SlideShare a Scribd company logo
การให้เหตุผล Reasoning อ . ไพรวัล  ดวงตา กลุ่มสาระคณิตศาสตร์  โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัย  ( Deductive resoning)  เป็นการให้เหตุผลที่อ้างว่าสิ่งที่กำหนดให้ยืนยันผลสรุป  โดยกำหนดให้เหตุ  ( หรือข้อสมมติ )  เป็นจริงหรือยอมรับว่าเป็นจริง  แล้วใช้กฏเกณฑ์ต่างๆ สรุปผลจากเหตุที่กำหนดให้ เป็นการใช้ความจริงที่เป็นที่ยอมรับทั่วโดยทั่วไป  เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปย่อย ๆ  ( ใหญ่     ย่อย )
ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบนิรนัย เหตุ   1)  สัตว์เลี้ยงทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย 2)  แมวทุกตัวเป็นสัตว์เลี้ยง ผล   แมวทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย หลักเกณฑ์และวิธีการอ้างเหตุผลแบบนิรนัย เรียกว่า ตรรกศาสตร์นิรนัย  ซึ่งสิ่งที่สำคัญในการให้เหตุผลแบบนิรนัย คือ ตรรกบท  (Syllogism)
การตรวจสอบว่าข้อสรุปสมเหตุสมผลหรือไม่ วาดภาพ  ( แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ )  ในทุกกรณีที่เป็นไปได้ พิจารณาความสมเหตุสมผล การอ้างเหตุผล สมเหตุสมผล  ( Valid ) การอ้างเหตุผล ไม่สมเหตุสมผล ( Invalid ) การอ้างเหตุผลโดยใช้ตรรกบทของตรรกศาสตร์  ( Syllogistic logic )
การใช้แผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล ข้อความที่ใช้อ้างเหตุผลมีอยู่  4  แบบหลัก ๆ  ( ข้อ  1-4)  และอีก  2  แบบ เพิ่มเติม  ( ข้อ  5-6)  ดังนี้ 1.  สมาชิกทุกตัวของ  A  เป็นสมาชิกของ  B 2.  ไม่มีสมาชิกตัวใดของ  A  เป็นสมาชิกของ  B
3.  มีสมาชิกของ  A  บางตัวเป็นสมาชิกของ  B 4.  สมาชิกของ  A  บางตัวไม่เป็นสมาชิกของ  B
5.  มีสมาชิกของ  A  หนึ่งตัว ที่เป็นสมาชิกของ  B 6.  มีสมาชิกของ  A  หนึ่งตัว ที่ไม่เป็นสมาชิกของ  B
ตัวอย่างที่  1   จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ  1)  ไทยทุกคนเป็นคนดี 2)  เจ้าจุกเป็นคนไทย ผล   เจ้าจุกเป็นคนดี เขียนแผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ได้ดังนี้ ดังนั้น ข้อสรุปที่กล่าวว่าเจ้าจุกเป็นคนดี  สมเหตุสมผล
ตัวอย่างที่  2   จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ   1)  นักกีฬาทุกคนมีสุขภาพดี   2)  ตุ๊กตาสุขภาพดี ผล   ตุ๊กตาเป็นนักกีฬา กำหนดให้  H  แทนเซตของคนที่มีสุขภาพดี   S  แทนเซตของนักกีฬา เขียนแผนภาพแทนนักกีฬาทุกคนที่มีสุขภาพดีได้ดังนี้
เขียนแผนภาพเพื่อแสดงว่า ตุ๊กตามีสุขภาพดีได้ดังนี้ จากแผนภาพ มีกรณีที่ตุ๊กตาไม่ได้เป็นนักกีฬา แต่มีสุขภาพดี  ดังนั้น ผลที่ได้  ไม่สมเหตุสมผล
ตัวอย่างที่  3   จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ   1)  ผลไม้บางชนิดเปรี้ยว   2)  สิ่งที่เปรี้ยวทำให้ปวดท้อง ผล   ผลไม้บางชนิดทำให้ปวดท้อง เขียนแผนภาพเวนน์  -  ออยเลอร์ได้ดังนี้ สังเกตดูทั้ง  2  กรณี มีผลไม้ที่เป็นสาเหตุของการปวดท้องจริง  ดังนั้น การให้เหตุผลนี้  สมเหตุสมผล
ตัวอย่างที่  4   จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ   1)  คนดีบางคนเป็นคนยากจน   2)  คนยากจนทุกคนมีน้ำใจ ผล   คนดีบางคนมีน้ำใจ เขียนแผนภาพเวนน์  -  ออยเลอร์ได้ดังนี้ จากการตรวจสอบดู พบว่า ข้อสรุปนี้  สมเหตุสมผล
ในบางครั้ง ความรู้พื้นฐานที่นำมาอ้าง เราอาจไม่ทราบว่าเป็นจริงหรือไม่  แต่ถ้ายอมรับว่าเป็นจริงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้แล้วได้ผลสรุปที่สมเหตุสมผล  ผลสรุปที่ได้ไม่จำเป็นต้องเป็นความจริงทางโลกเสมอไป เช่น ตัวอย่างที่  5   จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ   1)  ถ้ามีสิ่งมีชีวิตบนดาวพระเคราะห์แล้ว ดาวพระเคราะห์จะต้องมีน้ำ  2)   มีสิ่งมีชีวิตบนดาวพระเคราะห์ อาลาบาม่า ผล   ดาวพระเคราะห์อาลาบาม่า มีน้ำ จากแผนภาพ เราจะได้ว่า  ดาวอาลาบาม่ามีน้ำ  สมเหตุสมผล  แต่เราไม่ทราบว่าตามความจริงแล้ว  ดาวนี้มีน้ำจริงหรือเปล่า
ตัวอย่างที่  6   จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ   1)  นกทุกตัวเป็นสัตว์มีปีก   2)  เป็ดทุกตัวเป็นสัตว์มีปีก ผล   นกทุกตัวเป็นเป็ดชนิดหนึ่ง จาก  4  กรณีข้างต้น จะเห็นว่า นกและเป็ดต่างก็เป็นสัตว์ปีก แต่เราสรุปไม่ได้ แน่นอนว่า นกเป็นเป็ดชนิดหนึ่งดังนั้น ข้อสรุปนี้  ไม่สมเหตุสมผล
[object Object],[object Object],[object Object],2.  เหตุ   1)  จำนวนนับทุกจำนวนเป็นจำนวนเต็ม   2)  จำนวนเต็มบางจำนวนเป็นจำนวนลบ ผล   มีจำนวนนับบางจำนวนเป็นจำนวนลบ 3.  เหตุ   1)  แพทย์ทุกคนเป็นคนรวย   2)  แพรวา เป็นแพทย์ ผล   แพรวา เป็นคนรวย แบบฝึกหัด จงใช้แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อความต่อไปนี้
4.  เหตุ   1)  คนไทยทุกคนเป็นคนน่ารัก   2)  พรนภัส เป็นคนไทย ผล   พรนภัส เป็นคนน่ารัก 5.  เหตุ   1)  คนไทยทุกคนเป็นคนน่ารัก   2)  พิมพ์ชนก เป็นคนน่ารัก ผล   พิมพ์ชนก เป็นคนไทย 6.  เหตุ   1)  กบทุกตัวว่ายน้ำได้   2)  สัตว์ที่ว่ายน้ำได้จะบินได้ ผล   กบทุกตัวบินได้ แบบฝึกหัด จงใช้แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อความต่อไปนี้
7.  เหตุ   1)  จำนวนนับทุกจำนวนเป็นจำนวนเต็ม   2)  จำนวนเต็มทุกจำนวนเป็นจำนวนจริง ผล   จำนวนนับทุกจำนวนเป็นจำนวนจริง 8.  เหตุ   1)  คนทุกคนเป็นลิง   2)  ลิงทุกตัวเป็นแมว ผล   คนทุกคนเป็นแมว 9.  เหตุ   1)  จำนวนเต็มที่หารด้วย  2  ลงตัว ทุกจำนวนเป็นจำนวนคู่   2) 7  หารด้วย  2  ลงตัว ผล   7  เป็นจำนวนคู่ แบบฝึกหัด จงใช้แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อความต่อไปนี้
10.  เหตุ   1)  สุนัขบางตัวมีขนยาว   2)  มอมเป็นสุนัขของฉัน ผล   มอมเป็นสุนัขที่มีขนยาว 11.  เหตุ   1)  ม้าทุกตัวมีสี่ขา   2)  ไม่มีสัตว์ที่มีสี่ขาตัวใดที่บินได้ ผล   ไม่มีม้าตัวใดบินได้ 12.  เหตุ   1)  ไม่มีจำนวนเฉพาะตัวใดหารด้วย  2  ลงตัว   2) 21  หารด้วย  2  ไม่ลงตัว ผล   21  เป็นจำนวนเฉพาะ แบบฝึกหัด จงใช้แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อความต่อไปนี้
13.  เหตุ   1)  วันที่มีฝนตกทั้งวันจะมีท้องฟ้ามืดครึ้มทุกวัน   2)  วันนี้ท้องฟ้ามืดครึ้ม ผล   วันนี้ฝนตกทั้งวัน 14.  เหตุ   1)  นักเรียนที่ชอบเรียนคณิตศาสตร์บางคนชอบเรียนภาษาอังกฤษ   2)  นักเรียนที่ชอบเรียนภาษาอังกฤษบางคนชอบเรียนศิลปะ ผล   มีนักเรียนที่ชอบเรียนคณิตศาสตร์บางคนชอบเรียนศิลปะ แบบฝึกหัด จงใช้แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อความต่อไปนี้ 15.  เหตุ   1)  สตรีทุกคนเป็นยาชูกำลัง   2)  ยาชูกำลังคือพลัง ผล   สตรีเป็นพลัง

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
Weerachat Martluplao
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2krupornpana55
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
Aon Narinchoti
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2kroojaja
 
Solid
SolidSolid
Solid
Wonder Tae
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
poonwork
 
Pat1;61
Pat1;61Pat1;61
Pat1;61
ThunwaratTrd
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
Wan Ngamwongwan
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
Wijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 3
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
3ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 การบูรณาการภาษาอังกฤษ (ไฟล์ที่ 3)
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
โครงสร้างตัวชี้วัดวิทย์.Doc ม.3 ภาค 2
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
Sample space
Sample spaceSample space
Sample space
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
Solid
SolidSolid
Solid
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
Pat1;61
Pat1;61Pat1;61
Pat1;61
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 

Similar to Reasoning

Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
Aon Narinchoti
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลkrukanteera
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยLaongphan Phan
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2
Nona Khet
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
ajpeerawich
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
kulwadee
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6
noonatzu
 
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1ไอ่ฝ้าย ผีบ้า
 
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbbDz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbbThanakrit Muangjun
 
ข้อสอบ O-net ภาษาอังกฤษ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net ภาษาอังกฤษ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O-net ภาษาอังกฤษ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net ภาษาอังกฤษ ม.6 ชุด 1
ธัญชนก อธิจิต
 
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1ParattakornDokrueankham
 

Similar to Reasoning (20)

Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
การให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัยการให้เหตุผลอุปนัย
การให้เหตุผลอุปนัย
 
การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2การเขียนข้อสอบ 2
การเขียนข้อสอบ 2
 
Reasoning55
Reasoning55Reasoning55
Reasoning55
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
สาระที่2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6
 
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
 
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbbDz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
Dz9 rr0hz8cnezz4djlk1vfzpdqa0yve hippvasumhne0ww7asfx32usd9zdclmbb
 
ข้อสอบ O-net ภาษาอังกฤษ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net ภาษาอังกฤษ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O-net ภาษาอังกฤษ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O-net ภาษาอังกฤษ ม.6 ชุด 1
 
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net ภาษาต่างประเทศ ม.6 ชุด 1
 

More from ไพรวัล ดวงตา

Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
CartesianCartesian
Acjecture
AcjectureAcjecture
Final2554
Final2554Final2554
Integer
IntegerInteger
Integer
IntegerInteger
Facebook
FacebookFacebook
Twitter
TwitterTwitter
SlideShare
SlideShareSlideShare
Picasa
PicasaPicasa
YouTube
YouTubeYouTube
Google docs
Google docsGoogle docs
Facebook
FacebookFacebook
Wordpress
WordpressWordpress
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedไพรวัล ดวงตา
 

More from ไพรวัล ดวงตา (20)

Worksheet 004
Worksheet 004Worksheet 004
Worksheet 004
 
Worksheet 005
Worksheet 005Worksheet 005
Worksheet 005
 
Worksheet 006
Worksheet 006Worksheet 006
Worksheet 006
 
Worksheet 007
Worksheet 007Worksheet 007
Worksheet 007
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Cartesian
CartesianCartesian
Cartesian
 
Acjecture
AcjectureAcjecture
Acjecture
 
Final2554
Final2554Final2554
Final2554
 
Integer
IntegerInteger
Integer
 
Integer
IntegerInteger
Integer
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
SlideShare
SlideShareSlideShare
SlideShare
 
Picasa
PicasaPicasa
Picasa
 
YouTube
YouTubeYouTube
YouTube
 
Google docs
Google docsGoogle docs
Google docs
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_editedPpt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
Ppt บรรยาย 23700 paoเสริมครั้งที่1และ2_edited
 

Reasoning

  • 1. การให้เหตุผล Reasoning อ . ไพรวัล ดวงตา กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ โรงเรียนกุดชุมวิทยาคม
  • 2. การให้เหตุผลแบบนิรนัย การให้เหตุผลแบบนิรนัย ( Deductive resoning) เป็นการให้เหตุผลที่อ้างว่าสิ่งที่กำหนดให้ยืนยันผลสรุป โดยกำหนดให้เหตุ ( หรือข้อสมมติ ) เป็นจริงหรือยอมรับว่าเป็นจริง แล้วใช้กฏเกณฑ์ต่างๆ สรุปผลจากเหตุที่กำหนดให้ เป็นการใช้ความจริงที่เป็นที่ยอมรับทั่วโดยทั่วไป เพื่อนำไปสู่ข้อสรุปย่อย ๆ ( ใหญ่  ย่อย )
  • 3. ตัวอย่างการให้เหตุผลแบบนิรนัย เหตุ 1) สัตว์เลี้ยงทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย 2) แมวทุกตัวเป็นสัตว์เลี้ยง ผล แมวทุกตัวเป็นสัตว์ไม่ดุร้าย หลักเกณฑ์และวิธีการอ้างเหตุผลแบบนิรนัย เรียกว่า ตรรกศาสตร์นิรนัย ซึ่งสิ่งที่สำคัญในการให้เหตุผลแบบนิรนัย คือ ตรรกบท (Syllogism)
  • 4. การตรวจสอบว่าข้อสรุปสมเหตุสมผลหรือไม่ วาดภาพ ( แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ) ในทุกกรณีที่เป็นไปได้ พิจารณาความสมเหตุสมผล การอ้างเหตุผล สมเหตุสมผล ( Valid ) การอ้างเหตุผล ไม่สมเหตุสมผล ( Invalid ) การอ้างเหตุผลโดยใช้ตรรกบทของตรรกศาสตร์ ( Syllogistic logic )
  • 5. การใช้แผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ ในการตรวจสอบความสมเหตุสมผล ข้อความที่ใช้อ้างเหตุผลมีอยู่ 4 แบบหลัก ๆ ( ข้อ 1-4) และอีก 2 แบบ เพิ่มเติม ( ข้อ 5-6) ดังนี้ 1. สมาชิกทุกตัวของ A เป็นสมาชิกของ B 2. ไม่มีสมาชิกตัวใดของ A เป็นสมาชิกของ B
  • 6. 3. มีสมาชิกของ A บางตัวเป็นสมาชิกของ B 4. สมาชิกของ A บางตัวไม่เป็นสมาชิกของ B
  • 7. 5. มีสมาชิกของ A หนึ่งตัว ที่เป็นสมาชิกของ B 6. มีสมาชิกของ A หนึ่งตัว ที่ไม่เป็นสมาชิกของ B
  • 8. ตัวอย่างที่ 1 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1) ไทยทุกคนเป็นคนดี 2) เจ้าจุกเป็นคนไทย ผล เจ้าจุกเป็นคนดี เขียนแผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ได้ดังนี้ ดังนั้น ข้อสรุปที่กล่าวว่าเจ้าจุกเป็นคนดี สมเหตุสมผล
  • 9. ตัวอย่างที่ 2 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1) นักกีฬาทุกคนมีสุขภาพดี 2) ตุ๊กตาสุขภาพดี ผล ตุ๊กตาเป็นนักกีฬา กำหนดให้ H แทนเซตของคนที่มีสุขภาพดี S แทนเซตของนักกีฬา เขียนแผนภาพแทนนักกีฬาทุกคนที่มีสุขภาพดีได้ดังนี้
  • 10. เขียนแผนภาพเพื่อแสดงว่า ตุ๊กตามีสุขภาพดีได้ดังนี้ จากแผนภาพ มีกรณีที่ตุ๊กตาไม่ได้เป็นนักกีฬา แต่มีสุขภาพดี ดังนั้น ผลที่ได้ ไม่สมเหตุสมผล
  • 11. ตัวอย่างที่ 3 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1) ผลไม้บางชนิดเปรี้ยว 2) สิ่งที่เปรี้ยวทำให้ปวดท้อง ผล ผลไม้บางชนิดทำให้ปวดท้อง เขียนแผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ได้ดังนี้ สังเกตดูทั้ง 2 กรณี มีผลไม้ที่เป็นสาเหตุของการปวดท้องจริง ดังนั้น การให้เหตุผลนี้ สมเหตุสมผล
  • 12. ตัวอย่างที่ 4 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1) คนดีบางคนเป็นคนยากจน 2) คนยากจนทุกคนมีน้ำใจ ผล คนดีบางคนมีน้ำใจ เขียนแผนภาพเวนน์ - ออยเลอร์ได้ดังนี้ จากการตรวจสอบดู พบว่า ข้อสรุปนี้ สมเหตุสมผล
  • 13. ในบางครั้ง ความรู้พื้นฐานที่นำมาอ้าง เราอาจไม่ทราบว่าเป็นจริงหรือไม่ แต่ถ้ายอมรับว่าเป็นจริงตามสมมติฐานที่ตั้งไว้แล้วได้ผลสรุปที่สมเหตุสมผล ผลสรุปที่ได้ไม่จำเป็นต้องเป็นความจริงทางโลกเสมอไป เช่น ตัวอย่างที่ 5 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1) ถ้ามีสิ่งมีชีวิตบนดาวพระเคราะห์แล้ว ดาวพระเคราะห์จะต้องมีน้ำ 2) มีสิ่งมีชีวิตบนดาวพระเคราะห์ อาลาบาม่า ผล ดาวพระเคราะห์อาลาบาม่า มีน้ำ จากแผนภาพ เราจะได้ว่า ดาวอาลาบาม่ามีน้ำ สมเหตุสมผล แต่เราไม่ทราบว่าตามความจริงแล้ว ดาวนี้มีน้ำจริงหรือเปล่า
  • 14. ตัวอย่างที่ 6 จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าสมเหตุสมผลหรือไม่ เหตุ 1) นกทุกตัวเป็นสัตว์มีปีก 2) เป็ดทุกตัวเป็นสัตว์มีปีก ผล นกทุกตัวเป็นเป็ดชนิดหนึ่ง จาก 4 กรณีข้างต้น จะเห็นว่า นกและเป็ดต่างก็เป็นสัตว์ปีก แต่เราสรุปไม่ได้ แน่นอนว่า นกเป็นเป็ดชนิดหนึ่งดังนั้น ข้อสรุปนี้ ไม่สมเหตุสมผล
  • 15.
  • 16. 4. เหตุ 1) คนไทยทุกคนเป็นคนน่ารัก 2) พรนภัส เป็นคนไทย ผล พรนภัส เป็นคนน่ารัก 5. เหตุ 1) คนไทยทุกคนเป็นคนน่ารัก 2) พิมพ์ชนก เป็นคนน่ารัก ผล พิมพ์ชนก เป็นคนไทย 6. เหตุ 1) กบทุกตัวว่ายน้ำได้ 2) สัตว์ที่ว่ายน้ำได้จะบินได้ ผล กบทุกตัวบินได้ แบบฝึกหัด จงใช้แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อความต่อไปนี้
  • 17. 7. เหตุ 1) จำนวนนับทุกจำนวนเป็นจำนวนเต็ม 2) จำนวนเต็มทุกจำนวนเป็นจำนวนจริง ผล จำนวนนับทุกจำนวนเป็นจำนวนจริง 8. เหตุ 1) คนทุกคนเป็นลิง 2) ลิงทุกตัวเป็นแมว ผล คนทุกคนเป็นแมว 9. เหตุ 1) จำนวนเต็มที่หารด้วย 2 ลงตัว ทุกจำนวนเป็นจำนวนคู่ 2) 7 หารด้วย 2 ลงตัว ผล 7 เป็นจำนวนคู่ แบบฝึกหัด จงใช้แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อความต่อไปนี้
  • 18. 10. เหตุ 1) สุนัขบางตัวมีขนยาว 2) มอมเป็นสุนัขของฉัน ผล มอมเป็นสุนัขที่มีขนยาว 11. เหตุ 1) ม้าทุกตัวมีสี่ขา 2) ไม่มีสัตว์ที่มีสี่ขาตัวใดที่บินได้ ผล ไม่มีม้าตัวใดบินได้ 12. เหตุ 1) ไม่มีจำนวนเฉพาะตัวใดหารด้วย 2 ลงตัว 2) 21 หารด้วย 2 ไม่ลงตัว ผล 21 เป็นจำนวนเฉพาะ แบบฝึกหัด จงใช้แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อความต่อไปนี้
  • 19. 13. เหตุ 1) วันที่มีฝนตกทั้งวันจะมีท้องฟ้ามืดครึ้มทุกวัน 2) วันนี้ท้องฟ้ามืดครึ้ม ผล วันนี้ฝนตกทั้งวัน 14. เหตุ 1) นักเรียนที่ชอบเรียนคณิตศาสตร์บางคนชอบเรียนภาษาอังกฤษ 2) นักเรียนที่ชอบเรียนภาษาอังกฤษบางคนชอบเรียนศิลปะ ผล มีนักเรียนที่ชอบเรียนคณิตศาสตร์บางคนชอบเรียนศิลปะ แบบฝึกหัด จงใช้แผนภาพเวนน์ – ออยเลอร์ ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อความต่อไปนี้ 15. เหตุ 1) สตรีทุกคนเป็นยาชูกำลัง 2) ยาชูกำลังคือพลัง ผล สตรีเป็นพลัง