสิ่งอื่นใดที่ 3
  • 4. เก็บกวำดจำกถนน ตลำด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น (พระรำชบัญญัติกำร สำธำรณสุข, 2535) ขยะมูลฝอย (Solid waste) คือ เศษกระดำษ เศษผ้ำ เศษอำหำร เศษ สินค้ำ เศษวัตถุ ถุงพลำสติก ภำชนะที่ใส่อำหำร เถ้ำ มูลสัตว์ ซำกสัตว์หรือสิ่ง อื่นใดที่เก็บกวำดจำกถนน ตลำด ที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่น และหมำยควำมรวมถึง มูลฝอยติดเชื้อ มูลฝอยที่เป็นพิษ หรืออันตรำยจำกชุมชนหรือครัวเรือน ยกเว้น วัสดุที่ไม่ใช้แล้วของโรงงำนซึ่งมีลักษณะและคุณสมบัติที่กำำหนดไว้ตำม กฎหมำยว่ำด้วยโรงงำน (กรมควบคุมมลพิษ, 2548) ขยะย่อยสลำย (Compostable waste) หรือ มูลฝอยย่อยสลำย คือ ขยะ ที่เน่ำเสียและย่อยสลำยได้เร็ว สำมำรถนำำมำหมักทำำปุ๋ยได้ เช่น เศษผัก เปลือกผลไม้ เศษอำหำร ใบไม้ เศษเนื้อสัตว์ เป็นต้น แต่จะไม่รวมถึงซำกหรือ เศษของพืช ผัก ผลไม้ หรือสัตว์ที่เกิดจำกกำรทดลองในห้องปฏิบัติกำรโดย ขยะที่ย่อยสลำยนี้ เป็นขยะที่พบมำกที่สุด คือ พบมำกถึง 64% ของปริมำณ ขยะทั้งหมดในกองขยะ (กรมควบคุมมลพิษ, 2548) ขยะรีไซเคิล (Recyclable waste) หรือ มูลฝอยที่ยังใช้ได้ คือ ของเสีย บรรจุภัณฑ์ หรือวัสดุเหลือใช้ ซึ่งสำมำรถนำำกลับมำใช้ประโยชน์ใหม่ได้ เช่น แก้ว กระดำษ เศษพลำสติก กล่องเครื่องดื่มแบบ UHT กระป๋องเครื่องดื่ม เศษ โลหะ อะลูมิเนียม ยำงรถยนต์ เป็นต้น สำำหรับขยะรีไซเคิลนี้ เป็นขยะที่พบมำก เป็นอันดับที่สองในกองขยะ กล่ำวคือ พบประมำณ ร้อยละ 30 ของปริมำณ ขยะทั้งหมดในกองขยะ (กรมควบคุมมลพิษ, 2548) ขยะอันตรำย (Hazardous waste) หรือ มูลฝอยอันตรำย คือ ขยะที่มี องค์ประกอบหรือปนเปื้อนวัตถุอันตรำยชนิดต่ำงๆ ซึ่งได้แก่ วัตถุระเบิด วัตถุ ไวไฟ วัตถุออกซิไดซ์ วัตถุมีพิษ วัตถุที่ทำำให้เกิดโรค วัตถุกรรมมันตรังสี วัตถุ ที่ทำำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงทำงพันธุกรรม วัตถุกัดกร่อน วัตถุที่ก่อให้เกิดกำร ระคำยเคือง วัตถุอย่ำงอื่นไม่ว่ำจะเป็นเคมีภัณฑ์หรือสิ่งอื่นใดที่อำจทำำให้เกิด อันตรำยแก่บุคคล สัตว์ พืช ทรัพย์สินหรือสิ่งแวดล้อม เช่น ถ่ำนไฟฉำย หลอด ฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่โทรศัพท์เคลื่อนที่ ภำชนะบรรจุสำรกำำจัดศัตรูพืช กระป๋องสเปรย์บรรจุสีหรือสำรเคมี เป็นต้น ขยะอันตรำยนี้เป็นขยะที่มักจะพบ ได้น้อยที่สุด กล่ำวคือ พบประมำณเพียง ร้อยละ 3 ของปริมำณขยะทั้งหมดใน กองขยะ (กรมควบคุมมลพิษ, 2548) ขยะทั่วไป (General waste) มูลฝอยทั่วไป คือ ขยะประเภทอื่นนอก เหนือจำกขยะย่อยสลำย ขยะรีไซเคิล และขยะอันตรำย มีลักษณะที่ย่อยสลำย ยำกและไม่คุ้มค่ำสำำหรับกำรนำำกลับมำใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น ห่อพลำสติกใส่ ขนม ถุงพลำสติกบรรจุผงซักฟอก พลำสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่กึ่งสำำเร็จรูป ถุงพลำสติกเปื้อนเศษอำหำร โฟมเปื้อนอำหำร ฟอล์ยเปื้อนอำหำร เป็นต้น สำำหรับขยะทั่วไปนี้ เป็นขยะที่มีปริมำณใกล้เคียงกับขยะอันตรำย กล่ำวคือ จะ 4
  • 5. พบประมำณ ร้อยละ 3 ของปริมำณขยะทั้งหมดในกองขยะ (กรมควบคุม มลพิษ, 2548) มูลฝอยติดเชื้อ หมำยควำมว่ำ มูลฝอยที่มีเชื้อโรคปะปนอยู่ในปริมำรหรือมี ควำมเข้มข้น ซึ่งถ้ำมีกำรสัมผัสหรือใกล้ชิดกับมูลฝอยนั้นแล้ว สำมำรถทำำให้ เกิดโรคได้(กฎกระทรวงสำธำรณสุขว่ำด้วยกำรกำำจัดมูลฝอยติดเชื้อ, 2545) กรณีมูลฝอยดังต่อไปนี้ ที่เกิดขึ้นหรือใช้ในกระบวนกำรตรวจวินิจฉัย ทำงกำรแพทย์และกำรรักษำพยำบำล กำรให้ภูมิคุ้มกันโรคและกำรทดลอง เกี่ยวกับโรค และกำรตรวจชันสูตรศพหรือซำกสัตว์ รวมทั้งในกำรศึกษำวิจัย เรื่องดังกล่ำว ให้ถือว่ำเป็นมูลฝอยติดเชื้อ (1) ซำกหรือชิ้นส่วนของมนุษย์หรือสัตว์ที่เป็นผลมำจำกกำรผ่ำตัดกำร ตรวจชันสูตรศพ หรือซำกสัตว์ และกำรใช้สัตว์ทดลอง (2) วัสดุของมีคม เช่น เข็ม ใบมี กระบอกฉีดยำ หลอดแก้ว ภำชนะที่ทำำ ด้วยแก้ว สไลด์ และกระจกปิดสไลด์ (3) วัสดุซึ่งสัมผัสหรือสงสัยว่ำจะสัมผัสกับเลือด ส่วนประกอบของเลือด ผลิตภัณฑ์ที่ได้จำกเลือด สำรนำ้ำจำกร่ำงกำยของมนุษย์หรือสัตว์ หรือวัคซีนที่ ทำำจำกเชื้อโรคที่มีชีวิต เช่น สำำลี ผ้ำก๊อส ผ้ำต่ำงๆ และท่อยำง (4) มูลฝอยทุกชนิดที่มำจำกห้องรักษำผู้ป่วยติดเชื้อร้ำยแรง 5
  • 6. ส่วนที่ 2 สถำนกำรณ์ขยะมูลฝอยในภำพรวมของจังหวัด 2.1 ข้อมูลพื้นฐำนของจังหวัด 2.1.1 สภำพทำงกำยภำพ จังหวัดขอนแก่น ตั้งอยู่ระหว่ำงเส้นรุ้งที่ 15 - 17 องศำเหนือและเส้น แวงที่ 101 - 103 องศำตะวันออก ซึ่งอยู่บริเวณตอนกลำงของภำคตะวันออก เฉียงเหนือ ห่ำงจำกกรุงเทพมหำนคร 445 กิโลเมตร มีพื้นที่ 10,885.99 ตำรำงกิโลเมตร หรือประมำณ 6,803,744 ไร่ ภูมิประเทศเป็นพื้นที่รำบ มี ลักษณะสูงตำ่ำสลับเป็นลูกคลื่นลำดเทไปทำงทิศตะวันออกและทิศใต้ มีที่รำบ ลุ่มแถบลุ่มนำ้ำชีและลุ่มนำ้ำพอง พื้นที่สูงกว่ำระดับนำ้ำทะเลปำนกลำงเฉลี่ย 100- 200 เมตร 2.1.2 อำณำเขตจังหวัด (รูปที่ 1) ทิศเหนือ - ติดกับจังหวัดอุดรธำนี เลย และหนองบัวลำำภู ทิศใต้ - ติดกับจังหวัดนครรำชสีมำและบุรีรัมย์ ทิศตะวันออก - ติดกับจังหวัดกำฬสินธุ์และมหำสำรคำม ทิศตะวันตก - ติดกับจังหวัดชัยภูมิและเพชรบูรณ์ 2.1.3 เส้นทำงคมนำคม ทำงรถยนต์ มีทำงหลวงแผ่นดินผ่ำนพื้นที่จำำนวน 7 สำย ได้แก่ - ทำงหลวงหมำยเลข 2: สระบุรี-นครรำชสีมำ-ขอนแก่น- อุดรธำนี-หนองคำย - ทำงหลวงหมำยเลข 12: ขอนแก่น-เพชรบูรณ์ - ทำงหลวงหมำยเลข 23: แยกจำกทำงหลวงหมำยเลข 2 ผ่ำน อำำเภอบ้ำนไผ่ (ขอนแก่น) – มหำสำรคำม - ทำงหลวงหมำยเลข 201 : ขอนแก่น-ชัยภูมิ-เลย - ทำงหลวงหมำยเลข 207 : ขอนแก่น-บุรีรัมย์ - ทำงหลวงหมำยเลข 208 : ขอนแก่น-มหำสำรคำม - ทำงหลวงหมำยเลข 209 : ขอนแก่น-กำฬสินธุ์ ทำงรถไฟ เส้นทำงจำก กรุงเทพฯ-หนองคำย ขนำนกับทำงหลวง หมำยเลข 2 หรือถนนมิตรภำพ ผ่ำนอำำเภอในเขตพื้นที่ คือ อำำเภอพล บ้ำนไผ่ บ้ำนแฮด เมืองขอนแก่น นำ้ำพอง และเขำสวนกวำง ทำงเครื่องบิน มีท่ำอำกำศยำนพำณิชย์ 1 แห่ง ห่ำงจำกตัวเมือง 8 กิโลเมตร เส้นทำงบิน กรุงเทพฯ -ขอนแก่น- กรุงเทพ ฯ ใช้เวลำเดินทำง ประมำณ 55 นำที 6
  • 7. รูปที่ 1 แสดงขอบเขตของจังหวัดขอนแก่น 2.1.4 กำรปกครอง - อำำเภอ จำำนวน 26 อำำเภอ 198 ตำำบล 2,331 หมู่บ้ำน และ 389 ชุมชน 7
  • 8. (ที่มำ : ที่ทำำกำรปกครองจังหวัดขอนแก่น ณ วันที่ 31 ธันวำคม 2556) - - องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำำนวน 225 แห่ง ประกอบด้วย องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด จำำนวน 1 แห่ง เทศบำล จำำนวน 85 แห่ง (เทศบำล นคร จำำนวน 1 แห่ง เทศบำลเมือง จำำนวน 6 แห่ง และเทศบำลตำำบล จำำนวน 78 แห่ง) และองค์กำรบริหำรส่วนตำำบล จำำนวน 139 แห่ง (ที่มำ : สำำนักงำนส่งเสริมกำรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดขอนแก่น 2556) - - รำชกำรส่วนภูมิภำค 33 ส่วนรำชกำร รำชกำรส่วนกลำงและ รัฐวิสำหกิจ 227 หน่วยงำน (ที่มำ : สำำนักงำนจังหวัดขอนแก่น 2557) 2.1.5 ประชำกร ประชำกรรวม 1,781,655 คน แยกเป็นชำย 881,591 คน หญิง 900,064 ค น จำำ น ว น บ้ ำ น 561,774 ห ลั ง ตำรำงที่ 1 จำำนวนประชำกรและจำำนวนบ้ำนของจังหวัดขอนแก่น อำำเภอ จำำนวนประ ขำกร จำำนวน ประชำกรชำย จำำนวน ประชำกรหญิง จำำนวน บ้ำน เมือง ขอนแก่น 396,522 192,189 204,333 171,235 บ้ำนฝำง 54,464 27,273 27,191 16,211 พระยืน 34,534 16,969 17,565 9,747 หนองเรือ 93,422 46,434 46,988 25,013 ชุมแพ 123,351 61,220 62,131 38,487 สีชมพู 78,268 39,138 39,130 22,426 นำ้ำพอง 113,766 56,723 57,043 32,044 อุบลรัตน์ 44,541 22,288 22,253 11,487 กระนวน 78,765 39,245 39,520 22,181 บ้ำนไผ่ 101,214 50,016 51,198 31,636 เปือยน้อย 19,981 10,045 9,936 5,021 พล 87,294 43,274 44,020 25,084 แวงใหญ่ 29,554 14,573 14,981 7,425 แวงน้อย 42,142 20,983 21,159 11,459 หนองสองห้ อง 78,086 39,055 39,031 20,374 ภูเวียง 72,085 35,981 36,104 19,326 มัญจำคีรี 71,738 35,684 36,054 20,946 ชนบท 48,853 23,960 24,893 13,510 8
  • 9. อำำเภอ จำำนวนประ ขำกร จำำนวน ประชำกรชำย จำำนวน ประชำกรหญิง จำำนวน บ้ำน เขำสวน กวำง 38,207 19,214 18,993 10,444 ภูผำม่ำน 22,808 11,444 11,364 6,420 ซำำสูง 23,647 11,734 11,913 6,436 โคกโพธิ์ ไชย 25,487 12,757 12,730 7,211 หนองนำคำำ 23,798 11,878 11,920 5,945 บ้ำนแฮด 32,717 16,296 16,421 9,334 โนนศิลำ 26,485 13,292 13,193 7,271 เวียงเก่ำ 19,926 9,926 10,000 5,101 รวม 1,781,655 881,591 900,064 561,774 ที่มำ : สำำนักบริหำรทะเบียน กรมกำรปกครอง กระทรวงมหำดไทย รวบรวม โดย สำำนักงำนสถิติพยำกรณ์ สำำนักงำนสถิติแห่งชำติ ณ 31 ธันวำคม 2556 2.1.6 ลักษณะภูมิประเทศ สภำพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่รำบสูง มีพื้นที่สูงตำ่ำสลับเป็นลูกคลื่น ทำง ทิศตะวันตกสูงมำก เพรำะมีแนวเขำภูกระดึงและเพชรบูรณ์ สำำหรับทำงทิศ ตะวันออกและทิศตะวันออกเฉียงใต้มีลักษณะสูงตำ่ำ มีที่รำบลุ่มแถบลุ่มนำ้ำชีใน เขตพื้นที่อำำเภอพระยืน ชนบท บ้ำนไผ่ มัญจำคีรี แวงน้อย แวงใหญ่ เมือง ขอนแก่น และที่รำบลุ่มนำ้ำพองในเขตพื้นที่อำำเภอนำ้ำพอง อุบลรัตน์และเมือง ขอนแก่น พื้นที่สูงกว่ำระดับนำ้ำทะเลปำนกลำงโดยเฉลี่ย 100 - 200 เมตร 2.1.7 ลักษณะภูมิอำกำศ ในรอบปี 2556 อุณหภูมิสูงสุดวัดได้ 41.8 องศำเซลเซียส เมื่อวันที่ 5 เมษำยน 2556 และอุณหภูมิตำ่ำสุดวัดได้ 11.6 องศำเซลเซียส เมื่อวันที่ 28 ธันวำคม 2556 สำมำรถเปรียบเทียบอุณหภูมิย้อนหลัง 10 ปี ได้ตำมตำรำงที่ 4 ตำรำงที่ 2 เปรียบเทียบอุณหภูมิอำกำศของจังหวัดขอนแก่นย้อนหลัง 10 ปี (พ.ศ. 2547 – 2556) ปี อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิตำ่ำสุด อุณหภูมิเฉลี่ย 2547 40.4 13.0 27.00 2548 40.2 11.0 25.60 2549 39.3 12.0 25.70 2550 41.1 12.6 27.00 2551 38.5 11.9 26.00 2552 39.6 10.2 27.80 2553 41.2 13.5 27.41 9
  • 10. ปี อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิตำ่ำสุด อุณหภูมิเฉลี่ย 2554 39.3 11.6 26.17 2555 39.0 15.0 27.11 2556 41.8 11.6 27.70 ที่มำ : สถำนีอุตุนิยมวิทยำขอนแก่น 2557 หมำยเหตุ : 1. อุณหภูมิสูงสุด หรือตำ่ำสุด คือ ค่ำของอุณหภูมิสูงที่สุดหรือ ตำ่ำที่สุดที่ตรวจวัดได้ในช่วงเวลำ 24 ชั่วโมง (เวลำ 07.00 น.วันนี้ ถึง เวลำ 07.00 น.วันพรุ่งนี้) 2. อุณหภูมิเฉลี่ยของปี คือ ค่ำเฉลี่ยของอุณหภูมิที่ตรวจวัดได้ทุก ครั้งในเวลำ 1 ปี 2.1.8 ปริมำณนำ้ำฝน สถิติข้อมูลปริมำณนำ้ำฝนของจังหวัดขอนแก่น โดยศูนย์ อุตุนิยมวิทยำภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน เปรียบเทียบย้อนหลัง 10 ปี (2547 - 2556) ฝนตกมำกที่สุดปี พ.ศ. 2550 วัดได้ 1,378.9 มิลลิเมตร จำำนวนวันที่ฝนตก 101 วัน ฝนตกน้อยที่สุดในปี พ.ศ.2548 วัดได้ 936.5 มิลลิเมตร จำำนวนวันที่ฝนตก 106 วัน ตำรำงที่ 3 เปรียบเทียบปริมำณนำ้ำฝนในพื้นที่จังหวัดขอนแก่นย้อนหลัง 10 ปี (พ.ศ.2547-พ.ศ.2556) ปี พ.ศ. ปริมำณนำ้ำฝน (มม.) จำำนวนวันที่ฝนตก 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 1,303.5 936.5 1,201.5 1,378.9 1,274.5 1,039.5 1,230.1 1,338.8 1,039.4 943.1 94 106 108 101 135 104 110 131 100 109 ที่มำ : ศูนย์อุตุนิยมวิทยำภำคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 2556 2.1.9 สภำพเศรษฐกิจ ในปี 2555 ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) จังหวัดขอนแก่นมีมูลค่ำ จำำนวน 185,603 ล้ำนบำท เป็นลำำดับที่ 14 ของประเทศ และเป็นลำำดับที่ 2 ของภำคตะวันออกเฉียงเหนือรองจำกจังหวัดนครรำชสีมำ (ตำรำงที่ 6) 10
  • 11. สำขำกำรผลิตที่สร้ำงรำยได้ให้กับจังหวัดขอนแก่น ในปี 2555 คือ สำขำนอกภำคเกษตร มีมูลค่ำ 163,144 ล้ำนบำท ในขณะที่สำขำภำคเกษตรมี มูลค่ำ 22,451 ล้ำนบำท (ตำรำงที่ 7) สำขำนอกภำคเกษตร มีมูลค่ำอันดับ 1 คือ สำขำผลิตอุตสำหกรรม มี มูลค่ำ 77,001 ล้ำนบำท รองลงมำคือสำขำกำรศึกษำ มีมูลค่ำ 18,468 ล้ำน บำท และกำรขำยส่ง ขำยปลีก ซ่อมแซมฯ มีมูลค่ำ 16,426 ล้ำนบำท รำยได้เฉลี่ยต่อหัวประชำกร (Per Capita GPP) ของจังหวัด ขอนแก่น ปี 2555 คือ 106,583 บำท (ตำรำงที่ 8) อยู่ในอันดับที่ 1 ของภำค ตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นอันดับที่ 33 ของประเทศ ตำรำงที่ 4 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดขอนแก่น (Gross Provincial Product: GPP) ปี 2551 2552 2553 2554 2555 ผลิตภัณฑ์จังหวัด (GPP) 125,813 141,468 151,17 9 159,377 185,60 3 ตำรำงที่ 5 รำยได้เปรียบเทียบตำมสัดส่วน GPP สำขำนอกภำคเกษตรและ สำขำภำคเกษตร ปี 2551 2552 2553 2554 2555 สำขำภำคเกษตร 13,027 15,842 17,515 19,524 22,451 สำขำนอกภำค เกษตร 112,786 125,627 133,66 4 139,853 163,14 4 ตำรำงที่ 6 รำยได้เฉลี่ยต่อหัวประชำกร (Per Capita GPP) ปี 2551 2552 2553 2554 2555 รำยได้เฉลี่ยต่อหัวประชำกร (GPP) 71,77 4 80,96 1 86,83 4 91,51 6 106,58 3 ที่มำ : สำำนักงำนคณะกรรมกำรพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ปี 2555 2.1.10 อุตสำหกรรม มีโรงงำนอุตสำหกรรมได้รับอนุญำตให้ประกอบกำร จำำนวนทั้งสิ้น 4,191 โรงงำน เงินทุน 92,651,443,781 บำท คนงำน 56,428 คน แยกตำม จำำพวกโรงงำนได้ดังตำรำงที่ 9 ตำรำงที่ 7 แสดงประเภท จำำนวน เงินลงทุน และจำำนวนคนงำนของโรงงำน อุตสำหกรรมในจังหวัดขอนแก่น 11
  • 12. โรงงำ น จำำพวก ที่ จำำนวน โรงงำน จำำนวนเงิน ลงทุน (บำท) จำำนวนคนงำน (คน) แรงม้ำ ชำย หญิง รวมคน งำน 1 2,750 266,456,040 3,43 9 134 3,573 32,913.56 2 518 906,459,190 2,61 5 1,24 9 3,864 14,179.11 3 923 91,478,528,5 51 23,4 80 25,5 11 48,991 2,905,363.1 7 รวม 4,191 92,651,443,7 81 29,5 34 26,8 94 56,428 2,952,455.8 4 หมำยเหตุ จำำพวกที่ 2 คือ ต้องแจ้งให้ทรำบก่อนกำรประกอบกิจกำรโรงงำน จำำพวกที่ 3 คือ ต้องได้รับอนุญำตก่อนจึงจะดำำเนินกิจกำรได้ สำขำอุตสำหกรรมที่มีกำรลงทุนมำกที่สุด 10 อันดับแรกของจังหวัดขอนแก่น ได้แก่ 1. อุตสำหกรรมกำรเกษตร จำำนวน 2,764 โรงงำน 2. อุตสำหกรรมอโลหะ จำำนวน 218 โรงงำน 3. อุตสำหกรรมผลิตภัณฑ์โลหะ จำำนวน 218 โรงงำน 4. อุตสำหกรรมขนส่ง จำำนวน 181 โรงงำน 5. อุตสำหกรรมอำหำร จำำนวน 154 โรงงำน 6. อุตสำหกรรมอื่นๆ จำำนวน 116 โรงงำน 7. อุตสำหกรรมเครื่องจักรกล จำำนวน 114 โรงงำน 8. อุตสำหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จำกไม้ จำำนวน 64 โรงงำน 9. อุตสำหกรรมเฟอร์นิเจอร์และเครื่องเรือน จำำนวน 52 โรงงำน 10. อุตสำหกรรมพลำสติก จำำนวน 43 โรงงำน ที่มำ : สำำนักงำนอุตสำหกรรมจังหวัดขอนแก่น 2557 มีโรงงำนอุตสำหกรรมที่ได้รับอนุญำตประกอบกิจกำรที่ใช้แรงงำนตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป แยกได้ดังนี้ 1. โรงงำนที่ใช้คนงำนตั้งแต่ 100 - 299 คน มี 87 โรงงำน 2. โรงงำนที่ใช้คนงำนตั้งแต่ 300 - 499 คน มี 26 โรงงำน 3. โรงงำนที่ใช้คนงำนตั้งแต่ 500 - 999 คน มี 12 โรงงำน 12
  • 13. 4. โรงงำนที่ใช้คนงำนตั้งแต่ > 1,000 คนขึ้นไป มี 10 โรงงำน ที่มำ : กรมสวัสดิกำรและคุ้มครองแรงงำน กระทรวงแรงงำน 2556 2.1.11 เกษตรกรรม มีพื้นที่กำรเกษตร 4,369,043 ไร่ (ร้อยละ 64.19 ของพื้นที่ จังหวัด) โดยอยู่ในเขตชลประทำน 757,542 ไร่ (คิดเป็นร้อยละ 13.14 ของ พื้นที่กำรเกษตร หรือร้อยละ 8 ของพื้นที่จังหวัด) จำำนวนคนทำำงำนในภำค เกษตร 439,583 คน (ที่มำ : สำำนักงำนเกษตรและสหกรณ์จังหวัดขอนแก่น 2555) โดยมีผลผลิตจำกพืชที่สำำคัญ ดังนี้ ข้ำว นำปรัง ผลผลิตรวม 67,807 ตัน นำปี ผลผลิตรวม 760,496 ตัน อ้อยโรงงำน ผลผลิตรวม 7,248,278 ตัน มันสำำปะหลัง ผลผลิตรวม 624,636 ตัน ถั่วเหลือง ผลผลิตรวม 4,457 ตัน โดยมีผลผลิตจำกสัตว์ที่สำำคัญ ดังนี้ โคเนื้อ ผลผลิตรวม 38,227 ตัว สุกร ผลผลิตรวม 150,606 ตัว ไก่เนื้อ ผลผลิตรวม 8,629,462 ตัว โคนม ผลผลิตนำ้ำนมดิบรวม 31,102ตัน ที่มำ : สำำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตร 2556 2.1.12 พลังงำน มีโรงงำนผลิตเอทำนอล 2 แห่ง กำำลังกำรผลิตจำกมันสำำปะหลัง 130,000 ลิตร/วัน และจำกกำกนำ้ำตำล 150,000 ลิตร/วัน สถำนีบริกำรนำ้ำมัน เชื้อเพลิง 667 แห่ง สถำนีบริกำรก๊ำซธรรมชำติ (NGV) 9 แห่ง สถำนีบริกำร ก๊ำซ LPG 61 แห่ง และร้ำนจำำหน่ำยก๊ำซหุงตุ้ม (LPG) 680 แห่ง (ที่มำ : สำำนักงำนพลังงำนจังหวัดขอนแก่น 2557) 2.1.13 สื่อสำรและโทรคมนำคม มีที่ทำำกำรไปรษณีย์ จำำนวน 28 แห่ง แยกเป็นประเภทรับฝำก (ปทฝ.) 4 แห่ง และประเภทรับ-จ่ำย (ปทจ.) 24 แห่ง มีสำำนักงำนเขตโทรศัพท์ ภูมิภำคที่ 2 ซึ่งมีชุมสำยในกำรปฏิบัติงำนในจังหวัด 8 แห่ง สื่อมวลชนมีสถำนีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย NBT ขอนแก่น สำำนักประชำสัมพันธ์เขต 1 สถำนีถ่ำยทอดผ่ำนดำวเทียมของสถำนีวิทยุ โทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 และช่อง 9 อ.ส.ม.ท. สถำนีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบก ช่อง 5 ช่อง 7 และทีวีไทย 13
  • 14. นอกจำกนี้ยังมีสถำนีวิทยุกระจำยเสียง 14 สถำนี หนังสือพิมพ์ ส่วนกลำง 12 ฉบับ และหนังสือพิมพ์ท้องถิ่น 13 ฉบับ (สำำนักงำน ประชำสัมพันธ์จังหวัดขอนแก่น 2555) 2.1.14 กำรเงินกำรธนำคำร เป็นที่ตั้งของธนำคำรแห่งประเทศไทย สำำนักงำนภำคตะวันออก เฉียงเหนือ และสถำบันกำรเงินพิเศษของรัฐ ได้แก่ ธนำคำรเพื่อกำรเกษตร และสหกรณ์กำรเกษตร ธนำคำรออมสิน ธนำคำรอำคำรสงเครำะห์ ธนำคำร พัฒนำวิสำหกิจขนำดกลำงและขนำดย่อมแห่งประเทศไทย ธนำคำรเพื่อกำร ส่งออกและนำำเข้ำแห่งประเทศไทย ธนำคำรอิสลำมแห่งประเทศไทย รวมทั้ง ธนำคำรพำณิชย์สำขำหลักและสำขำย่อย รวมทั้งสิ้น 100 แห่ง - ปริมำณเงินฝำกธนำคำรพำณิชย์คงค้ำง ณ สิ้นเดือนกุมภำพันธ์ 2555 มียอดคงค้ำง 67,765.67 ล้ำนบำท ขยำยตัวจำกเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ร้อยละ 2.48 ชะลอตัวจำกเดือนที่แล้วที่ขยำยตัวร้อยละ 6.23 ตำมกำรชะลอ ตัวของเงินฝำกออมทรัพย์ และเงินฝำกประจำำ เนื่องจำกผู้ฝำกเงินหันไปลงทุน ในแหล่งอื่นที่ให้ผลตอบแทนสูงกว่ำ ในขณะที่เงินฝำกกระแสรำยวันหดตัว จำกเดือนที่แล้ว ตำมเงินฝำกส่วนรำชกำรที่มีกำรเบิกจ่ำยลดลง - - ปริมำณเงินฝำกธนำคำรรัฐ (ธนำคำรออมสิน ธนำคำร อำคำรสงเครำะห์ และธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร) ณ สิ้น เดือนกุมภำพันธ์ 2555 มียอดค้ำง 35,248.89 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกเดือน เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 22.29 ปรับตัวดีขึ้นจำกเดือนที่แล้วที่ขยำยตัวร้อยละ 21.93 เนื่องจำกกำรขยำยตัวของเงินฝำกธนำคำรอำคำรสงเครำะห์ ในขณะที่ ธนำคำรออมสิน และธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตรเงินฝำก ชะลอตัวจำกเดือนที่แล้ว - - ปริมำณสินเชื่อธนำคำรพำณิชย์คงค้ำง ณ สิ้นเดือนกุมภำพันธ์ 2555 มียอดคงค้ำง 94,005 ล้ำนบำท ขยำยตัวจำกเดือนเดียวกันปีที่แล้ว ร้อย ละ 15.43 ชะลอจำกเดือนที่แล้วที่ขยำยตัวร้อยละ 16.37 ตำมกำรชะลอตัว ของเงินเบิกเกินบัญชีและเงินให้กู้ - - ปริมำณสินเชื่อธนำคำรรัฐ (ธนำคำรออมสิน ธนำคำร อำคำรสงเครำะห์ และธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร) ณ สิ้น เดือนกุมภำพันธ์ 2555 มียอดค้ำง 67,099.20 ล้ำนบำท เพิ่มขึ้นจำกเดือน เดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 25.31 ปรับตัวดีขึ้นจำกเดือนที่แล้วที่ขยำยตัวร้อยละ 24.02 จำกกำรขยำยตัวของสินเชื่อตำมนโยบำยของภำครัฐผ่ำนธนำคำร ออมสิน และธนำคำรเพื่อกำรเกษตรและสหกรณ์กำรเกษตร อย่ำงไรก็ตำมสิน เชื่อของธนำคำรอำคำรสงเครำะห์ปรับตัวดีขึ้น ตำมสินเชื่อเพื่อที่อยู่อำศัย ที่มำ : ธนำคำรแห่งประเทศไทย สำำนักงำนภำคตะวันออกเฉียงเหนือ 2555 14
  • 15. 2.1.15 กำรค้ำและกำรบริกำร มีโรงแรม 142 แห่ง ห้องพัก 5,790 ห้อง มีศูนย์กำรค้ำขนำด ใหญ่ 6 แห่ง และขนำดกลำง 23 แห่ง โรงภำพยนตร์ 20 โรง สถำนบริกำร 70 แห่ง (ที่มำ : ที่ทำำกำรปกครองจังหวัดขอนแก่น 2554) 2.1.16 ประปำ กำรประปำ มีสำำนักงำนประปำอยู่ในพื้นที่ จำำนวน 9 แห่ง ให้ บริกำรจ่ำยนำ้ำประปำ 8 แห่ง ได้แก่ สำำนักงำนประปำขอนแก่น บ้ำนไผ่ ชุมแพ นำ้ำพอง ชนบท กระนวน หนองเรือ และเมืองพล จำำนวนผู้ใช้นำ้ำรวม 164,581 รำย กำำลังกำรผลิตที่ใช้งำน 8,700 ลูกบำศก์เมตร/ชั่วโมง ปริมำณนำ้ำผลิต 63,543,401 ลูกบำศก์เมตร ปริมำณนำ้ำจำำหน่ำย 43,375,003 ลูกบำศก์เมตร ตำรำงที่ 8 แสดงข้อมูลกำรใช้นำ้ำประปำ จังหวัดขอนแก่น กำำลังกำรผลิต นำ้ำที่ผลิตได้ ปริมำณนำ้ำที่ จำำนวนผู้ใช้นำ้ำ (ลบ.ม./ชั่วโมง) (ลบ.ม.) จำำหน่ำยแก่ผู้ใช้ (รำย) (ลบ.ม.) นำ้ำจ่ำยฟรี นำ้ำสูญเสีย (ลบ.ม.) 8,700 63,543,401 43,375,003 163,971 22,639,028 2,991,984 164,581 สำำนักงำนประปำขอนแก่น 800 4,970,987 3,219,522 18,380 1,661,600 229,510 14,346 สำำนักงำนประปำบ้ำนไผ่ 490 2,102,072 1,502,195 3,799 689,742 70,707 7,245 สำำนักงำนประปำชุมแพ 480 2,539,278 1,783,729 9,015 755,549 66,957 8,445 สำำนักงำนประปำนำ้ำพอง 250 2,120,944 1,490,712 92,040 630,232 38,900 10,264 สำำนักงำนประปำชนบท 450 3,508,739 2,686,785 4,906 821,954 92,882 11,904 สำำนักงำนประปำกระนวน 5,300 41,974,149 27,075,101 23,835 15,760,076 2,335,198 85,059 สำำนักงำนประปำหนองเรือ 430 3,203,559 2,364,616 3,580 838,943 97,391 11,595 สำำนักงำนประปำเมืองพล 500 3,123,673 3,252,343 8,416 1,480,932 60,439 15,723 รวม ปริมำณนำ้ำที่ใช้ ในระบบ ปริมำณนำ้ำที่จ่ำยเพื่อ สำำนักงำนประปำ สำธำรณประโยชน์และรั่วไหล(ลบ.ม) ที่มำ : สำำนักงำนกำรประปำส่วนภูมิภำคเขต 6 จังหวัดขอนแก่น 2556 2.1.17 ไฟฟ้ำ กำรไฟฟ้ำมีแหล่งผลิตไฟฟ้ำที่สำำคัญ คือ โรงไฟฟ้ำพลังนำ้ำเขื่อน อุบลรัตน์ และโรงไฟฟ้ำพลังควำมร้อนร่วมนำ้ำพอง กำำลังผลิต 25.2 เมกกะวัตต์ และ 710 เมกกะวัตต์ตำมลำำดับ สถำนะกำรใช้ ไฟฟ้ำของจังหวัดขอนแก่น 478,919 ครัวเรือน มีไฟฟ้ำใช้แล้ว 464,286 ครัวเรือน เป็นร้อยละที่มีไฟฟ้ำ ใช้ 96.94 ตำรำงที่ 9 แสดงข้อมูลกำรใช้ไฟฟ้ำ จังหวัดขอนแก่น อำำเภอ จำำนวนผู้ใช้ ไฟฟ้ำ(รำย) ปริมำณกำรใช้ ไฟฟ้ำ(หน่วย) มูลค่ำกำรใช้ ไฟฟ้ำ(บำท) อำำเภอเมือง ขอนแก่น 134,443 96,434,338.91 343,310,734.94 อำำเภอ 16,105 3,659,808.67 13,040,054.23 15
  • 16. อำำเภอ จำำนวนผู้ใช้ ไฟฟ้ำ(รำย) ปริมำณกำรใช้ ไฟฟ้ำ(หน่วย) มูลค่ำกำรใช้ ไฟฟ้ำ(บำท) บ้ำนฝำง อำำเภอพระยืน 8,753 1,749,170.72 5,841,022.55 อำำเภอ หนองเรือ 25,807 5,407,359.39 19,738,242.39 อำำเภอชุมแพ 25,837 8,510,547.56 32,416,584.58 อำำเภอสีชมพู 17,971 2,158,302.30 7,801,087.43 อำำเภอนำ้ำพอง 27,356 14,604,994.64 50,931,343.22 อำำเภอ อุบลรัตน์ 13,757 2,193,358.52 7,602,180.59 อำำเภอ กระนวน 20,370 4,099,072.04 13,835,254.74 อำำเภอบ้ำนไผ่ 30,192 8,665,197.82 30,267,270.04 อำำเภอ เปือยน้อย 5,413 601,511.88 2,047,228.83 อำำเภอพล 21,921 5,342,993.23 18,711,437.64 อำำเภอ แวงใหญ่ 6,508 782,697.44 2,617,839.52 อำำเภอ แวงน้อย 10,481 1,236,666.99 4,134,023.86 อำำเภอ หนองสองห้อง 18,055 2,255,834.05 8,299,128.90 อำำเภอภูเวียง 21,666 3,007,354.31 10,709,109.43 อำำเภอ มัญจำคีรี 18,039 2,675,183.08 9,653,121.73 อำำเภอชนบท 11,996 2,011,566.40 6,731,159.37 อำำเภอเขำสวน กวำง 7,110 1,141,360.10 3,867,286.33 อำำเภอภูผำ ม่ำน 9,432 1,864,689.78 6,968,805.37 อำำเภอซำำสูง 5,212 791,849.82 2,628,922.76 อำำเภอ โคกโพธิ์ไชย 5,976 773,373.95 2,579,447.65 อำำเภอหนอง นำคำำ 5,340 707,714.67 2,442,254.87 อำำเภอบ้ำน แฮด 6,835 2,074,647.78 7,266,542.04 อำำเภอโนน 2,030 255,658.04 927,203.71 16
  • 17. อำำเภอ จำำนวนผู้ใช้ ไฟฟ้ำ(รำย) ปริมำณกำรใช้ ไฟฟ้ำ(หน่วย) มูลค่ำกำรใช้ ไฟฟ้ำ(บำท) ศิลำ รวม 150,548 97,207,712.86 368,889,999.88 ที่มำ : กำรไฟฟ้ำส่วนภูมิภำคจังหวัดขอนแก่น 2556 2.1.18 กำรศึกษำ โรงเรียนทุกสังกัดที่เปิดทำำกำรสอนในระดับกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน ในจังหวัดขอนแก่น จำำนวน 1,247 แห่ง จำำนวนนักเรียน 251,305 คน จำำนวนครู 10,464 คน จำำนวนห้องเรียน 13,299 ห้อง ตำรำงที่ 10 แสดงจำำนวนโรงเรียน จำำแนกตำมสังกัด ปีกำรศึกษำ 2555 สังกัด แห่ง สำำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขั้นพื้น ฐำน 1,101 สำำนักบริหำรงำนคณะกรรมกำรส่งเสริมกำร ศึกษำเอกชน 128 กรมส่งเสริมกำรปกครองส่วนท้องถิ่น 8 อื่น ๆ 0 รวม 1,237 ตำรำงที่ 11 แสดงจำำนวนโรงเรียนจำำแนกตำมระดับกำรศึกษำที่เปิดสอน ปี กำรศึกษำ 2555 ระดับกำรศึกษำที่เปิดสอน แห่ง 1. อนุบำล 39 2. อนุบำล-ประถมศึกษำ 803 3. อนุบำล-มัธยมฯ ตอนต้น 263 4. อนุบำล-มัธยมฯ ตอนปลำย 3 5. ประถมศึกษำ 219 6. ประถมศึกษำ-มัธยมฯ ตอนต้น 48 7. มัธยมฯ ตอนต้น – มัธยมฯ ตอนปลำย 83 รวม 1,458 ตำรำงที่ 12 แสดงจำำนวนห้องเรียน จำำแนกตำมสังกัด และระดับกำรศึกษำ ปี กำรศึกษำ 2555 สังกัด แห่ง ระดับกำรศึกษำ แห่ง สำำนักงำนคณะ กรรมกำรกำรศึกษำ ขั้นพื้นฐำน 11,249 ก่อนประถมศึกษำ 2,322 สำำนักบริหำรงำน 888 ประถมศึกษำ 6,861 17
  • 18. คณะกรรมกำรส่ง เสริมกำรศึกษำ เอกชน กรมส่งเสริมกำร ปกครองส่วนท้อง ถิ่น 0 มัธยมศึกษำ 2,583 รวม 12,137 รวม 11,766 ตำรำงที่ 13 แสดงจำำนวนครูจำำแนกตำมสังกัด เพศ ปีกำรศึกษำ 2555 สังกัด ชำย หญิง รวม สำำนักงำนคณะกรรมกำร กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 24,899 25,049 49,948 สำำนักบริหำรงำนคณะ กรรมกำรส่งเสริมกำร ศึกษำเอกชน 375 865 1,479 กรมส่งเสริมกำรปกครอง ส่วนท้องถิ่น 0 0 0 อื่น ๆ 0 0 0 รวม 25,274 25,914 51,427 ตำรำงที่ 14 แสดงจำำนวนนักเรียน จำำแนกตำมสังกัด ระดับกำรศึกษำ และชั้น เรียน ปีกำรศึกษำ 2555 สังกัด ก่อนประถม ศึกษำ ประถม ศึกษำ มัธยมต้น มัธยม ปลำย สำำนักงำนคณะ กรรมกำรกำร ศึกษำขั้นพื้นฐำน 19,764 68,597 26,937 37,770 สำำนักบริหำรงำน คณะกรรมกำร ส่งเสริมกำร ศึกษำเอกชน 33,514 11,431 3,180 6,992 กรมส่งเสริมกำร ปกครองส่วน ท้องถิ่น 0 0 0 0 อื่น ๆ 0 0 0 0 รวม 251,305 110,496 30,117 44,762 18
  • 19. ตำรำงที่ 15 แสดงจำำนวนนักเรียน จำำแนกตำมระดับกำรศึกษำ เพศ ปีกำร ศึกษำ 2555 ระดับกำรศึกษำ ชำย หญิง ก่อนประถมศึกษำ 18,407 16,792 ประถมศึกษำ 53,422 54,600 มัธยมศึกษำ-ตอนต้น 29,736 30,175 มัธยมศึกษำ-ตอนปลำย 18,367 24,636 รวม 119,932 126,203 ตำรำงที่ 16 แสดงจำำนวนผู้เรียน/นักศึกษำ ในสังกัดสำำนักงำนส่งเสริมกำร ศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ปีงบประมำณ 2556 ระดับกำรศึกษำ ชำย หญิง รวม กำรส่งเสริมกำรเรียนรู้หนังสือ 1,269 2,424 3,693 กำรศึกษำขั้นพื้นฐำน 74,770 82,679 157,449 กำรศึกษำเพื่อพัฒนำอำชีพ ทักษะ ชีวิต และสังคม 19,989 25,579 45,568 สถำบันระดับอุดมศึกษำ จำำนวน 15 แห่ง • มหำวิทยำลัยขอนแก่น • มหำวิทยำลัยภำคตะวันออกเฉียงเหนือ • มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอีสำน วิทยำเขตขอนแก่น • มหำวิทยำลัยรำมคำำแหง สำขำวิทยบริกำรเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดขอนแก่น • มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย วิทยำเขตขอนแก่น • มหำวิทยำลัยมหำมกุฏรำชวิทยำลัย วิทยำเขตอีสำน และ ศูนย์ กำรศึกษำชุมแพ • มหำวิทยำลัยรำชภัฏเลย ศูนย์กำรศึกษำจังหวัดขอนแก่น • มหำวิทยำลัยศรีปทุม วิทยำเขตขอนแก่น • วิทยำลัยบัณฑิตเอเชีย • วิทยำลัยกำรสำธำรณสุขสิรินธร จังหวัดขอนแก่น • วิทยำลัยเทคนิคขอนแก่น • วิทยำลัยพยำบำลบรมรำชชนนี ขอนแก่น • สถำบันกำรบินพลเรือน (ศูนย์ฝึกกำรบินที่ 2) • วิทยำลัยกำรปกครองท้องถิ่น • วิทยำลัยอำชีวะศึกษำขอนแก่น 19
  • 20. โรงเรียนอำชีวศึกษำเอกชน จำำนวน 10 แห่ง • โรงเรียนเทคโนโลยีขอนแก่น • โรงเรียนเทคโนโลยีภูมิสิทธิ์ • โรงเรียนขอนแก่นเทคโนโลยีพณิชยกำร • โรงเรียนพงษ์ภิญโญเทคโนโลยี • โรงเรียนเทคโนโลยีธุรกิจอำชีวะ • โรงเรียนขอนแก่นบริหำรธุรกิจและธุรกิจอำชีวะ • โรงเรียนเทคโนโลยีภำคตะวันออกเฉียงเหนือ • โรงเรียนอมตะเทคโนโลยีบริหำรธุรกิจ อำำเภอหนองสองห้อง • โรงเรียนชุมแพบริหำรธุรกิจและเทคโนโลยี อำำเภอชุมแพ • โรงเรียนเทคโนโลยีพลพณิชยกำร ( ศูนย์บริกำรมหำวิทยำลัย รำชภัฏพระนคร ) อำำเภอพล นอกจำกนี้มีศูนย์พัฒนำระบบจีไอเอส (GIS) ที่ใหญ่เป็นอันดับต้น ของประเทศ สำำหรับโรงเรียน ดูที่ รำยชื่อโรงเรียนในจังหวัดขอนแก่น 1) โรงเรียนมัธยม สพม. จำำนวน 84 แห่ง 2) โรงเรียนในสังกัดองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดขอนแก่น จำำนวน 17 แห่ง 3) โรงเรียนในสังกัดเทศบำลนครขอนแก่น จำำนวน 11 แห่ง 4) โรงเรียนสำธิต จำำนวน 2 แห่ง 5) โรงเรียนนำนำชำติ จำำนวน 1 แห่ง 6) โรงเรียนเอกชน จำำนวน 12 แห่ง 2.1.19 สำธำรณสุข สถำนบริกำรด้ำนสำธำรณสุข มีโรงพยำบำล 31 แห่ง สังกัด สำำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดขอนแก่น 22 แห่ง มหำวิทยำลัยขอนแก่น 2 แห่ง กระทรวงกลำโหม 1 แห่ง กรมอนำมัย 1 แห่ง กรมสุขภำพจิต 1 แห่ง กรมกำรแพทย์ 1 แห่ง เอกชน 3 แห่ง - สถำนบริกำรสำธำรณสุข สังกัดกระทรวงสำธำรณสุข 1) โรงพยำบำลขอนแก่น (รพศ.) ขนำด 867 เตียง 1 แห่ง 2) โรงพยำบำลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น (รพท.) ขนำด 250 เตียง 1 แห่ง 20
  • 21. 3) โรงพยำบำลชุมชน ขนำด 120 เตียง 1 แห่ง ขนำด 90 เตียง 2 แห่ง ขนำด 60 เตียง 5 แห่ง ขนำด 30 เตียง 12 แห่ง 4) โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพตำำบล 248 แห่ง 5) ศูนย์แพทย์ 4 มุมเมือง (สังกัดโรงพยำบำลขอนแก่น) 4 แห่ง - ศูนย์แพทย์ชำตะผดุง - ศูนย์แพทย์ประชำสโมสร - ศูนย์แพทย์มิตรภำพ - ศูนย์แพทย์ชุมชนวัด หนองแวง พระอำรำมหลวง 6) ศูนย์อนำมัยที่ 6 - โรงพยำบำลส่งเสริมสุขภำพ ขนำด 60 เตียง 1 แห่ง 7) ศูนย์บำำบัดรักษำยำเสพติด จังหวัดขอนแก่น ขนำด 140 เตียง 1 แห่ง 8) โรงพยำบำลจิตเวชขอนแก่นรำชนครินทร์ ขนำด 372 เตียง 1 แห่ง - สถำนบริกำรสำธำรณสุข สังกัดกระทรวงอื่น 1) โรงพยำบำลศรีนครินทร์ มหำวิทยำลัยขอนแก่น ขนำด 1,220 เตียง 1 แห่ง 2) ศูนย์หัวใจสิริกิติ์ ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ มหำวิทยำลัย ขอนแก่น ขนำด 200 เตียง 1 แห่ง 3) โรงพยำบำลค่ำยศรีพัชรินทร จังหวัดขอนแก่น ขนำด 30 เตียง 1 แห่ง 4) ศูนย์บริกำรสำธำรณสุขสังกัดเทศบำลนครขอนแก่น 3 แห่ง - ศูนย์บริกำรสำธำรณสุขที่ 1 เทศบำลนครขอนแก่น - ศูนย์บริกำรสำธำรณสุขที่ 3 บ้ำนโนนชัย - ศูนย์บริกำรสำธำรณสุขที่ 5 บ้ำนหนองใหญ่ - สถำนบริกำรสำธำรณสุขเอกชน โรงพยำบำลเอกชน 3 แห่ง ได้แก่ 1) โรงพยำบำลขอนแก่นรำม ขนำด 100 เตียง 2) โรงพยำบำลรำชพฤกษ์ ขนำด 50 เตียง 3) โรงพยำบำลเวชประสิทธิ์ ขนำด 50 เตียง 2.1.20 ทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม 21
  • 22. ป่ำไม้ เป็นพื้นที่ป่ำ 1,296,400 ไร่ (ร้อยละ 11.91 ของพื้นที่จังหวัด) มี อุทยำนแห่งชำติ 4 แห่ง มีพื้นที่รวม 743,973 ไร่ วนอุทยำน 2 แห่ง มีพื้นที่ รวม 6,200 ไร่ ป่ำสงวนแห่งชำติ 22 ป่ำ มีพื้นที่รวม 1,697,052 ไร่ ป่ำชุมชน 206 แห่ง มีพื้นที่รวม 49,316 ไร่ สภำพป่ำประกอบด้วยป่ำดิบเขำ ป่ำดิบแล้ง ป่ำเบญจพรรณ และป่ำเต็งรัง พรรณไม้สำำคัญ ได้แก่ ประดู่ มะค่ำโมง ตะแบก เหียง พลวง แดง เต็ง รัง พรรณไม้พื้นล่ำงที่ขึ้นอยู่หนำแน่น ได้แก่ หว่ำนไพร ชัน ข่ำป่ำ เพ็ก หวำย กล้วยไม้ป่ำ หญ้ำคำ แฝก ฯลฯ (ที่มำ : กรมอุทยำนแห่ง ชำติ สัตว์ป่ำ และพันธุ์พืช 2555) แหล่งนำ้ำ (1) นำ้ำผิวดิน จังหวัดขอนแก่นอยู่ในเขตของลุ่มนำ้ำหลัก 2 ลุ่มนำ้ำ คือ ลุ่มนำ้ำ มูลและลุ่มนำ้ำชี พื้นที่ลุ่มนำ้ำมูล ได้แก่ กลุ่มลุ่มนำ้ำสำขำที่ไหลลงลำำห้วยแอก ลำำ ห้วยสะแทด และลำำพังชู ในส่วนพื้นที่ลุ่มนำ้ำชี ได้แก่ กลุ่มลุ่มนำ้ำที่ไหลลงอ่ำง เก็บนำ้ำอุบลรัตน์ กลุ่มลุ่มนำ้ำที่ไหลลงลำำนำ้ำพองตอนล่ำง กลุ่มลุ่มนำ้ำที่ไหลลง แม่นำ้ำชี และกลุ่มลุ่มนำ้ำสำขำลำำปำวตอนบน โดยมีลำำนำ้ำสำยหลักที่ไหลผ่ำน จังหวัดขอนแก่น ได้แก่ ลำำนำ้ำพอง ลำำนำ้ำเชิญ และลำำนำ้ำชี ซึ่งสำมำรถแบ่ง พื้นที่จังหวัดขอนแก่นทั้งหมดออกเป็น 11 ลุ่มนำ้ำ และปริมำณนำ้ำท่ำเฉลี่ยรำย เดือนที่เกิดจำกพื้นที่ รับนำ้ำของจังหวัดขอนแก่นทั้ง 11 ลุ่มนำ้ำย่อยสรุปได้ ดังนี้ ตำรำงที่ 17 แสดงข้อมูลลุ่มนำ้ำจังหวัดขอนแก่น ลำำดับ ที่ ลุ่มนำ้ำย่อย พื้นที่รับนำ้ำฝน (ตร.กม.) ปริมำณนำ้ำท่ำรำยปี เฉลี่ย (ล้ำน ลบ.ม) 1 ลุ่มนำ้ำห้วยแอก 859.39 120.93 2 ลุ่มนำ้ำลำำ สะแทด 77.86 11.83 3 ลุ่มนำ้ำพังชู 189.89 26.86 4 ลุ่มนำ้ำชีส่วนที่ 2 350.49 37.29 5 ลุ่มนำ้ำชีส่วนที่ 3 3,244.00 362.23 6 ลุ่มนำ้ำลำำห้วย สำมหมอ 98.29 15.58 7 ลุ่มนำ้ำพองตอน บน 2,150.49 411.78 22
  • 23. 8 ลุ่มนำ้ำพองตอน ล่ำง 2,194.42 359.69 9 ลุ่มนำ้ำลำำปำว ตอนบน 95.52 26.38 10 ลุ่มนำ้ำเชิญ 1,168.57 174.53 11 ลุ่มนำ้ำห้วยสำย บำตร 457.06 87.82 รวม 10,885.98 1,634.92 ที่มำ : โครงกำรชลประทำนขอนแก่น 2555 ปริมำณนำ้ำท่ำในพื้นที่ลุ่มนำ้ำชี จำกกำรรวบรวมข้อมูลปริมำณนำ้ำท่ำจำกสถำนีวัดนำ้ำท่ำที่อยู่ในลุ่ม นำ้ำชีทั้งหมด 32 สถำนี พบว่ำปริมำณนำ้ำท่ำของแม่นำ้ำชีส่วนใหญ่จะมีมำกใน ช่วงเดือนสิงหำคม ถึงเดือนพฤศจิกำยน และมีปริมำณน้อยในช่วงฤดูแล้งโดย เดือนที่มีปริมำณนำ้ำท่ำสูงสุดได้แก่ช่วงเดือนกันยำยนและตุลำคม ส่วนลุ่มนำ้ำ ย่อยที่อยู่ในลุ่มนำ้ำมูลพื้นที่จังหวัดขอนแก่น จะมีปัญหำกำรขำดแคลนนำ้ำมำก พอสมควร โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจำกปริมำณนำ้ำท่ำที่เกิด จำกลุ่มนำ้ำมีน้อย และยังไม่มีแหล่งเก็บกักนำ้ำขนำดกลำง จังหวัดขอนแก่นมีลำำนำ้ำที่สำำคัญไหลผ่ำน 3 สำย ดังนี้ 1) ลำำนำ้ำพอง มีต้นกำำเนิดจำกภูกระดึงและเทือกเขำสันปันนำ้ำของ ลุ่มนำ้ำป่ำสักกับลุ่มนำ้ำชี ไหลผ่ำน อ.ภูกระดึง จ.เลย และ อ.อุบลรัตน์ อ.เมือง จ.ขอนแก่น และไหลบรรจบแม่นำ้ำชีที่ อ.เมือง จ.ขอนแก่นมีกำรก่อสร้ำงเขื่อน อุบลรัตน์กั้นลำำนำ้ำพอง ที่ อ.อุบลรัตน์ เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ำและกำร ชลประทำน มีพื้นที่ชลประทำนประมำณ 258,000 ไร่ โดยกำรก่อสร้ำงฝำย หนองหวำยเพื่อทดนำ้ำ ที่ อ.นำ้ำพอง ซึ่งอยู่ในควำมรับผิดชอบของโครงกำรส่ง นำ้ำและบำำรุงรักษำหนองหวำย ลำำนำ้ำพองสำมำรถแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ 1.1) ลำำนำ้ำพองตอนบน ซึ่งอยู่เหนือเขื่อนอุบลรัตน์ ลำำนำ้ำสำขำ ประกอบด้วย หนองโก ลำำนำ้ำพวย ห้วยทรำยขำว ลำำนำ้ำมอ ห้วยแกน และห้วย ซำำจำน ซึ่งไหลลงเขื่อนอุบลรัตน์ 1.2) ลำำนำ้ำพองตอนล่ำง ซึ่งอยู่ท้ำยเขื่อนอุบลรัตน์ ลำำนำ้ำสำขำ ประกอบด้วย ห้วยทรำย ห้วยคุมมุมห้วยยำง ห้วยโจด ห้วยเสือเต้น ห้วยเสียว ห้วยเก้ำคต ห้วยใหญ่ ห้วยสำยบำตร และห้วยพระคือ 2) ลำำนำ้ำเชิญ มีต้นกำำเนิดจำกสันปันนำ้ำของลุ่มนำ้ำป่ำสักและลุ่ม นำ้ำชี ใน จ.ชัยภูมิ และ อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น และไหลลงเขื่อนอุบลรัตน์ที่ อ.หนองเรือ จ.ขอนแก่น 23
  • 24. 3) ลำำนำ้ำชี มีต้นกำำเนิดจำกสันปันนำ้ำของลุ่มนำ้ำป่ำสักและลุ่มนำ้ำชี ใน จ.ชัยภูมิ ไหลเข้ำสู่จังหวัดขอนแก่นบริเวณ อำำเภอแวงน้อย ไหลผ่ำน อำำเภอแวงใหญ่ อำำเภอชนบท อำำเภอมัญจำคีรี อำำเภอบ้ำนไผ่ และอำำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น อำำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหำสำรคำม ไหลผ่ำน จังหวัด ร้อยเอ็ด จังหวัดยโสธร และบรรจบแม่นำ้ำมูล ที่จังหวัดอุบลรำชธำนี ควำมยำว 900 กม. ในสภำพปัจจุบันนำ้ำท่ำจำกแม่นำ้ำชีไหลผ่ำนแม่นำ้ำมูลประมำณ 8.752 ล้ำน ลบ.ม. ต่อปี (2) นำ้ำบำดำล บ่อบำดำลในจังหวัดขอนแก่นมีจำำนวน 6,462 บ่อ บ่อนำ้ำ บำดำลส่วนใหญ่จะใช้ประโยชน์ เพื่อกำรผลิตนำ้ำประปำหมู่บ้ำนและเพื่อกำร อุปโภคบริโภคในครัวเรือน ส่วนบ่อบำดำลที่ใช้สำำหรับกิจกรรมอื่น ๆ เช่น เกษตรกรรม อุตสำหกรรม กำรประมง และกำรเลี้ยงสัตว์ มีอยู่บ้ำงแต่เป็น จำำนวนไม่มำกนัก จำำนวนบ่อบำดำลที่ดำำเนินกำรขุดเจำะโดยหน่วยงำนต่ำง ๆ สรุปได้ดังนี้ ตำรำงที่ 18 แสดงข้อมูลบ่อนำ้ำบำดำลจังหวัดขอนแก่น ประเภท จำำนวน 1) บ่อนำ้ำบำดำล (บ่อ) - ใช้กำรได้ (บ่อ) - หมดสภำพ (บ่อ) 6,462 6,066 396 2) จุดจ่ำยนำ้ำ (แห่ง) 71 3) นำ้ำดื่มได้ (แห่ง) 39 4) ระบบประปำบำดำล (แห่ง) 1,705 รวม 8,167 ที่มำ : ศูนย์ทรัพยำกรนำ้ำบำดำลภำค 4 ขอนแก่น 2555 ตำรำงที่ 19 แสดงโครงกำรแหล่งนำ้ำในจังหวัดขอนแก่น ขนำดโครงกำร จำำนวน (แห่ง) ปริมำณนำ้ำเก็บ กัก (ล้ำน ลบ.ม.) พื้นที่รับ ประโยชน์ (ไร่) โครงกำรขนำดใหญ่ 2 2,263.60 143,767 โครงกำรขนำดกลำง 19 81.44 51,948 โครงกำรขนำดเล็ก 441 37.13 145,681 โครงกำรสถำนีสูบนำ้ำด้วย 109 - 212,065 24
  • 25. ไฟฟ้า ที่มา : โครงการชลประทานขอนแก่น 2555 ทรัพยากรธรณี แหล่งทรัพยากรธรณีที่สำาคัญในจังหวัดขอนแก่น คือ 1. แร่หินปูน มีอยู่ในเขตอำาเภอภูผาม่าน อำาเภอสีชมพู และ อำาเภอชุมแพ มีพื้นที่รวม 160 ไร่ ปริมาณแร่สำารอง 61.43 ล้านตัน มีการ ประกอบกิจการเหมืองแร่หินปูนเพื่อการอุตสาหกรรมก่อสร้าง จำานวน 12 แปลง 2. ก๊าซธรรมชาติ พบที่อำาเภอนำ้าพอง เขาสวนกวาง และ อำาเภอชนบท มีเพียงแหล่งที่อำาเภอนำ้าพองและอำาเภอเขาสวนกวางที่ได้ขุดขึ้น มาใช้เป็นแหล่งพลังงานความร้อนร่วมในการผลิตกระแสไฟฟ้าของการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โดยมีหลุมขุดเจาะก๊าซ จำานวน 2 แห่ง คือ 2.1 หลุมขุดเจาะก๊าซ บริษัท เอ็กซอนโมบิล จำากัด ตั้งอยู่ที่ ตำาบลกุดนำ้าใส อำาเภอนำ้าพองมีปริมาณก๊าซสำารองประมาณ 1.5 ล้านล้าน ลูกบาศก์ฟุต ในปี พ.ศ.2533 มีปริมาณการใช้วันละ 40 ล้านลูกบาศก์ฟุต ปี พ.ศ.2537 มีปริมาณการใช้วันละ 200 ล้านลูกบาศก์ฟุต ก๊าซที่แหล่งนำ้าพองมี โรงงานผลิตก๊าซตั้งอยู่ในบริเวณเดียวกับหลุมขุดเจาะก๊าซ 2.2 แหล่งก๊าซธรรมชาติสินภูฮ่อม บริษัท เฮสส์ (ไทยแลนด์) จำากัด โดยมีหลุมขุดเจาะอยู่ที่อำาเภอหนองแสง จังหวัดอุดรธานี และตำาบลโนน สมบูรณ์ อำาเภอเขาสวนกวาง มีปริมาณก๊าซสำารอง 500,000-700,000 ล้าน ลูกบาศก์ฟุต และมีการต่อท่อระยะทาง 63 กม. เพื่อนำามาผลิตก๊าซที่ตำาบลกุด นำ้าใส อำาเภอนำ้าพอง มีกำาลังการผลิต 70 ล้านลูกบาศก์ฟุตต่อวัน 3. แหล่งแร่ที่สำาคัญของจังหวัดขอนแก่น คือ แร่โพแทช หมายถึง แร่ที่มีธาตุโพแทชเซียม (K) เป็นส่วนประกอบที่สำาคัญ แร่โพแทชที่เกิดร่วมกับ เกลือหินในประเทศไทยมี 2 ชนิดใหญ่ ๆ ได้แก่ 3.1 แร่ซิลไวต์ (Sylvite : KCL) ซึ่งมีธาตุโพแทชเซียมสูงถึง ร้อยละ 52.4 มีสีขาว ขาวขุ่น หรือใส 3.2 แร่คาร์นัลไลต์ (Carnallite : KMgCl3H22O) ประกอบ ด้วยโพแทชเซียมคลอไรด์ (KCl) ร้อยละ 26.87 และแมกเนเซียมคลอไรด์ (MgCl2) ร้อยละ 34.3 แร่โพแทชที่พบในจังหวัดขอนแก่น ส่วนใหญ่จะเป็นแร่คาร์นัลไลต์ มีความหนาเฉลี่ย 25.88 เมตร ที่ระดับความลึกประมาณ 200-300 เมตร พบ ได้ในบริเวณพื้นที่อำาเภอเมืองขอนแก่น อำาเภอบ้านฝาง และอำาเภอทางตอนไต้ ของจังหวัด แร่คาร์นัลไลต์ของจังหวัดขอนแก่น มีปริมาณที่มีศักยภาพในเชิง พาณิชย์ประมาณ 27,800 ล้านเมตริกตัน และแร่ซิลไวต์มีปริมาณที่มีศักยภาพ ในเชิงพาณิชย์ประมาณ 580 ล้านเมตริกตัน 25
  • 26. 2.2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยของจังหวัด 2.2.1 ขยะมูลฝอยชุมชน จังหวัดขอนแก่น มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 225 แห่ง ประกอบ ด้วย อบจ. 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 6 แห่ง เทศบาลตำาบล 77 แห่ง และองค์การบริหารส่วนตำาบล 140 แห่ง มีปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนเกิด ขึ้น ประมาณ 1,224 ตันต่อวัน โดยเทศบาลนครขอนแก่นมีปริมาณขยะ มูลฝอยมากที่สุด ประมาณ 210 ตันต่อวัน รองลงมาคือเทศบาลเมืองศิลา ประมาณ 50 ตันต่อวัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการเก็บรวบรวมและ ขนส่งขยะไปกำาจัดจำานวน 170 แห่ง ยังไม่มีการจัดเก็บและไม่มีรถเก็บขนขยะ 54 แห่ง มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพียง 32 แห่ง(คิดเป็นร้อยละ 14.3) ที่มี การกำาจัดขยะถูกหลักวิชาการ คิดเป็นปริมาณขยะที่กำาจัดถูกหลัก 206 ตันต่อ วัน ได้แก่ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองบ้านไผ่ ศูนย์กำาจัดขยะ มูลฝอยของเทศบาลเมืองชุมแพ ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลเมือง กระนวน ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลตำาบลนำ้าพอง/เขาสวนกวาง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กำาจัดขยะไม่ถูกหลักวิชาการ จำานวน 138 แห่ง ปริมาณขยะ 783 ตันต่อวัน มีสถานที่กำาจัดขยะไม่ถูกหลักวิชาการ 101 แห่ง ใช้วิธีกำาจัดแบบกองบนพื้น และเผาเป็นครั้งคราว ปริมาณขยะสะสมตกค้างใน บริเวณสถานที่กำาจัดขยะที่ไม่ถูกหลักรวม 723,960 ตัน คิดเป็นอันดับ 8 ของ ประเทศ โดยเทศบาลนครขอนแก่นมีปริมาณขยะสะสมมากที่สุด 620,000 ตัน รองลงมาคือเทศบาลเมืองเมืองพล 15,000 ตัน เทศบาลตำาบลหนองเรือ 10,000 ตัน (ข้อมูลกรมควบคุมมลพิษ,2557) 2.2.1.1 การคัดแยกและนำาขยะมูลฝอยกลับมาใช้ ประโยชน์ใหม่ กรมควบคุมมลพิษ ได้ทำาการศึกษาปริมาณการนำาขยะ มูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ในปี 2556 พบว่า จังหวัดขอนแก่น มีอัตรา การนำามูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ 55.4 ตันต่อวัน คิดเป็น ร้อยละ 5 เป็นการนำากลับมาใช้ใหม่ผ่านกิจกรรมโครงการลด ใช้ซำ้าและแปรรูปกลับมา ใช้ใหม่ (๓ Rs) เช่น ขยะรีไซเคิล ธนาคารขยะ ร้านรับซื้อของเก่า การทำาปุ๋ย หมักและนำ้าหมักชีวภาพ เป็นต้น 2.2.1.2 การเก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอย จังหวัดขอนแก่น มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำานวน 224 แห่ง(ไม่รวมอบจ.) มีการให้บริการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยไปกำาจัด 170 แห่ง และไม่มีการให้บริการ 54 แห่ง โดยมีปริมาณขยะมูลฝอยที่รวบรวมได้ 974 ตันต่อวัน แบ่งเป็นปริมาณขยะมูลฝอยที่นำาไปกำาจัดอย่างถูกหลักวิชาการ 206 ตันต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 14.3 และกำาจัดแบบไม่ถูกหลักวิชาการ 768 ตันต่อ วัน คิดเป็นร้อยละ 62.7 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได้ ส่วนปริมาณ 26
  • 27. ขยะที่เกิดขึ้นแต่ไม่มีการให้บริการเก็บรวบรวมจำานวน 250 ตันต่อวัน คิดเป็น ร้อยละ 20.4 2.2.1.3 การกำาจัดขยะมูลฝอย จังหวัดขอนแก่น มีสถานที่กำาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลัก วิชาการ โดยเป็นการฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary landfill) จำานวน 5 แห่ง ได้แก่ ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองบ้านไผ่ ศูนย์กำาจัด ขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองชุมแพ ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองกระนวน ศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองตำาบลนำ้าพอง/เขาสวนกวาง และศูนย์ กำาจัดขยะมูลฝอยเทศบาลเมืองเมืองพล (ในปีพ.ศ.2555-2557 บ่อฝังกลบเต็ม ทำาให้มีปริมาณขยะสะสมเป็นจำานวนมาก ปัจจุบันตั้งแต่เดือนตุลาคม 2557 ได้ ดำาเนินการก่อสร้างบ่อฝังกลบและมีการฝังกลบขยะถูกหลักสุขาภิบาลแล้ว) ให้บริการกำาจัดขยะมูลฝอยจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหน่วยงานทั้ง ภาครัฐและเอกชนบริเวณใกล้เคียงมีปริมาณขยะมูลฝอยที่กำาจัดอย่างถูกหลัก วิชาการ 206 ตันต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 14.3 ของปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น ส่วนปริมาณขยะมูลฝอย จำานวน 768 ตันต่อวัน ถูกกำาจัดในสถานที่กำาจัดขยะ มูลฝอยแบบไม่ถูกหลักวิชาการ ตารางที่ 20 แสดงศูนย์กำาจัดขยะมูลฝอยรวม ในพื้นที่จังหวัดขอนแก่น ศูนย์กำาจัด ขยะ ปี พ.ศ.ที่ ก่อสร้า ง งบ ประมา ณ ก่อสร้าง (ล้าน บาท) จำานว น อปท.ร่ วมใช้ ปริมา ณขยะ รวม (ตัน/ วัน) การบริหารจัดการ ทน.ขอนแ ก่น 2541 45.65 8 แห่ง 255.6 5 ตั้งอยู่บ้านคำาบอน ต.โนน ท่อน อ.เมือง เนื้อที่ 98 ไร่ ได้งบก่อสร้างบ่อฝังกลบ บ่อที่หนึ่ง และไม่ได้งบ ก่อสร้างบ่อฝังกลบที่สอง ต่อเนื่อง ทำาให้ขยะเต็ม และไม่มีการฝังกลบ มา ตั้งแต่ปี 2546 ใช้วิธีกอง บนพื้น ทำาให้มีขยะสะสม มากว่า 620,000 ตัน มีโรง แปรรูปขยะเป็นนำ้ามัน ปัจจุบันไม่ได้ใช้งานและ เตาเผามูลฝอยติดเชื้อ 27