SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
Download to read offline
รายงาน 
กรณีศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 67 (ด้านอุตสาหกรรม) ของบริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน) 
เสนอ 
ผศ.พัชนิจ เนาวพันธ์ 
จัดทาโดย 
5430160156 น.ส.ชนิดา ท้าวภุชฌงค์ R12 หมู่เรียน 850 
5430160334 นายธนกร ลิจันทร์พร R12 หมู่เรียน 850 
5430160342 นายธนภัทร สิทธิ์สิริโสภา R12 หมู่เรียน 850 
5430160474 น.ส.นวพร วรานันตกุล R12 หมู่เรียน 850 
5430160610 น.ส.ภัสราภรณ์ สังข์สอาด R12 หมู่เรียน 850 
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการการบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา 03760443 
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 
สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ
คานา 
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา การบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Accounting) จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญมาตรา 67 เกี่ยวกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยได้ ยกตัวอย่างสถานประกอบการ คือ บริษัท เบตเตอร์เวิลด์ กรีน จากัด เกี่ยวกับการรับผิดชอบจัดการ สภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของบริษัท พร้อมทั้งได้เรียนรู้การดาเนินการแก้ไข สิ่งที่ ส่งผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ค่าใช้จ่ายภายในบริษัทด้วย เพื่อทุกท่านจะได้ทราบถึง กรอบงาน ปัจจัยที่ทาให้องค์กรประสบความสาเร็จและนามาปรับใช้ในการทางานต่อไป 
รายงานเล่มนี้ได้รวบรวมองค์ความรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการไว้ส่วน หนึ่ง ทั้งเนื้อหาข่าว การวิเคราะห์พร้อมทั้งแนวคิดต่างๆ ทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็น ประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจ หากเกิดข้อผิดพลาดประการใด ทางผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย 
คณะผู้จัดทา
(1) 
สารบัญ 
หน้า 
สารบัญตาราง (4) 
สารบัญภาพ (5) 
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 1 
1.1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือ กิจกรรมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ 2 
2. คาวิเคราะห์องค์ประกอบของกฎหมายรัฐธรรมนูญ 9 
2.1 การจัดทารายงาน EIA 9 
2.2 การจัดทารายงาน EHIA 9 
2.3 การประชาพิจารณ์ 10 
2.4 การขออนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 10 
3. อธิบายแต่ละองค์ประกอบ 11 
3.1 EIA 11 
3.1.1 องค์ประกอบของ EIA 12 
3.2 EHIA 28 
3.2.1 โครงการที่จะต้องจัดทารายงาน EHIA 29 
3.2.2 ขอบเขตของการศึกษา EHIA 30 
3.2.3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 31
(2) 
สารบัญ (ต่อ) 
หน้า 
3.3 การทาประชาพิจารณ์ 32 
3.3.1 วัตถุประสงค์ในการทาประชาพิจารณ์ 32 
3.3.2 การประชาพิจารณ์ในขั้นตอนการปฏิบัติตามนโยบาย 34 
3.4 การขออนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 36 
3.4.1 การจัดทาเรื่องเสนอและการจัดทาหนังสือนาส่ง 38 
4. การจัดทาบัญชีที่เกี่ยวข้อง 39 
4.1 ผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน และค่าใช้จ่าย ขององค์การ 39 
4.2 การดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 39 
5. ตัวอย่างกิจการ 40 
5.1 ข้อมูลของกิจการ (บริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน)) 40 
5.1.2 ปรัชญาและวิสัยทัศน์ 41 
5.1.3 นโยบายคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย 42 
5.1.4 การบริหารจัดการ “ขยะอุตสาหกรรม / กากอุตสาหกรรม 43 
5.1.5 ระบบฝังกลบ 43 
5.1.6 ระบบบาบัดน้าเสีย 45 
5.1.7 ระบบการปรับปรุงคุณภาพ 46 
5.1.8 ระบบเผาทาลาย 47 
5.1.9 มาตรฐานการรับรองในระดับสากล 48 
5.1.10 การปฏิบัติตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 49
(3) 
สารบัญ (ต่อ) 
หน้า 
5.2 ข้อพิพาทภายในกิจการ 50 5.3 ผลกระทบของกิจการ 53 
5.4 ผลกระทบต่อการจัดการบัญชี 53
(4) 
สารบัญตาราง 
ตารางที่ หน้า 
1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือ กิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 3 
2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA 13 
3 โครงการที่จะต้องจัดทารายงาน EHIA 29 
4 รางวัลที่กิจการได้รับจากการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม 48
(5) 
สารบัญภาพ 
ภาพที่ หน้า 
1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 1 
2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยว กับอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ 2 
3 ขอบเขตการศึกษา EHIA 30 
4 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 31 
5 ขั้นตอนการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 36 
6 ขั้นตอนการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และคณะรัฐมนตรี 37 
7 รูปตัดหลุมฟังกลบกากอุตสาหกรรมไม่อันตราย 44 
8 รูปตัดหลุมฟังกลบกากอุตสาหกรรมไม่อันตราย 45 
9 ข้อพิพาททางกฎหมายของบริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน) 50 
10 ข้อพิพาททางกฎหมายของบริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน) 51
(6) 
สารบัญภาพ (ต่อ) 
ภาพที่ หน้า 
11 ข้อพิพาททางกฎหมายของบริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน) 52
1 
1. กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 
ภาพที่ 1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 
ที่มา: ราชกิจจานุเบกษา (2550: 1)
2 
1.1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมที่อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ 
ภาพที่ 2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมที่อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ 
ที่มา: ราชกิจจานุเบกษา (2552: 54)
3 
ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 
ลาดับที่ 
โครงการหรือกิจกรรม 
ขนาด 
1 
การทาเหมืองใต้ดิน เฉพาะด้วยวิธีออกแบบให้โครงสร้างยุบตัว ภายหลังการทาเหมืองโดยไม่มีค้ายันและไม่มีการใส่คืนวัสดุ ทดแทนเพื่อป้องกันการยุบตัว 
ทุกขนาด 
2 
เหมืองแร่ตะกั่ว และสังกะสี 
ทุกขนาด 
3 
การถลุงแร่ 
3.1 การถลุงแร่ด้วยสารละลายเคมีในชั้นดิน (In-Situ Leaching) 
3.2 อุตสาหกรรมการผลิตเหล็กขั้นต้น 
ทุกขนาด 
กรณีตั้งโรงงาน 
กาลังการผลิตตั้งแต่ 20,000 ตันต่อวันขึ้นไป 
กรณีขยายโรงงาน 
เพิ่มกาลังการผลิตเกินกว่าร้อยละ 35 สาหรับโรงงานเดิมที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 
20,000 ตันต่อวันขึ้นไป หรือเพิ่มกาลังการผลิตรวมเป็นตั้งแต่ 20,000 ตันต่อวัน ขึ้นไป
4 
ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) 
ลาดับที่ 
โครงการหรือกิจกรรม 
ขนาด 
ทั้งนี้ การตั้งหรือขยายโรงงานในโครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 5 ไม่ต้อง ดาเนินการตามประกาศนี้ในกรณีที่โครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 5 นั้น ได้ ดาเนินการตามประกาศนี้รองรับไว้ก่อนแล้ว 
4 
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นหรือขั้นกลางที่มีการใช้หรือผลิต สารอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี้ 
4.1 สารที่ก่อให้เกิดมลสารทางอากาศที่เป็นอันตราย 
(Hazardous Air Pollutant) ได้แก่ 
(1) Asbestos 
(2) Benzene 
(3) Benzidine 
(4) Bis (chloromethyl) ether 
(5) Beryllium and beryllium compounds 
(6) 1,3-Butadiene 
กรณีตั้งโรงงาน 
มีการใช้หรือผลิตสารตาม 4.1 หรือ 4.2 ตั้งแต่ 1,000 ตันต่อวันขึ้นไป 
กรณีขยายโรงงาน 
เพิ่มการใช้หรือผลิตสารตาม 4.1 หรือ 4.2 รวมกันเกินกว่าร้อยละ 35 สาหรับ โรงงานเดิมที่มีการใช้หรือผลิตสารดังกล่าวตั้งแต่ 1,000 ตันต่อวันขึ้นไป หรือ เพิ่มการใช้สารตาม 4.1 หรือ 4.2 รวมเป็นตั้งแต่ 1,000 ตันต่อวันขึ้นไป 
ทั้งนี้ การตั้งหรือขยายโรงงานในโครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 5 ไม่ต้อง ดาเนินการตามประกาศนี้ ในกรณีที่โครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 5 นั้นได้ ดาเนินการตามประกาศนี้รองรับไว้ก่อนแล้ว
5 
ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) 
ลาดับที่ 
โครงการหรือกิจกรรม 
ขนาด 
(7) Cadmium and cadmium compounds 
(8) Chromium (VI) 
(9) Ethylene Oxide 
(10) Formaldehyde 
(11) Nickel compounds 
(12) Phosphorus-32 , as phosphate 
(13) Radionuclides (including radon) 
(14) Vinyl chloride 
4.2 สารที่มีพิษรุนแรง (Highly Toxic) ได้แก่ 
(1) สารที่มีค่า LD50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัมของน้าหนักตัว เมื่อทดสอบในหนูขาว(ทางปาก) ที่มี น้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม
6 
ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) 
ลาดับที่ 
โครงการหรือกิจกรรม 
ขนาด 
(2) สารที่มีค่า LD50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 200 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัมของน้าหนักตัว เมื่อทดสอบในกระต่ายขาว (ทาง ผิวหนัง) ที่มีน้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม โดยสัมผัสสาร ติดต่อกันเป็นเวลา 24 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า แล้วมีการตาย เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง 
(3) สารที่มีค่า LC50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 200 ส่วนในล้านส่วน โดยปริมาตรสาหรับก๊าซหรือไอ หรือน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร สาหรับละออง ฟูม หรือฝุ่น เมื่อทดสอบใน หนูขาว(ทางการหายใจ) ที่มีน้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม โดยสูดดมสารอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 1 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า แล้วมีการตายเกิดขึ้นภายใน 1 ชั่วโมง 
ทั้งนี้ LD50 หมายถึง ปริมาณของสารที่ให้กับสัตว์ ทดลองทั้งหมดเพียงครั้งเดียว แล้วทาให้สัตว์ทดลองตายลงร้อย ละ 50
7 
ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) 
ลาดับที่ 
โครงการหรือกิจกรรม 
ขนาด 
(2) สารที่มีค่า LD50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 200 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัมของน้าหนักตัว เมื่อทดสอบในกระต่ายขาว (ทาง ผิวหนัง) ที่มีน้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม โดยสัมผัสสาร ติดต่อกันเป็นเวลา 24 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า แล้วมีการตาย เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง 
(3) สารที่มีค่า LC50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 200 ส่วนในล้านส่วน โดยปริมาตรสาหรับก๊าซหรือไอ หรือน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร สาหรับละออง ฟูม หรือฝุ่น เมื่อทดสอบใน หนูขาว(ทางการหายใจ) ที่มีน้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม โดยสูดดมสารอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 1 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า แล้วมีการตายเกิดขึ้นภายใน 1 ชั่วโมง 
ทั้งนี้ LD50 หมายถึง ปริมาณของสารที่ให้กับสัตว์ ทดลองทั้งหมดเพียงครั้งเดียว แล้วทาให้สัตว์ทดลองตายลงร้อย ละ 50
8 
ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) 
ลาดับที่ 
โครงการหรือกิจกรรม 
ขนาด 
ค่า LC50 หมายถึง ค่าความเข้มข้นของสารในอากาศ หรือในน้าที่ทาให้สัตว์ทดลองตายลงร้อยละ 50 
5 
นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย หรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกันกับ นิคมอุตสาหกรรม ซึ่งจัดตั้งเพื่อรองรับอุตสาหกรรมผลิตเหล็ก ขั้นต้นหรืออุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นหรือขั้นกลางขนาด เกินกว่าที่กาหนดไว้ในโครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 3 หรือ ลาดับที่ 4 แล้วแต่กรณี 
ทุกขนาด 
6 
โรงงานฝังกลบของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม หรือเตาเผาที่ จัดสร้างเพื่อกาจัดของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม 
ทุกขนาด 
7 
โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ยกเว้นก๊าซ ธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติสังเคราะห์ 
มีกาลังผลิตไฟฟ้า ตั้งแต่ 100 เมกะวัตต์ ขึ้นไป 
8 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 
ทุกขนาด 
ที่มา: ราชกิจจานุเบกษา (2555)
9 
2. คาวิเคราะห์องค์ประกอบของกฎหมายรัฐธรรมนูญ 
2.1 การทารายงาน EIA 
จุดประสงค์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 67 นั้นมีเจตนาที่จะ ให้สิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามที่รัฐธรรมนูญฉบับนี้รับรองไว้ ซึ่งจะมีสภาพบังคับได้ทันที ที่รัฐธรรมนูญประกาศให้มีผลใช้บังคับ โดยไม่ต้องรอให้มีการบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้องขึ้นมาใช้ บังคับก่อน โดยถ้าปรากฏว่ามีการดาเนินโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ อย่างรุนแรงต่อชุมชน ทั้งด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพต่อบุคคลหรือ ชุมชน บุคคลหรือชุมชนย่อมมีสิทธิฟ้องต่อศาลปกครองได้ ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 วรรคสาม เพื่อขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่ดาเนินโครงการ หรือกิจการนั้นจัดให้มีการศึกษาและประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน การจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หรือการให้องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ และสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ หรือด้านสุขภาพให้ความเห็น ก่อนดาเนินโครงการหรือกิจการได้ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 67 วรรคสอง 
2.2 การจัดทารายงาน EHIA 
EHIA มาจากตัวย่อของ EIA และ HIA ซึ่งเป็นการศึกษาถึงผลกระทบของสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ ซึ่ง HIA จะเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาผลกระทบใน EIA โดย EIA เป็นตัวย่อมาจาก Environmental Impact Assessment ซึ่งหมายถึง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมี ต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อ สภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจ นาไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อ สุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อ สภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจ นาไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง
10 
สาหรับประเทศไทยได้ประกาศใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นทางการฉบับแรก คือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518 ซึ่งในปีในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกฎหมายสิ่งแวดล้อมออกเป็น พระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ในส่วนของการทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และกฎหมายฉบับดังกล่าวได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์แก่ผู้รักษาการ (แต่ยังมิได้ระบุไว้ในมาตรา โดยตรง) วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องนาเสนอพร้อมรายงานฯ เพิ่มเติมโดยที่ รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้ระบุไว้ชัดในมาตราที่ 56 โดยมีประเด็นหลักที่สาคัญ คือ โครงการ พัฒนาใด ๆ ก็ตามที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตชุมชน จะไม่ได้รับอนุญาตให้ ดาเนินกิจการใด ๆ หากไม่มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อน ดังนั้น จากกฎหมายหลักฉบับนี้ ของไทย ทาให้กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว 
2.3 การประชาพิจารณ์ 
การประชาพิจารณ์เป็นการให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ผลกระทบต่อชีวิตและปัญหาสาคัญของประชาชน โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงได้มี โอกาสรับทราบข้อมูลโดยละเอียด แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลต่อโครงการ หรือนโยบายนั้น ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ตาม ทาให้ทราบเกี่ยวกับร่างกฎหมายที่จะเสนอ เพื่อให้เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ เป็นการกาหนดสภาพของปัญหาและประเด็นที่จะทาการพิจารณา การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทาบันทึก การคัดเลือกบุคคลผู้ชี้แจงให้ประชาชนโดยทั่วไปทราบถึง โครงการ รวมไปถึงข้อกาหนดรูปแบบการประชาพิจารณ์ในกระบวนการดาเนินการตามนโยบาย และวิธีการจัดการประชาพิจารณ์ในสถานการณ์ต่างๆ 
2.4 การขออนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 
คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีบทบาทสาคัญเกี่ยวกับการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือที่มักเรียกกันว่า EIA ย่อมาจากคาว่า Environmental Impact Assessment ซึ่งในการจัดทารายงาน EIA จะต้องมีการขออนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ เพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นประกอบในกรณีที่โครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการร่วมกับเอกชนต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ในการ
11 
จัดทาหนังสือนาส่งโดยกล่าวถึงเหตุผลที่จะต้องนาเรื่องดังกล่าวเสนอต่อคณะกรรมการฯ เรื่องที่ เสนอต่อคณะกรรมการฯ ถือเป็นเรื่องนโยบายและรัฐมนตรีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง จะต้องเป็นผู้เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาในที่ประชุม 
3. อธิบายแต่ละองค์ประกอบ 
3.1 EIA 
EIA (Environmental Impact Assessment) คือ การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็น การศึกษาเพื่อคาดการณ์ผลกระทบทั้งในทางบวกและทางลบจากการพัฒนาโครงการหรือกิจการที่ สาคัญ เพื่อกาหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและใช้ในการประกอบการ ตัดสินใจพัฒนาโครงการหรือกิจการ ซึ่งโครงการคอนโดฯที่ต้องทาจะเป็นคอนโดฯที่มีจานวน ยูนิ ตห้องชุดตั้งแต่ 80 ยูนิตขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป ส่วนบ้านจัดสรรที่ มีจานวนที่ดินแปลงย่อยตั้งแต่ 500 แปลง หรือเนื้อที่เกินกว่า 100 ไร่ โดยผลการศึกษา จัดทาเป็น เอกสาร เรียกว่า "รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม" [Environmental Impact Assessment (EIA) Report] เป็นเอกสารที่ต้องทาตามกฏหมายภายใต้ พรบ. ส่งเสริมและ รักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 
เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ใช้เพื่อจาแนกและคาดคะเนผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก โครงการ /กิจกรรม ตลอดจนเสนอแนะมารตการในการแก้ไขผลกระทบ (Mitigation Measure) และแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม (Monitoring Plane) ทั้งในระหว่างการก่อสร้าง และดาเนินโครงการ
12 
3.1.1 องค์ประกอบของ EIA 
การจัดทา EIA ประกอบด้วย การศึกษาครอบคลุมระบบสิ่งแวดล้อม 4 ด้าน คือ 1. ทรัพยากรกายภาพ เป็นการศึกษาถึงผลกระทบ เช่น ดิน น้า อากาศ เสียง ว่าจะมี การเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร 2. ทรัพยากรชีวภาพ การศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ที่มีต่อระบบนิเวศน์ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้า ปะการัง เป็นต้น 3. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ เป็นการศึกษาถึงการใช้ประโยชน์จากทรัพยาการ ทั้งทางกายภาพ และชีวภาพของมนุษย์ เช่น การใช้ประโยชน์ที่ดิน 4. คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต ซึ่งจะเป็นการศึกษาถึงผลกระทบที่จะเกิดต่อมนุษย์ ชุมชน ระบบเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม รวมถึงทัศนียภาพ คุณค่า ความสวยงาม
13 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
1 
1.1 การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่โครงการเหมืองแร่ ดังต่อไปนี้ 
1.1.1 เหมืองแร่ถ่านหิน 
1.1.2 เหมืองแร่โพแทช 
1.1.3 เหมืองแร่เกลือหิน 
1.1.4 เหมืองแร่หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมปูนซิเมนต์ 
1.1.5 เหมืองแร่โลหะทุกชนิด 
1.2 โครงการเหมืองแร่ใต้ดิน 
1.3 โครงการเหมืองแร่ทุกชนิดที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ดังต่อไปนี้ 
1.3.1 พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้าชั้น 1 ตามมติคณะรัฐมนตรี 
1.3.2 ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติมตามมติคณะรัฐมนตรี 
1.3.3 พื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญระหว่างประเทศ 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร
14 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
1.3.4 พื้นที่ที่อยู่ใกล้โบราณสถานแหล่งโบราณคดี แหล่ง ประวัติศาสตร์หรืออุทยานประวัติศาสตร์ตามกฎหมายว่าด้วย โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติ แหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตาม อนุสัญญาระหว่างประเทศ ในระยะทาง 2กิโลเมตร 
1.4 โครงการเหมืองแร่ที่มีการใช้วัตถุระเบิด 
1.5 โครงการเหมืองแร่ชนิดอื่นๆตามกฎหมายว่าด้วยแร่ ยกเว้น ตามข้อ 1.1 ข้อ 1.2 ข้อ 1.3 และข้อ 1.4 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 
ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 
2 
การพัฒนาปิโตรเลียม 
2.1 การสารวจปิโตรเลียม โดยวิธีการเจาะสารวจ 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นตอนการขอรับความเห็น ชอบจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบหรือ หน่วยงานผู้อนุญาตตามกฎหมายว่าด้วย ปิโตรเลียม
15 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
2.2 การผลิตปิโตรเลียม 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นตอนการขอรับความเห็น ชอบจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบหรือ หน่วยงานผู้อนุญาตตามกฎหมายว่าด้วย ปิโตรเลียม 
3 
โครงการระบบขนส่งปิโตรเลียมและน้ามันเชื้อเพลิงทางท่อ 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขอใบอนุญาตหรือขั้นขอรับ ความเห็นชอบจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบ 
4 
นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม หรือ โครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมหรือโครงการ จัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ 
อนุญาตโครงการ 
5 
อุตสาหกรรมปิโตรเลียมที่มีกระบวนการผลิตทางเคมี 
ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่100 ตัน ต่อวัน ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
6 
อุตสาหกรรมกลั่นน้ามันปิโตรเลียม 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี
16 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
7 
อุตสาหกรรมแยกหรือแปรสภาพก๊าซธรรมชาติ 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
8 
อุตสาหกรรมคลอ – แอลคาไลน์ (Chlor -alkaline industry) ที่ใช้ โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เป็นวัตถุดิบในการผลิตโซเดียม คาร์บอเนต (Na2CO3) โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) กรด ไฮโดรคลอริก (HCl) คลอรีน (Cl2) โซเดียมไฮโพคลอไรด์ (NaOCl) และปูนคลอรีน (Bleaching Powder) 
ที่มีกาลังผลิตสารดังกล่าว แต่ละ ชนิดหรือรวมกัน ตั้งแต่ 100 ตัน ต่อวัน ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
9 
อุตสาหกรรมผลิตปูนซิเมนต์ 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
10 
อุตสาหกรรมผลิตเยื่อกระดาษ ที่มีกาลังผลิต 
ตั้งแต่ 50 ตันต่อวัน ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี
17 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
11 
อุตสาหกรรมที่ผลิตสารออกฤทธิ์หรือสารที่ใช้ป้องกันหรือกาจัด ศัตรูพืชหรือสัตว์โดยใช้กระบวนการทางเคมี 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
12 
อุตสาหกรรมผลิตปุ๋ยเคมีโดยกระบวนการทางเคมี 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
13 
อุตสาหกรรมประกอบกิจการเกี่ยวกับน้าตาลดังต่อไปนี้ 
13.1 การทาน้าตาลทรายดิบ น้าตาลทรายขาว น้าตาลทรายขาว บริสุทธิ์ 
13.2 การทากลูโคส เดกซ์โทรสฟรักโทส หรือผลิตภัณฑ์อื่นที่ คล้ายคลึงกัน 
ทุกขนาด 
ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 20 ตันต่อวัน ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี
18 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
14 
อุตสาหกรรมเหล็ก หรือเหล็กกล้า 
ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวัน ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
15 
อุตสาหกรรมถลุงหรือแต่งแร่ หรือหลอมโลหะซึ่งมิใช่ อุตสาหกรรมเหล็กหรือเหล็กกล้า 
ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวัน ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
16 
อุตสาหกรรมผลิตสุราแอลกอฮอล์ รวมทั้งผลิตเบียร์และไวน์ 
16.1 อุตสาหกรรมผลิตสุรา แอลกอฮอล์ 
16.2 อุตสาหกรรมผลิตไวน์ 
ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 40,000 ลิตร ต่อเดือน(คิดเทียบที่ 28 ดีกรี) 
ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 600,000 ลิตรต่อเดือน 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี
19 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
16.3 อุตสาหกรรมผลิตเบียร์ 
ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 600,00 ลิตรต่อเดือน 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
17 
โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้ แล้วตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
18 
โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 
ที่มีกาลังผลิตกระแสไฟฟ้าตั้งแต่ 10 เมกะวัตต์ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 
19 
ระบบทางพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษ หรือโครงการ ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับทางพิเศษ 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ
20 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
20 
ทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทาง หลวง ที่ตัดผ่านพื้นที่ดังต่อไปนี้ 
20.1 พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าตาม กฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า 
20.2 พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยาน แห่งชาติ 
20.3 พื้นที่เขตลุ่มน้าชั้น 2 ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแล้ว 
20.4 พื้นที่เขตป่าชายเลนที่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ 
20.5 พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตร ห่างจากระดับน้าทะเล ขึ้นสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ 
20.6 พื้นที่ที่อยู่ในหรือใกล้พื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญระหว่าง ประเทศ หรือแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตาม อนุสัญญาระหว่างประเทศในระยะทาง 2 กิโลเมตร 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ
21 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
20.7 พื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่ง ประวัติศาสตร์ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ตามกฎหมายว่าด้วย โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติ ในระยะทาง 2 กิโลเมตร 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
21 
ระบบขนส่งมวลชนที่ใช้ราง 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
22 
ท่าเทียบเรือ 
รับเรือขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอส หรือความยาวหน้าท่า ตั้งแต่ 100 เมตรหรือมีพื้นที่ท่าเทียบเรือ 
รวมตั้งแต่ 1,000ตารางเมตร ขึ้น ไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
23 
ท่าเทียบเรือสาราญกีฬา 
ที่รองรับเรือได้ตั้งแต่50ลา หรือ 1,000ตารางเมตร ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ
22 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
24 
การถมที่ดินในทะเล 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
25 
การก่อสร้างหรือขยายสิ่งก่อสร้างบริเวณหรือในทะเล 
25.1 กาแพงริมชายฝั่ง ติดแนวชายฝั่ง 
25.2 รอดักทราย เขื่อนกันทรายและคลื่นรอบังคับกระแสน้า 
25.3 แนวเขื่อนกันคลื่นนอกฝั่งทะเล 
ความยาวตั้งแต่ 200 เมตร ขึ้นไป 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
26 
โครงการระบบขนส่งทางอากาศ 
26.1 ก่อสร้างหรือขยายสนามบินหรือที่ขึ้นลงชั่วคราว เพื่อการ พาณิชย์ 
26.2 สนามบินน้า 
ที่มีขนาดความยาวของทางวิ่ง ตั้งแต่1,100 เมตร 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตจัดตั้งหรือขอ อนุญาตขึ้น-ลงอากาศยาน
23 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
27 
อาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารซึ่งมีลักษณะที่ตั้ง หรือการใช้ประโยชน์ในอาคารอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ 
27.1 อาคารที่ตั้งริมแม่น้า ฝั่งทะเล ทะเลสาบหรือชายหาด หรือที่ อยู่ใกล้หรือในอุทยานแห่งชาติ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ ซึ่ง เป็นบริเวณที่อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม 
27.2 อาคารที่ใช้ในการประกอบธุรกิจค้าปลีกหรือค้าส่ง 
ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตร ขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือ ชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน 
ตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตร ขึ้นไป ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตร ขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือ ชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น
24 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
27.3 อาคารที่ใช้เป็นสานักงานหรือที่ทาการของเอกชน 
ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้น หรือ ชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 10,000 ตาราง 
เมตร ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น 
28 
การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการพาณิชย์ ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน 
จานวนที่ดินแปลงย่อยตั้งแต่ 500 แปลง หรือเนื้อที่เกินกว่า 100 ไร่ 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตจัดสรรที่ดินตาม กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน
25 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
29 
โรงพยาบาลหรืสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล 
29.1 กรณีตั้งอยู่ใกล้แม่น้า ฝั่งทะเล ทะเลสาบ 
หรือชายหาด ในระยะ 50 เมตร 
29.2 กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ 29.1 
ที่มีเตียงสาหรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ตั้งแต่ 30 เตียงขึ้นไป 
ที่เตียงสาหรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ตั้งแต่ 60 เตียง ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น
26 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
30 
โรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศตามกฎหมาย 
ว่าด้วยโรงแรม 
ที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้อง ขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น 
31 
อาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมายว่าด้วยการ 
ควบคุมอาคาร 
ที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่80 ห้อง ขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้สอย ตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น
27 
ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) 
ลาดับ 
ประเภทโครงการหรือกิจการ 
ขนาด 
หลักเกณฑ์ วิธีการ 
ระเบียบปฏิบัติ 
32 
การชลประทาน 
ที่มีพื้นที่การชลประทานตั้งแต่ 80,000 ไร่ ขึ้นไป 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ 
อนุญาตโครงการ 
33 
โครงการทุกประเภทที่อยู่ในพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เห็นชอบกาหนดให้เป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้าชั้น 1 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ 
อนุญาตโครงการ 
34 
การผันน้าข้ามลุ่มน้า ดังต่อไปนี้ 
34.1 การผันน้าข้ามลุ่มน้าหลัก ยกเว้นกรณีภัยพิบัติ หรือมี ผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ที่เป็นการดาเนินการ ชั่วคราว 
34.2 การผันน้าระหว่างประเทศ ยกเว้นกรณีภัยพิบัติ หรือมี ผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ที่เป็นการดาเนินการ ชั่วคราว 
ทุกขนาด 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ 
อนุญาตโครงการ 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ 
อนุญาตโครงการ 
35 
ประตูระบายน้าในแม่น้าสายหลัก 
ทุกขนาด 
ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ 
อนุญาตโครงการ 
ที่มา: ราชกิจจานุเบกษา (2555)
28 
3.2 EHIA 
EHIA คือ แนวทางการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (Environmental Health Impact Assessment: EHIA) เนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10 ซึ่งเป็นแผนหลักของประเทศไทยได้กาหนดให้มีการประเมินผลกระทบทาง สุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้งในแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมก็ ได้ให้ความสาคัญในเรื่องของการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และพระราชบัญญัติสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2550 ได้กาหนดในมาตรา 11 ว่า “บุคคล หรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบ ด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ” และ “บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คาชี้แจง และ เหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ ก่อนการอนุญาตหรือการดาเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมี ผลกระทบต่อสุขภาพของตนหรือของชุมชนและแสดงความเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว” 
ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งมีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2550 ได้ระบุในมาตรา 67 โดยเฉพาะวรรคสอง ว่า “การดาเนิน โครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร ธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผล กระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการ ดาเนินการดังกล่าว” 
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงได้ออกประกาศ เพื่อกาหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เพื่อให้การเป็นไปตามบัญญัติ มาตรา 67 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 ซึ่งมีทั้งหมด 11 ประเภทโครงการ
29 
ตารางที่ 3 โครงการที่จะต้องจัดทารายงาน EHIA 
ที่มา: สานักวิชาการ องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (2555) 
3.2.1 โครงการที่จะต้องจัดทารายงาน EHIA 
ลาดับ 
ประเภท 
ขนาด 
1 
การถมทะเล หรือทะเลสาบฯ 
ตั้งแต่ 300 ไร่ขึ้นไป 
2 
การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ 
ขึ้นอยู่กับประเภทเหมืองแร่ 
3 
นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคม อุตสาหกรรม หรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับ นิคมอุตสาหกรรม 
ทุกขนาด 
4 
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง 
ขึ้นอยู่กับประเภทและ วัตถุดิบที่เป็นสารเคมี 
5 
อุตสาหกรรมถลุงแร่ หรือหลอมโลหะ 
ขึ้นอยู่กับประเภทแร่และ โลหะ 
6 
การผลิต กาจัด หรือปรับแต่งสารกัมมันตรังสี 
ทุกขนาด 
7 
โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม หรือโรงงาน ประกอบกิจการเกี่ยวกับการฝังกลบสิ่งปฏิกูลฯ หรือ การเผาของเสียอันตรายฯ 
ทุกขนาด 
8 
โครงการระบบขนส่งทางอากาศ 
ทางวิ่งของอากาศยานตั้งแต่ 3,000 เมตรขึ้นไป 
9 
ท่าเทียบเรือ 
ขึ้นอยู่กับความยาวหน้าท่า พื้นที่การขุดลอกร่องน้า 
10 
เขื่อนเก็บกักน้า 
ปริมาณเก็บกักตั้งแต่ 100 ลบ.ม. หรือพื้นที่กักเก็บ ตั้งแต่ 15 ตร.กม. ขึ้นไป 
11 
โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 
ขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อเพลิง
30 
3.2.2 ขอบเขตของการศึกษา EHIA 
ภาพที่ 3 ขอบเขตของการศึกษา EHIA 
ที่มา: สานักวิชาการ องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (2555: 2) 
ในการกาหนดขอบเขตการศึกษา ควรพิจารณาโอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ โดย พิจารณาจากปัจจัย ดังนี้ 
1. สิ่งคุกคามสุขภาพ 
2. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 
3. ปัจจัยต่อการรับสัมผัส 
4. ลักษณะผลกระทบต่อสุขภาพ 
5. ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ 
6. ผลกระทบต่อสังคมและชีวิตความเป็นอยู่
31 
3.2.3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 
ภาพที่ 4 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 
ที่มา: สานักวิชาการ องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (2555 : 3)
32 
3.3 การทาประชาพิจารณ์ 
คาว่า ประชาพิจารณ์ ประกอบด้วยคาว่า ประชา หมายถึง ประชาชน กับคาว่า พิจารณ์ ซึ่ง หมายถึง พิจารณา ตรวจตรา สอบสวน ให้ความคิดเห็น 
ประชาพิจารณ์ หมายถึง รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่มีผลกระทบชีวิตของ ประชาชนทุกคน การทาประชาพิจารณ์ควรจัดให้ได้รับความคิดเห็นจากประชาชนทุกหมู่เหล่า และ ทาในวงกว้างเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่สะท้อนความคิดเห็นจากประชาชนอย่างแท้จริง ก่อนที่จะตัดสินใจ ดาเนินการใดๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีผลต่อประชาชนจานวนมาก การประชาพิจารณ์เป็นกระบวนการที่ รัฐเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นในปัญหาสาคัญของชาติที่มีข้อให้เกี่ยวข้องหลาย ฝ่าย โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงได้มีโอกาสรับทราบข้อมูลโดยละเอียด แสดงความ คิดเห็นและมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลต่อโครงการหรือนโยบายนั้น ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่เห็น ด้วยก็ตาม รวมทั้งการทาประชาพิจารณ์เป็นการดาเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่าง เป็นทางการ ตามระเบียบสานักนายกฯ จึงจาเป็นต้องมีการแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์ มี การประกาศ เชิญชวนให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมประชาพิจารณ์ มีการลงทะเบียนเพื่อการเข้า ร่วมประชาพิจาร 
3.3.1 วัตถุประสงค์ในการทาประชาพิจารณ์ 
การประชาพิจารณ์เป็นที่เปิดโอกาสสาหรับบุคคลผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการของ รัฐได้แสดงความคิดเห็นในส่วนที่เกี่ยวกับโครงการดังกล่าว โดยอาจจะใช้การพิจารณาเป็นการ ประชุมหารืออย่างเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับผิดชอบต่อการดาเนินโครงการ และ กลุ่มผลประโยชน์ หรือบุคคลผู้มีส่วนได้เสียจากโครงการดังกล่าว หน่วยงานของรัฐไม่จาเป็นต้อง ได้รับอานาจพิเศษตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายในการจัดประชาพิจารณ์ โดยถือเป็นเรื่องที่ปกติ และเป็นการเหมาะสมที่รัฐบาลจะปรึกษาประชาชนก่อนการเนินการที่สาคัญ ประชาพิจารณ์ไม่ใช่ การดาเนินคดีที่ประกอบไปด้วยโจทย์ และจาเลย แม้ว่าในกระบวนการประชาพิจารณ์ผู้เข้าร่วมอาจ ได้รับอนุญาตให้ส่งหนังสือหรือเอกสารแก่ส่วนราชการ กระบวนการจะเป็นไปตามที่ส่วนราชการ เห็นสมควร และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ตัดสินใจดาเนินการตามดุลยพินิจของตน แม้ว่าบุคคลในกระบวนการประชาพิจารณ์ไม่เห็นด้วยเป็นจานวนเท่าใดก็ตาม ประชาพิจารณ์จัดทา ขึ้นเพื่อจุดประสงค์ดังต่อไปนี้
33 
1. เพื่อให้การตัดสินใจของรัฐสอดคล้องกับประโยชน์ 
2. เพื่อลดความขัดแย้งจากการตัดสินใจของรัฐ 
3. เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเพียงพอแก่ประชาชน 
4. เพื่อเป็นทางเลือกในการมีส่วนรวมของประชาชนต่อการตัดสินใจของรัฐ 
5. เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด 
การประชาพิจารณ์เกี่ยวกับร่างกฎหมายที่จะเสนอเพื่อให้เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ นั้น โดย กระบวนการมีขั้นตอนดังนี้ 
1. ขั้นแรก การกาหนดสภาพของปัญหาและประเด็นที่จะทาการพิจารณา คณะกรรมาธิการแต่ละคณะมีคณะทางานซึ่งมีประสบการณ์ เฉพาะด้าน และประกอบด้วยนัก กฎหมายจานวนหนึ่ง คณะทางานจะรวบรวมผลการศึกษา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และจัด ให้มีการสอบถามอย่างไม่เป็นทางการไปยังผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นประธานคณะกรรมาธิการ และ สมาชิกกรรมาธิการในคณะจะพิจารณาว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องใดบ้างที่ต้องเชิญให้เข้าร่วมการพิจารณ์ 
2. ขั้นที่สอง การคัดเลือกบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ 
ประการแรก คือการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทาบันทึก บันทึกข้อมูลนี้จะมอบให้กับสมาชิก นิติบัญญัติในขณะพิจารณาร่างกฎหมาย และจะเปิดเผยต่อสาธารณชนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของ ประวัติร่างกฎหมายที่ผ่านการพิจารณา 
ประการที่สอง การคัดเลือกบุคคลผู้ชี้แจง คือ การสร้างแรงสนับสนุนทางการเมืองใน การผ่านร่างกฎหมาย วัตถุประสงค์นี้สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ในการทาให้ประชาชนโดยทั่วไป ทราบถึงโครงการ และการได้รับความไว้วางใจของประชาชน เพื่อให้ผู้สังเกตการณ์มองว่า คณะกรรมาธิการดาเนินการอย่างยุติธรรม 
3. ขั้นที่สาม ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ ประธานคณะกรรมาธิการจะทาหน้าที่ ประธาน และกรรมาธิการอื่นซึ่งเป็นสมาชิกนิติบัญญัติจากพรรคการเมืองจะปรากฏตัวหลังแท่นเวที โดยมีคณะทางานอยู่เบื้องหลังเพื่อให้ความช่วยเหลือในการประชาพิจารณ์ บุคคลที่ได้รับเชิญจะยื่น หนังสือหรือเอกสาร และจะนาเสนอข้อมูลดังกล่าวโดยสรุปด้วยวาจา กรรมธิการจะสอบถามเพื่อ ความกระจ่างของข้อมูล หรือเพื่อความชัดเจนในประเด็นที่มีความสาคัญ หรือเพื่อโต้แย้งและแสดง ความไม่เห็นด้วยกับผู้ได้รับเชิญ โดยคณะทางานมักเตรียมคาถามให้สมาชิกนิติบัญญัติเป็นการ ล่วงหน้า ตามปกติบุคคลที่ได้รับผลประโยชน์จะนั่งสังเกตการณ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุม
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.
Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.

More Related Content

Similar to Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.

Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
Green industry the pathway through sustainability
Green industry the pathway through sustainabilityGreen industry the pathway through sustainability
Green industry the pathway through sustainabilityJesika Lee
 
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมChacrit Sitdhiwej
 
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมChacrit Sitdhiwej
 
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1teeclub
 
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010chorchamp
 
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)Orawan Siripun
 
Presentation-Bio_Digester_14-1-2563.pdf
Presentation-Bio_Digester_14-1-2563.pdfPresentation-Bio_Digester_14-1-2563.pdf
Presentation-Bio_Digester_14-1-2563.pdfssuser66ef311
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมAraya Toonton
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmpkhunrit
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmpkhunrit
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมาT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมาAuraphin Phetraksa
 
1-Day Training in Green Industry for the Sustainable Development
1-Day Training in Green Industry for the Sustainable Development1-Day Training in Green Industry for the Sustainable Development
1-Day Training in Green Industry for the Sustainable DevelopmentSatid Therdkiattikul
 
บจ.ไฟเบอร์พัฒน์
บจ.ไฟเบอร์พัฒน์ บจ.ไฟเบอร์พัฒน์
บจ.ไฟเบอร์พัฒน์ EariZe' Hcu
 

Similar to Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67. (18)

Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
Green industry the pathway through sustainability
Green industry the pathway through sustainabilityGreen industry the pathway through sustainability
Green industry the pathway through sustainability
 
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable BusinessONEP-Low Carbon and Sustainable Business
ONEP-Low Carbon and Sustainable Business
 
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมการป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
การป้องกันหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
 
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดจากอุตสาหกรรมปิโตรเลียม
 
รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1รูปเล่ม งานEma 1
รูปเล่ม งานEma 1
 
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
 
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการต่างประเทศ (NSSMC)
 
Presentation-Bio_Digester_14-1-2563.pdf
Presentation-Bio_Digester_14-1-2563.pdfPresentation-Bio_Digester_14-1-2563.pdf
Presentation-Bio_Digester_14-1-2563.pdf
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmp
 
Presentation gmp
Presentation gmpPresentation gmp
Presentation gmp
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมาT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดนครราชสีมา
 
1-Day Training in Green Industry for the Sustainable Development
1-Day Training in Green Industry for the Sustainable Development1-Day Training in Green Industry for the Sustainable Development
1-Day Training in Green Industry for the Sustainable Development
 
บจ.ไฟเบอร์พัฒน์
บจ.ไฟเบอร์พัฒน์ บจ.ไฟเบอร์พัฒน์
บจ.ไฟเบอร์พัฒน์
 

Study the Constitution of the Kingdom of Thailand, BE 2550, Section 67.

  • 1. รายงาน กรณีศึกษารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 67 (ด้านอุตสาหกรรม) ของบริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน) เสนอ ผศ.พัชนิจ เนาวพันธ์ จัดทาโดย 5430160156 น.ส.ชนิดา ท้าวภุชฌงค์ R12 หมู่เรียน 850 5430160334 นายธนกร ลิจันทร์พร R12 หมู่เรียน 850 5430160342 นายธนภัทร สิทธิ์สิริโสภา R12 หมู่เรียน 850 5430160474 น.ส.นวพร วรานันตกุล R12 หมู่เรียน 850 5430160610 น.ส.ภัสราภรณ์ สังข์สอาด R12 หมู่เรียน 850 รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชาการการบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม รหัสวิชา 03760443 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 สาขาการบัญชีบริหาร คณะวิทยาการจัดการ
  • 2. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งในรายวิชา การบัญชีเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management Accounting) จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญมาตรา 67 เกี่ยวกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมและรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยได้ ยกตัวอย่างสถานประกอบการ คือ บริษัท เบตเตอร์เวิลด์ กรีน จากัด เกี่ยวกับการรับผิดชอบจัดการ สภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของบริษัท พร้อมทั้งได้เรียนรู้การดาเนินการแก้ไข สิ่งที่ ส่งผลกระทบต่อสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ค่าใช้จ่ายภายในบริษัทด้วย เพื่อทุกท่านจะได้ทราบถึง กรอบงาน ปัจจัยที่ทาให้องค์กรประสบความสาเร็จและนามาปรับใช้ในการทางานต่อไป รายงานเล่มนี้ได้รวบรวมองค์ความรู้การจัดการสิ่งแวดล้อมในสถานประกอบการไว้ส่วน หนึ่ง ทั้งเนื้อหาข่าว การวิเคราะห์พร้อมทั้งแนวคิดต่างๆ ทางผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะเป็น ประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจ หากเกิดข้อผิดพลาดประการใด ทางผู้จัดทาต้องขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 3. (1) สารบัญ หน้า สารบัญตาราง (4) สารบัญภาพ (5) 1. กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 1 1.1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือ กิจกรรมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ 2 2. คาวิเคราะห์องค์ประกอบของกฎหมายรัฐธรรมนูญ 9 2.1 การจัดทารายงาน EIA 9 2.2 การจัดทารายงาน EHIA 9 2.3 การประชาพิจารณ์ 10 2.4 การขออนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 10 3. อธิบายแต่ละองค์ประกอบ 11 3.1 EIA 11 3.1.1 องค์ประกอบของ EIA 12 3.2 EHIA 28 3.2.1 โครงการที่จะต้องจัดทารายงาน EHIA 29 3.2.2 ขอบเขตของการศึกษา EHIA 30 3.2.3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 31
  • 4. (2) สารบัญ (ต่อ) หน้า 3.3 การทาประชาพิจารณ์ 32 3.3.1 วัตถุประสงค์ในการทาประชาพิจารณ์ 32 3.3.2 การประชาพิจารณ์ในขั้นตอนการปฏิบัติตามนโยบาย 34 3.4 การขออนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 36 3.4.1 การจัดทาเรื่องเสนอและการจัดทาหนังสือนาส่ง 38 4. การจัดทาบัญชีที่เกี่ยวข้อง 39 4.1 ผลกระทบต่อ สินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ ต้นทุน และค่าใช้จ่าย ขององค์การ 39 4.2 การดาเนินการทางบัญชีตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 39 5. ตัวอย่างกิจการ 40 5.1 ข้อมูลของกิจการ (บริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน)) 40 5.1.2 ปรัชญาและวิสัยทัศน์ 41 5.1.3 นโยบายคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย 42 5.1.4 การบริหารจัดการ “ขยะอุตสาหกรรม / กากอุตสาหกรรม 43 5.1.5 ระบบฝังกลบ 43 5.1.6 ระบบบาบัดน้าเสีย 45 5.1.7 ระบบการปรับปรุงคุณภาพ 46 5.1.8 ระบบเผาทาลาย 47 5.1.9 มาตรฐานการรับรองในระดับสากล 48 5.1.10 การปฏิบัติตามรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 49
  • 5. (3) สารบัญ (ต่อ) หน้า 5.2 ข้อพิพาทภายในกิจการ 50 5.3 ผลกระทบของกิจการ 53 5.4 ผลกระทบต่อการจัดการบัญชี 53
  • 6. (4) สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือ กิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ ต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 3 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA 13 3 โครงการที่จะต้องจัดทารายงาน EHIA 29 4 รางวัลที่กิจการได้รับจากการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม 48
  • 7. (5) สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 1 2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยว กับอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ 2 3 ขอบเขตการศึกษา EHIA 30 4 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA 31 5 ขั้นตอนการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 36 6 ขั้นตอนการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และคณะรัฐมนตรี 37 7 รูปตัดหลุมฟังกลบกากอุตสาหกรรมไม่อันตราย 44 8 รูปตัดหลุมฟังกลบกากอุตสาหกรรมไม่อันตราย 45 9 ข้อพิพาททางกฎหมายของบริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน) 50 10 ข้อพิพาททางกฎหมายของบริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน) 51
  • 8. (6) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 11 ข้อพิพาททางกฎหมายของบริษัท เบตเตอร์ เวิลด์ กรีน จากัด (มหาชน) 52
  • 9. 1 1. กฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 67 ภาพที่ 1 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ที่มา: ราชกิจจานุเบกษา (2550: 1)
  • 10. 2 1.1 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมที่อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ ภาพที่ 2 ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมที่อาจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ที่มา: ราชกิจจานุเบกษา (2552: 54)
  • 11. 3 ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 ลาดับที่ โครงการหรือกิจกรรม ขนาด 1 การทาเหมืองใต้ดิน เฉพาะด้วยวิธีออกแบบให้โครงสร้างยุบตัว ภายหลังการทาเหมืองโดยไม่มีค้ายันและไม่มีการใส่คืนวัสดุ ทดแทนเพื่อป้องกันการยุบตัว ทุกขนาด 2 เหมืองแร่ตะกั่ว และสังกะสี ทุกขนาด 3 การถลุงแร่ 3.1 การถลุงแร่ด้วยสารละลายเคมีในชั้นดิน (In-Situ Leaching) 3.2 อุตสาหกรรมการผลิตเหล็กขั้นต้น ทุกขนาด กรณีตั้งโรงงาน กาลังการผลิตตั้งแต่ 20,000 ตันต่อวันขึ้นไป กรณีขยายโรงงาน เพิ่มกาลังการผลิตเกินกว่าร้อยละ 35 สาหรับโรงงานเดิมที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 20,000 ตันต่อวันขึ้นไป หรือเพิ่มกาลังการผลิตรวมเป็นตั้งแต่ 20,000 ตันต่อวัน ขึ้นไป
  • 12. 4 ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ลาดับที่ โครงการหรือกิจกรรม ขนาด ทั้งนี้ การตั้งหรือขยายโรงงานในโครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 5 ไม่ต้อง ดาเนินการตามประกาศนี้ในกรณีที่โครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 5 นั้น ได้ ดาเนินการตามประกาศนี้รองรับไว้ก่อนแล้ว 4 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นหรือขั้นกลางที่มีการใช้หรือผลิต สารอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่าง ดังต่อไปนี้ 4.1 สารที่ก่อให้เกิดมลสารทางอากาศที่เป็นอันตราย (Hazardous Air Pollutant) ได้แก่ (1) Asbestos (2) Benzene (3) Benzidine (4) Bis (chloromethyl) ether (5) Beryllium and beryllium compounds (6) 1,3-Butadiene กรณีตั้งโรงงาน มีการใช้หรือผลิตสารตาม 4.1 หรือ 4.2 ตั้งแต่ 1,000 ตันต่อวันขึ้นไป กรณีขยายโรงงาน เพิ่มการใช้หรือผลิตสารตาม 4.1 หรือ 4.2 รวมกันเกินกว่าร้อยละ 35 สาหรับ โรงงานเดิมที่มีการใช้หรือผลิตสารดังกล่าวตั้งแต่ 1,000 ตันต่อวันขึ้นไป หรือ เพิ่มการใช้สารตาม 4.1 หรือ 4.2 รวมเป็นตั้งแต่ 1,000 ตันต่อวันขึ้นไป ทั้งนี้ การตั้งหรือขยายโรงงานในโครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 5 ไม่ต้อง ดาเนินการตามประกาศนี้ ในกรณีที่โครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 5 นั้นได้ ดาเนินการตามประกาศนี้รองรับไว้ก่อนแล้ว
  • 13. 5 ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ลาดับที่ โครงการหรือกิจกรรม ขนาด (7) Cadmium and cadmium compounds (8) Chromium (VI) (9) Ethylene Oxide (10) Formaldehyde (11) Nickel compounds (12) Phosphorus-32 , as phosphate (13) Radionuclides (including radon) (14) Vinyl chloride 4.2 สารที่มีพิษรุนแรง (Highly Toxic) ได้แก่ (1) สารที่มีค่า LD50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 50 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัมของน้าหนักตัว เมื่อทดสอบในหนูขาว(ทางปาก) ที่มี น้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม
  • 14. 6 ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ลาดับที่ โครงการหรือกิจกรรม ขนาด (2) สารที่มีค่า LD50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 200 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัมของน้าหนักตัว เมื่อทดสอบในกระต่ายขาว (ทาง ผิวหนัง) ที่มีน้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม โดยสัมผัสสาร ติดต่อกันเป็นเวลา 24 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า แล้วมีการตาย เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง (3) สารที่มีค่า LC50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 200 ส่วนในล้านส่วน โดยปริมาตรสาหรับก๊าซหรือไอ หรือน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร สาหรับละออง ฟูม หรือฝุ่น เมื่อทดสอบใน หนูขาว(ทางการหายใจ) ที่มีน้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม โดยสูดดมสารอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 1 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า แล้วมีการตายเกิดขึ้นภายใน 1 ชั่วโมง ทั้งนี้ LD50 หมายถึง ปริมาณของสารที่ให้กับสัตว์ ทดลองทั้งหมดเพียงครั้งเดียว แล้วทาให้สัตว์ทดลองตายลงร้อย ละ 50
  • 15. 7 ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ลาดับที่ โครงการหรือกิจกรรม ขนาด (2) สารที่มีค่า LD50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 200 มิลลิกรัมต่อ กิโลกรัมของน้าหนักตัว เมื่อทดสอบในกระต่ายขาว (ทาง ผิวหนัง) ที่มีน้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม โดยสัมผัสสาร ติดต่อกันเป็นเวลา 24 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า แล้วมีการตาย เกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง (3) สารที่มีค่า LC50 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 200 ส่วนในล้านส่วน โดยปริมาตรสาหรับก๊าซหรือไอ หรือน้อยกว่าหรือเท่ากับ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร สาหรับละออง ฟูม หรือฝุ่น เมื่อทดสอบใน หนูขาว(ทางการหายใจ) ที่มีน้าหนักตัวระหว่าง 200-300 กรัม โดยสูดดมสารอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 1 ชั่วโมง หรือน้อยกว่า แล้วมีการตายเกิดขึ้นภายใน 1 ชั่วโมง ทั้งนี้ LD50 หมายถึง ปริมาณของสารที่ให้กับสัตว์ ทดลองทั้งหมดเพียงครั้งเดียว แล้วทาให้สัตว์ทดลองตายลงร้อย ละ 50
  • 16. 8 ตารางที่ 1 บัญชีท้ายประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม เรื่อง โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้ง ด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ ลงวันที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2552 (ต่อ) ลาดับที่ โครงการหรือกิจกรรม ขนาด ค่า LC50 หมายถึง ค่าความเข้มข้นของสารในอากาศ หรือในน้าที่ทาให้สัตว์ทดลองตายลงร้อยละ 50 5 นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย หรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกันกับ นิคมอุตสาหกรรม ซึ่งจัดตั้งเพื่อรองรับอุตสาหกรรมผลิตเหล็ก ขั้นต้นหรืออุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นหรือขั้นกลางขนาด เกินกว่าที่กาหนดไว้ในโครงการหรือกิจกรรมลาดับที่ 3 หรือ ลาดับที่ 4 แล้วแต่กรณี ทุกขนาด 6 โรงงานฝังกลบของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม หรือเตาเผาที่ จัดสร้างเพื่อกาจัดของเสียอันตรายจากอุตสาหกรรม ทุกขนาด 7 โรงงานผลิตพลังงานไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิงฟอสซิล ยกเว้นก๊าซ ธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติสังเคราะห์ มีกาลังผลิตไฟฟ้า ตั้งแต่ 100 เมกะวัตต์ ขึ้นไป 8 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ ทุกขนาด ที่มา: ราชกิจจานุเบกษา (2555)
  • 17. 9 2. คาวิเคราะห์องค์ประกอบของกฎหมายรัฐธรรมนูญ 2.1 การทารายงาน EIA จุดประสงค์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 67 นั้นมีเจตนาที่จะ ให้สิทธิและเสรีภาพของประชาชนตามที่รัฐธรรมนูญฉบับนี้รับรองไว้ ซึ่งจะมีสภาพบังคับได้ทันที ที่รัฐธรรมนูญประกาศให้มีผลใช้บังคับ โดยไม่ต้องรอให้มีการบัญญัติกฎหมายที่เกี่ยวข้องขึ้นมาใช้ บังคับก่อน โดยถ้าปรากฏว่ามีการดาเนินโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบ อย่างรุนแรงต่อชุมชน ทั้งด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพต่อบุคคลหรือ ชุมชน บุคคลหรือชุมชนย่อมมีสิทธิฟ้องต่อศาลปกครองได้ ตามรัฐธรรมนูญมาตรา 67 วรรคสาม เพื่อขอให้ศาลมีคาพิพากษาหรือคาสั่งให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชนที่ดาเนินโครงการ หรือกิจการนั้นจัดให้มีการศึกษาและประเมินคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชน การจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน หรือการให้องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ และสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติ หรือด้านสุขภาพให้ความเห็น ก่อนดาเนินโครงการหรือกิจการได้ตามรัฐธรรมนูญ มาตรา 67 วรรคสอง 2.2 การจัดทารายงาน EHIA EHIA มาจากตัวย่อของ EIA และ HIA ซึ่งเป็นการศึกษาถึงผลกระทบของสิ่งแวดล้อมและ สุขภาพ ซึ่ง HIA จะเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาผลกระทบใน EIA โดย EIA เป็นตัวย่อมาจาก Environmental Impact Assessment ซึ่งหมายถึง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมี ต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อ สภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจ นาไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อ สุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อ สภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจ นาไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง
  • 18. 10 สาหรับประเทศไทยได้ประกาศใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นทางการฉบับแรก คือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518 ซึ่งในปีในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกฎหมายสิ่งแวดล้อมออกเป็น พระราชบัญญัติส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ในส่วนของการทารายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และกฎหมายฉบับดังกล่าวได้มีการกาหนดหลักเกณฑ์แก่ผู้รักษาการ (แต่ยังมิได้ระบุไว้ในมาตรา โดยตรง) วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องนาเสนอพร้อมรายงานฯ เพิ่มเติมโดยที่ รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้ระบุไว้ชัดในมาตราที่ 56 โดยมีประเด็นหลักที่สาคัญ คือ โครงการ พัฒนาใด ๆ ก็ตามที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตชุมชน จะไม่ได้รับอนุญาตให้ ดาเนินกิจการใด ๆ หากไม่มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อน ดังนั้น จากกฎหมายหลักฉบับนี้ ของไทย ทาให้กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว 2.3 การประชาพิจารณ์ การประชาพิจารณ์เป็นการให้ประชาชนทุกหมู่เหล่าแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ผลกระทบต่อชีวิตและปัญหาสาคัญของประชาชน โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงได้มี โอกาสรับทราบข้อมูลโดยละเอียด แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลต่อโครงการ หรือนโยบายนั้น ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยก็ตาม ทาให้ทราบเกี่ยวกับร่างกฎหมายที่จะเสนอ เพื่อให้เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ เป็นการกาหนดสภาพของปัญหาและประเด็นที่จะทาการพิจารณา การรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทาบันทึก การคัดเลือกบุคคลผู้ชี้แจงให้ประชาชนโดยทั่วไปทราบถึง โครงการ รวมไปถึงข้อกาหนดรูปแบบการประชาพิจารณ์ในกระบวนการดาเนินการตามนโยบาย และวิธีการจัดการประชาพิจารณ์ในสถานการณ์ต่างๆ 2.4 การขออนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติมีส่วนเกี่ยวข้องหรือมีบทบาทสาคัญเกี่ยวกับการ วิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือที่มักเรียกกันว่า EIA ย่อมาจากคาว่า Environmental Impact Assessment ซึ่งในการจัดทารายงาน EIA จะต้องมีการขออนุญาตจากคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม แห่งชาติ เพื่อพิจารณาและเสนอความเห็นประกอบในกรณีที่โครงการหรือกิจการของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือโครงการร่วมกับเอกชนต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ในการ
  • 19. 11 จัดทาหนังสือนาส่งโดยกล่าวถึงเหตุผลที่จะต้องนาเรื่องดังกล่าวเสนอต่อคณะกรรมการฯ เรื่องที่ เสนอต่อคณะกรรมการฯ ถือเป็นเรื่องนโยบายและรัฐมนตรีหรือหัวหน้าส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง จะต้องเป็นผู้เสนอความเห็นประกอบการพิจารณาในที่ประชุม 3. อธิบายแต่ละองค์ประกอบ 3.1 EIA EIA (Environmental Impact Assessment) คือ การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม เป็น การศึกษาเพื่อคาดการณ์ผลกระทบทั้งในทางบวกและทางลบจากการพัฒนาโครงการหรือกิจการที่ สาคัญ เพื่อกาหนดมาตรการป้องกันและแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อมและใช้ในการประกอบการ ตัดสินใจพัฒนาโครงการหรือกิจการ ซึ่งโครงการคอนโดฯที่ต้องทาจะเป็นคอนโดฯที่มีจานวน ยูนิ ตห้องชุดตั้งแต่ 80 ยูนิตขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป ส่วนบ้านจัดสรรที่ มีจานวนที่ดินแปลงย่อยตั้งแต่ 500 แปลง หรือเนื้อที่เกินกว่า 100 ไร่ โดยผลการศึกษา จัดทาเป็น เอกสาร เรียกว่า "รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม" [Environmental Impact Assessment (EIA) Report] เป็นเอกสารที่ต้องทาตามกฏหมายภายใต้ พรบ. ส่งเสริมและ รักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ 2535 เป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่ใช้เพื่อจาแนกและคาดคะเนผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจาก โครงการ /กิจกรรม ตลอดจนเสนอแนะมารตการในการแก้ไขผลกระทบ (Mitigation Measure) และแผนการติดตามตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม (Monitoring Plane) ทั้งในระหว่างการก่อสร้าง และดาเนินโครงการ
  • 20. 12 3.1.1 องค์ประกอบของ EIA การจัดทา EIA ประกอบด้วย การศึกษาครอบคลุมระบบสิ่งแวดล้อม 4 ด้าน คือ 1. ทรัพยากรกายภาพ เป็นการศึกษาถึงผลกระทบ เช่น ดิน น้า อากาศ เสียง ว่าจะมี การเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร 2. ทรัพยากรชีวภาพ การศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ ที่มีต่อระบบนิเวศน์ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้า ปะการัง เป็นต้น 3. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์ เป็นการศึกษาถึงการใช้ประโยชน์จากทรัพยาการ ทั้งทางกายภาพ และชีวภาพของมนุษย์ เช่น การใช้ประโยชน์ที่ดิน 4. คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต ซึ่งจะเป็นการศึกษาถึงผลกระทบที่จะเกิดต่อมนุษย์ ชุมชน ระบบเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ วัฒนธรรมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม รวมถึงทัศนียภาพ คุณค่า ความสวยงาม
  • 21. 13 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 1 1.1 การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่โครงการเหมืองแร่ ดังต่อไปนี้ 1.1.1 เหมืองแร่ถ่านหิน 1.1.2 เหมืองแร่โพแทช 1.1.3 เหมืองแร่เกลือหิน 1.1.4 เหมืองแร่หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมปูนซิเมนต์ 1.1.5 เหมืองแร่โลหะทุกชนิด 1.2 โครงการเหมืองแร่ใต้ดิน 1.3 โครงการเหมืองแร่ทุกชนิดที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ดังต่อไปนี้ 1.3.1 พื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้าชั้น 1 ตามมติคณะรัฐมนตรี 1.3.2 ป่าอนุรักษ์เพิ่มเติมตามมติคณะรัฐมนตรี 1.3.3 พื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญระหว่างประเทศ ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร
  • 22. 14 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 1.3.4 พื้นที่ที่อยู่ใกล้โบราณสถานแหล่งโบราณคดี แหล่ง ประวัติศาสตร์หรืออุทยานประวัติศาสตร์ตามกฎหมายว่าด้วย โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ และพิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติ แหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตาม อนุสัญญาระหว่างประเทศ ในระยะทาง 2กิโลเมตร 1.4 โครงการเหมืองแร่ที่มีการใช้วัตถุระเบิด 1.5 โครงการเหมืองแร่ชนิดอื่นๆตามกฎหมายว่าด้วยแร่ ยกเว้น ตามข้อ 1.1 ข้อ 1.2 ข้อ 1.3 และข้อ 1.4 ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร ให้เสนอในขั้นขอประทานบัตร 2 การพัฒนาปิโตรเลียม 2.1 การสารวจปิโตรเลียม โดยวิธีการเจาะสารวจ ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นตอนการขอรับความเห็น ชอบจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบหรือ หน่วยงานผู้อนุญาตตามกฎหมายว่าด้วย ปิโตรเลียม
  • 23. 15 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 2.2 การผลิตปิโตรเลียม ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นตอนการขอรับความเห็น ชอบจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบหรือ หน่วยงานผู้อนุญาตตามกฎหมายว่าด้วย ปิโตรเลียม 3 โครงการระบบขนส่งปิโตรเลียมและน้ามันเชื้อเพลิงทางท่อ ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขอใบอนุญาตหรือขั้นขอรับ ความเห็นชอบจากหน่วยงานผู้รับผิดชอบ 4 นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม หรือ โครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับนิคมอุตสาหกรรมหรือโครงการ จัดสรรที่ดินเพื่อการอุตสาหกรรม ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ อนุญาตโครงการ 5 อุตสาหกรรมปิโตรเลียมที่มีกระบวนการผลิตทางเคมี ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่100 ตัน ต่อวัน ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 6 อุตสาหกรรมกลั่นน้ามันปิโตรเลียม ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี
  • 24. 16 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 7 อุตสาหกรรมแยกหรือแปรสภาพก๊าซธรรมชาติ ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 8 อุตสาหกรรมคลอ – แอลคาไลน์ (Chlor -alkaline industry) ที่ใช้ โซเดียมคลอไรด์ (NaCl) เป็นวัตถุดิบในการผลิตโซเดียม คาร์บอเนต (Na2CO3) โซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) กรด ไฮโดรคลอริก (HCl) คลอรีน (Cl2) โซเดียมไฮโพคลอไรด์ (NaOCl) และปูนคลอรีน (Bleaching Powder) ที่มีกาลังผลิตสารดังกล่าว แต่ละ ชนิดหรือรวมกัน ตั้งแต่ 100 ตัน ต่อวัน ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการ หรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 9 อุตสาหกรรมผลิตปูนซิเมนต์ ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 10 อุตสาหกรรมผลิตเยื่อกระดาษ ที่มีกาลังผลิต ตั้งแต่ 50 ตันต่อวัน ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี
  • 25. 17 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 11 อุตสาหกรรมที่ผลิตสารออกฤทธิ์หรือสารที่ใช้ป้องกันหรือกาจัด ศัตรูพืชหรือสัตว์โดยใช้กระบวนการทางเคมี ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 12 อุตสาหกรรมผลิตปุ๋ยเคมีโดยกระบวนการทางเคมี ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 13 อุตสาหกรรมประกอบกิจการเกี่ยวกับน้าตาลดังต่อไปนี้ 13.1 การทาน้าตาลทรายดิบ น้าตาลทรายขาว น้าตาลทรายขาว บริสุทธิ์ 13.2 การทากลูโคส เดกซ์โทรสฟรักโทส หรือผลิตภัณฑ์อื่นที่ คล้ายคลึงกัน ทุกขนาด ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 20 ตันต่อวัน ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี
  • 26. 18 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 14 อุตสาหกรรมเหล็ก หรือเหล็กกล้า ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 100 ตันต่อวัน ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 15 อุตสาหกรรมถลุงหรือแต่งแร่ หรือหลอมโลหะซึ่งมิใช่ อุตสาหกรรมเหล็กหรือเหล็กกล้า ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 50 ตันต่อวัน ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 16 อุตสาหกรรมผลิตสุราแอลกอฮอล์ รวมทั้งผลิตเบียร์และไวน์ 16.1 อุตสาหกรรมผลิตสุรา แอลกอฮอล์ 16.2 อุตสาหกรรมผลิตไวน์ ที่มีกาลังผลิตตั้งแต่ 40,000 ลิตร ต่อเดือน(คิดเทียบที่ 28 ดีกรี) ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 600,000 ลิตรต่อเดือน ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี
  • 27. 19 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 16.3 อุตสาหกรรมผลิตเบียร์ ที่มีกาลังการผลิตตั้งแต่ 600,00 ลิตรต่อเดือน ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 17 โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวมเฉพาะสิ่งปฏิกูลหรือวัสดุที่ไม่ใช้ แล้วตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 18 โรงไฟฟ้าพลังความร้อน ที่มีกาลังผลิตกระแสไฟฟ้าตั้งแต่ 10 เมกะวัตต์ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างเพื่อ ประกอบกิจการหรือขั้นขออนุญาต ประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี 19 ระบบทางพิเศษตามกฎหมายว่าด้วยการทางพิเศษ หรือโครงการ ที่มีลักษณะเช่นเดียวกับทางพิเศษ ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ
  • 28. 20 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 20 ทางหลวงหรือถนน ซึ่งมีความหมายตามกฎหมายว่าด้วยทาง หลวง ที่ตัดผ่านพื้นที่ดังต่อไปนี้ 20.1 พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและเขตห้ามล่าสัตว์ป่าตาม กฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า 20.2 พื้นที่เขตอุทยานแห่งชาติตามกฎหมายว่าด้วยอุทยาน แห่งชาติ 20.3 พื้นที่เขตลุ่มน้าชั้น 2 ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแล้ว 20.4 พื้นที่เขตป่าชายเลนที่เป็นป่าสงวนแห่งชาติ 20.5 พื้นที่ชายฝั่งทะเลในระยะ 50 เมตร ห่างจากระดับน้าทะเล ขึ้นสูงสุดตามปกติทางธรรมชาติ 20.6 พื้นที่ที่อยู่ในหรือใกล้พื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญระหว่าง ประเทศ หรือแหล่งมรดกโลกที่ขึ้นบัญชีแหล่งมรดกโลกตาม อนุสัญญาระหว่างประเทศในระยะทาง 2 กิโลเมตร ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ
  • 29. 21 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 20.7 พื้นที่ที่ตั้งอยู่ใกล้โบราณสถาน แหล่งโบราณคดี แหล่ง ประวัติศาสตร์ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ตามกฎหมายว่าด้วย โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุและพิพิธภัณฑ์สถาน แห่งชาติ ในระยะทาง 2 กิโลเมตร ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 21 ระบบขนส่งมวลชนที่ใช้ราง ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 22 ท่าเทียบเรือ รับเรือขนาดตั้งแต่ 500 ตันกรอส หรือความยาวหน้าท่า ตั้งแต่ 100 เมตรหรือมีพื้นที่ท่าเทียบเรือ รวมตั้งแต่ 1,000ตารางเมตร ขึ้น ไป ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 23 ท่าเทียบเรือสาราญกีฬา ที่รองรับเรือได้ตั้งแต่50ลา หรือ 1,000ตารางเมตร ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ
  • 30. 22 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 24 การถมที่ดินในทะเล ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 25 การก่อสร้างหรือขยายสิ่งก่อสร้างบริเวณหรือในทะเล 25.1 กาแพงริมชายฝั่ง ติดแนวชายฝั่ง 25.2 รอดักทราย เขื่อนกันทรายและคลื่นรอบังคับกระแสน้า 25.3 แนวเขื่อนกันคลื่นนอกฝั่งทะเล ความยาวตั้งแต่ 200 เมตร ขึ้นไป ทุกขนาด ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ 26 โครงการระบบขนส่งทางอากาศ 26.1 ก่อสร้างหรือขยายสนามบินหรือที่ขึ้นลงชั่วคราว เพื่อการ พาณิชย์ 26.2 สนามบินน้า ที่มีขนาดความยาวของทางวิ่ง ตั้งแต่1,100 เมตร ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขออนุญาต โครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุญาตจัดตั้งหรือขอ อนุญาตขึ้น-ลงอากาศยาน
  • 31. 23 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 27 อาคาร ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารซึ่งมีลักษณะที่ตั้ง หรือการใช้ประโยชน์ในอาคารอย่างหนึ่งอย่างใด ดังนี้ 27.1 อาคารที่ตั้งริมแม่น้า ฝั่งทะเล ทะเลสาบหรือชายหาด หรือที่ อยู่ใกล้หรือในอุทยานแห่งชาติ หรืออุทยานประวัติศาสตร์ ซึ่ง เป็นบริเวณที่อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม 27.2 อาคารที่ใช้ในการประกอบธุรกิจค้าปลีกหรือค้าส่ง ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตร ขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือ ชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 10,000 ตารางเมตร ขึ้นไป ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตร ขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้นหรือ ชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น
  • 32. 24 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 27.3 อาคารที่ใช้เป็นสานักงานหรือที่ทาการของเอกชน ความสูงตั้งแต่ 23.00 เมตรขึ้นไป หรือมีพื้นที่รวมกันทุกชั้น หรือ ชั้นหนึ่งชั้นใดในหลังเดียวกัน ตั้งแต่ 10,000 ตาราง เมตร ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น 28 การจัดสรรที่ดินเพื่อเป็นที่อยู่อาศัยหรือเพื่อประกอบการพาณิชย์ ตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน จานวนที่ดินแปลงย่อยตั้งแต่ 500 แปลง หรือเนื้อที่เกินกว่า 100 ไร่ ให้เสนอในขั้นขออนุญาตจัดสรรที่ดินตาม กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน
  • 33. 25 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 29 โรงพยาบาลหรืสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาล 29.1 กรณีตั้งอยู่ใกล้แม่น้า ฝั่งทะเล ทะเลสาบ หรือชายหาด ในระยะ 50 เมตร 29.2 กรณีโครงการที่ไม่อยู่ในข้อ 29.1 ที่มีเตียงสาหรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ตั้งแต่ 30 เตียงขึ้นไป ที่เตียงสาหรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน ตั้งแต่ 60 เตียง ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น
  • 34. 26 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 30 โรงแรมหรือสถานที่พักตากอากาศตามกฎหมาย ว่าด้วยโรงแรม ที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่ 80 ห้อง ขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้สอยตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น 31 อาคารอยู่อาศัยรวมตามกฎหมายว่าด้วยการ ควบคุมอาคาร ที่มีจานวนห้องพักตั้งแต่80 ห้อง ขึ้นไป หรือมีพื้นที่ใช้สอย ตั้งแต่ 4,000 ตารางเมตรขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุญาตก่อสร้างหรือ หากใช้วิธีการแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่น ตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร โดยไม่ยื่นขอรับใบอนุญาตให้เสนอ รายงานในขั้นการแจ้งต่อเจ้าพนักงาน ท้องถิ่น
  • 35. 27 ตารางที่ 2 ประเภทของโครงการหรือกิจการที่ต้องทา EIA (ต่อ) ลาดับ ประเภทโครงการหรือกิจการ ขนาด หลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ 32 การชลประทาน ที่มีพื้นที่การชลประทานตั้งแต่ 80,000 ไร่ ขึ้นไป ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ อนุญาตโครงการ 33 โครงการทุกประเภทที่อยู่ในพื้นที่ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เห็นชอบกาหนดให้เป็นพื้นที่ชั้นคุณภาพลุ่มน้าชั้น 1 ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ อนุญาตโครงการ 34 การผันน้าข้ามลุ่มน้า ดังต่อไปนี้ 34.1 การผันน้าข้ามลุ่มน้าหลัก ยกเว้นกรณีภัยพิบัติ หรือมี ผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ที่เป็นการดาเนินการ ชั่วคราว 34.2 การผันน้าระหว่างประเทศ ยกเว้นกรณีภัยพิบัติ หรือมี ผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศ ที่เป็นการดาเนินการ ชั่วคราว ทุกขนาด ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ อนุญาตโครงการ ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ อนุญาตโครงการ 35 ประตูระบายน้าในแม่น้าสายหลัก ทุกขนาด ให้เสนอในขั้นขออนุมัติหรือขอ อนุญาตโครงการ ที่มา: ราชกิจจานุเบกษา (2555)
  • 36. 28 3.2 EHIA EHIA คือ แนวทางการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (Environmental Health Impact Assessment: EHIA) เนื่องจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ 10 ซึ่งเป็นแผนหลักของประเทศไทยได้กาหนดให้มีการประเมินผลกระทบทาง สุขภาพในรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม รวมทั้งในแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมก็ ได้ให้ความสาคัญในเรื่องของการประเมินผลกระทบทางสุขภาพ และพระราชบัญญัติสุขภาพ แห่งชาติ พ.ศ. 2550 ซึ่งประกาศใช้เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2550 ได้กาหนดในมาตรา 11 ว่า “บุคคล หรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบ ด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ” และ “บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คาชี้แจง และ เหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ ก่อนการอนุญาตหรือการดาเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมี ผลกระทบต่อสุขภาพของตนหรือของชุมชนและแสดงความเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว” ในช่วงเวลาเดียวกันนั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซึ่งมีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 24 สิงหาคม 2550 ได้ระบุในมาตรา 67 โดยเฉพาะวรรคสอง ว่า “การดาเนิน โครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากร ธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผล กระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟัง ความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วย ผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษา ด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการ ดาเนินการดังกล่าว” กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงได้ออกประกาศ เพื่อกาหนดประเภท ขนาด และวิธีปฏิบัติสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง ทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ เพื่อให้การเป็นไปตามบัญญัติ มาตรา 67 วรรคสอง ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2553 ซึ่งมีทั้งหมด 11 ประเภทโครงการ
  • 37. 29 ตารางที่ 3 โครงการที่จะต้องจัดทารายงาน EHIA ที่มา: สานักวิชาการ องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (2555) 3.2.1 โครงการที่จะต้องจัดทารายงาน EHIA ลาดับ ประเภท ขนาด 1 การถมทะเล หรือทะเลสาบฯ ตั้งแต่ 300 ไร่ขึ้นไป 2 การทาเหมืองแร่ตามกฎหมายว่าด้วยแร่ ขึ้นอยู่กับประเภทเหมืองแร่ 3 นิคมอุตสาหกรรมตามกฎหมายว่าด้วยการนิคม อุตสาหกรรม หรือโครงการที่มีลักษณะเช่นเดียวกับ นิคมอุตสาหกรรม ทุกขนาด 4 อุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นและขั้นกลาง ขึ้นอยู่กับประเภทและ วัตถุดิบที่เป็นสารเคมี 5 อุตสาหกรรมถลุงแร่ หรือหลอมโลหะ ขึ้นอยู่กับประเภทแร่และ โลหะ 6 การผลิต กาจัด หรือปรับแต่งสารกัมมันตรังสี ทุกขนาด 7 โรงงานปรับคุณภาพของเสียรวม หรือโรงงาน ประกอบกิจการเกี่ยวกับการฝังกลบสิ่งปฏิกูลฯ หรือ การเผาของเสียอันตรายฯ ทุกขนาด 8 โครงการระบบขนส่งทางอากาศ ทางวิ่งของอากาศยานตั้งแต่ 3,000 เมตรขึ้นไป 9 ท่าเทียบเรือ ขึ้นอยู่กับความยาวหน้าท่า พื้นที่การขุดลอกร่องน้า 10 เขื่อนเก็บกักน้า ปริมาณเก็บกักตั้งแต่ 100 ลบ.ม. หรือพื้นที่กักเก็บ ตั้งแต่ 15 ตร.กม. ขึ้นไป 11 โรงไฟฟ้าพลังความร้อน ขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อเพลิง
  • 38. 30 3.2.2 ขอบเขตของการศึกษา EHIA ภาพที่ 3 ขอบเขตของการศึกษา EHIA ที่มา: สานักวิชาการ องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (2555: 2) ในการกาหนดขอบเขตการศึกษา ควรพิจารณาโอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อสุขภาพ โดย พิจารณาจากปัจจัย ดังนี้ 1. สิ่งคุกคามสุขภาพ 2. ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 3. ปัจจัยต่อการรับสัมผัส 4. ลักษณะผลกระทบต่อสุขภาพ 5. ผลกระทบต่อระบบสุขภาพ 6. ผลกระทบต่อสังคมและชีวิตความเป็นอยู่
  • 39. 31 3.2.3 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA ภาพที่ 4 ขั้นตอนการจัดทารายงาน EHIA ที่มา: สานักวิชาการ องค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (2555 : 3)
  • 40. 32 3.3 การทาประชาพิจารณ์ คาว่า ประชาพิจารณ์ ประกอบด้วยคาว่า ประชา หมายถึง ประชาชน กับคาว่า พิจารณ์ ซึ่ง หมายถึง พิจารณา ตรวจตรา สอบสวน ให้ความคิดเห็น ประชาพิจารณ์ หมายถึง รับฟังความคิดเห็นของประชาชนในเรื่องที่มีผลกระทบชีวิตของ ประชาชนทุกคน การทาประชาพิจารณ์ควรจัดให้ได้รับความคิดเห็นจากประชาชนทุกหมู่เหล่า และ ทาในวงกว้างเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่สะท้อนความคิดเห็นจากประชาชนอย่างแท้จริง ก่อนที่จะตัดสินใจ ดาเนินการใดๆ ที่เกี่ยวกับสิ่งที่มีผลต่อประชาชนจานวนมาก การประชาพิจารณ์เป็นกระบวนการที่ รัฐเปิดโอกาสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นในปัญหาสาคัญของชาติที่มีข้อให้เกี่ยวข้องหลาย ฝ่าย โดยเฉพาะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยตรงได้มีโอกาสรับทราบข้อมูลโดยละเอียด แสดงความ คิดเห็นและมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลต่อโครงการหรือนโยบายนั้น ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่เห็น ด้วยก็ตาม รวมทั้งการทาประชาพิจารณ์เป็นการดาเนินกิจกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่าง เป็นทางการ ตามระเบียบสานักนายกฯ จึงจาเป็นต้องมีการแต่งตั้งคณะกรรมการประชาพิจารณ์ มี การประกาศ เชิญชวนให้ผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมประชาพิจารณ์ มีการลงทะเบียนเพื่อการเข้า ร่วมประชาพิจาร 3.3.1 วัตถุประสงค์ในการทาประชาพิจารณ์ การประชาพิจารณ์เป็นที่เปิดโอกาสสาหรับบุคคลผู้ที่ได้รับผลกระทบจากโครงการของ รัฐได้แสดงความคิดเห็นในส่วนที่เกี่ยวกับโครงการดังกล่าว โดยอาจจะใช้การพิจารณาเป็นการ ประชุมหารืออย่างเป็นทางการระหว่างเจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับผิดชอบต่อการดาเนินโครงการ และ กลุ่มผลประโยชน์ หรือบุคคลผู้มีส่วนได้เสียจากโครงการดังกล่าว หน่วยงานของรัฐไม่จาเป็นต้อง ได้รับอานาจพิเศษตามรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายในการจัดประชาพิจารณ์ โดยถือเป็นเรื่องที่ปกติ และเป็นการเหมาะสมที่รัฐบาลจะปรึกษาประชาชนก่อนการเนินการที่สาคัญ ประชาพิจารณ์ไม่ใช่ การดาเนินคดีที่ประกอบไปด้วยโจทย์ และจาเลย แม้ว่าในกระบวนการประชาพิจารณ์ผู้เข้าร่วมอาจ ได้รับอนุญาตให้ส่งหนังสือหรือเอกสารแก่ส่วนราชการ กระบวนการจะเป็นไปตามที่ส่วนราชการ เห็นสมควร และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ตัดสินใจดาเนินการตามดุลยพินิจของตน แม้ว่าบุคคลในกระบวนการประชาพิจารณ์ไม่เห็นด้วยเป็นจานวนเท่าใดก็ตาม ประชาพิจารณ์จัดทา ขึ้นเพื่อจุดประสงค์ดังต่อไปนี้
  • 41. 33 1. เพื่อให้การตัดสินใจของรัฐสอดคล้องกับประโยชน์ 2. เพื่อลดความขัดแย้งจากการตัดสินใจของรัฐ 3. เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเพียงพอแก่ประชาชน 4. เพื่อเป็นทางเลือกในการมีส่วนรวมของประชาชนต่อการตัดสินใจของรัฐ 5. เพื่อให้การจัดสรรทรัพยากรเกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมมากที่สุด การประชาพิจารณ์เกี่ยวกับร่างกฎหมายที่จะเสนอเพื่อให้เกิดเป็นโครงการต่าง ๆ นั้น โดย กระบวนการมีขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นแรก การกาหนดสภาพของปัญหาและประเด็นที่จะทาการพิจารณา คณะกรรมาธิการแต่ละคณะมีคณะทางานซึ่งมีประสบการณ์ เฉพาะด้าน และประกอบด้วยนัก กฎหมายจานวนหนึ่ง คณะทางานจะรวบรวมผลการศึกษา และข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา และจัด ให้มีการสอบถามอย่างไม่เป็นทางการไปยังผู้เชี่ยวชาญ จากนั้นประธานคณะกรรมาธิการ และ สมาชิกกรรมาธิการในคณะจะพิจารณาว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องใดบ้างที่ต้องเชิญให้เข้าร่วมการพิจารณ์ 2. ขั้นที่สอง การคัดเลือกบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์ ๒ ประการ ประการแรก คือการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดทาบันทึก บันทึกข้อมูลนี้จะมอบให้กับสมาชิก นิติบัญญัติในขณะพิจารณาร่างกฎหมาย และจะเปิดเผยต่อสาธารณชนโดยถือเป็นส่วนหนึ่งของ ประวัติร่างกฎหมายที่ผ่านการพิจารณา ประการที่สอง การคัดเลือกบุคคลผู้ชี้แจง คือ การสร้างแรงสนับสนุนทางการเมืองใน การผ่านร่างกฎหมาย วัตถุประสงค์นี้สัมพันธ์กับวัตถุประสงค์ในการทาให้ประชาชนโดยทั่วไป ทราบถึงโครงการ และการได้รับความไว้วางใจของประชาชน เพื่อให้ผู้สังเกตการณ์มองว่า คณะกรรมาธิการดาเนินการอย่างยุติธรรม 3. ขั้นที่สาม ขั้นตอนการทาประชาพิจารณ์ ประธานคณะกรรมาธิการจะทาหน้าที่ ประธาน และกรรมาธิการอื่นซึ่งเป็นสมาชิกนิติบัญญัติจากพรรคการเมืองจะปรากฏตัวหลังแท่นเวที โดยมีคณะทางานอยู่เบื้องหลังเพื่อให้ความช่วยเหลือในการประชาพิจารณ์ บุคคลที่ได้รับเชิญจะยื่น หนังสือหรือเอกสาร และจะนาเสนอข้อมูลดังกล่าวโดยสรุปด้วยวาจา กรรมธิการจะสอบถามเพื่อ ความกระจ่างของข้อมูล หรือเพื่อความชัดเจนในประเด็นที่มีความสาคัญ หรือเพื่อโต้แย้งและแสดง ความไม่เห็นด้วยกับผู้ได้รับเชิญ โดยคณะทางานมักเตรียมคาถามให้สมาชิกนิติบัญญัติเป็นการ ล่วงหน้า ตามปกติบุคคลที่ได้รับผลประโยชน์จะนั่งสังเกตการณ์ในกลุ่มผู้เข้าร่วมประชุม