SlideShare a Scribd company logo
แผนการจัด การเรีย นรู้เ พื่อ เสริม สร้า งคุณ ลัก ษณะอยู่อ ย่า งพอเพีย ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์                                           ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 1
รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21101                                              ภาคเรียน
ที่ 1/2555
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง           ส่วนประกอบและหน้าที่ของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
จำานวน 2 ชั่วโมง
                    ------------------------------------------------------------------------
              --
1. มาตรฐานการเรีย นรู้ / ตัว ชี้ว ัด
       มาตรฐานการเรีย นรู้
       ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง
       และหน้าที่ของ ระบบต่าง ๆ
ของสิ่งมีชีวิตที่ทำางานสัมพันธ์กันมีกระบวนการสืบเสาะค้นคว้าหาความรู้
สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้
ความเข้าใจไปใช้ในการดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

     ตัว ชี้ว ัด ชั้น ปี
     ม.1/3 ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์
     สัตว์
2. ความคิด รวบยอด (ความเข้า ใจที่ล ึก ซึ้ง )
            ผู้เรียนเข้าใจว่า การได้เรียนรู้จากการสังเกต อธิบาย เปรียบ
เทียบ ทดลอง และสรุปความคิด
รวบยอดของส่วนประกอบที่สำาคัญและหน้าที่ของส่วนประกอบที่สำาคัญของ
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ จะทำาให้รู้ว่าสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์
เดียว แต่บางชนิดประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ซึ่งสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่
ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ และเซลล์ของพืชและสัตว์ที่เป็นสิ่งมีชีวิตหลาย
เซลล์ มีส่วนประกอบที่มีหน้าที่ที่สำาคัญแตกต่างกัน


3. จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้
      3.1 ทดลองเพื่อศึกษาส่วนประกอบที่สำาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
      3.2 บอกส่วนประกอบที่สำาคัญและหน้าที่ของส่วนประกอบที่สำาคัญของ
          เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้
      3.3 มีจิตวิทยาศาสตร์
4. สาระการเรีย นรู้
     ส่วนประกอบที่สำาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

  5.สมรรถนะสำา คัญ
      5.1 ความสามารถในการคิด
      5.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา




  6. คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์
       6.1 ใฝ่เรียนรู้
       6.2 อยู่อย่างพอเพียง
       6.3 มุ่งมั่นในการทำางาน
       6.4 มีจิตวิทยาศาสตร์
  7. ภาระงาน / ชิ้น งาน
     7.1 ภาระงาน
          7.1.1 การเปรียบเทียบลักษณะของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
          7.1.2 การทดลองศึกษาส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์

     7.2 ชิ้น งาน
            7.2.1 แผนภาพความคิดวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะของเซลล์พืช
  และเซลล์สัตว์
            7.2.2 ใบกิจกรรมเรื่อง ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
            7.2.3 ใบงาน เรื่อง ขนาด รูปร่าง และส่วนประกอบของเซลล์พืช
  และเซลล์สัตว์
            7.2.4 รายงานผลการทดลอง
  8. กิจ กรรมการเรีย นรู้
     ชั่ว โมงที่ 1
          8.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเพื่อทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับสิ่ง
  มีชีวิตหลายเซลล์ในประเด็นต่อไปนี้
               - สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้แก่สิ่งมีชีวิตชนิดใดบ้าง
- นักเรียนคิดว่าเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่สำาคัญ
เหมือนหรือแตกต่างกัน
     8.2 ครูอธิบายวิธีการศึกษาส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ตามขั้นตอนวิธีการทดลองในใบกิจกรรม
     8.3 นักเรียนแต่ละกลุ่ม (นักเรียนแบ่งกลุ่มในชั่วโมงที่แล้วกลุ่มละ 6-8
คน โดยแบ่งหน้าที่ตามความ
         เหมาะสมกับความสามารถในการทดลอง ) ปฏิบัติกิจกรรมการ
ทดลองตามขั้นตอน (นัก เรีย นใช้เ หตุผ ล
         ในการทดลองตามขั้น ตอนด้ว ยความระมัด ระวัง รอบคอบ)
โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่นบางอย่างที่ครู
         มอบหมายให้จัดเตรียมมาจากบ้าน ได้แก่ หัวหอมแดง ใบว่าน
กาบหอย สาหร่ายหางกระรอก
         (เกิด ความพอประมาณในค่า ใช้จ ่า ย ) บันทึกผลและสรุปผล
     8.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานผลการทดลอง และเตรียมนำา
เสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียนในชั่วโมง
        ต่อไป โดยให้นักเรียนเตรียมตัว 5 นาที (เป็น การสร้า งภูม ิค ุ้ม กัน
การนำา เสนอของนัก เรีย น การตรวจสอบ
        คุณ ธรรมด้า นความรับ ผิด ชอบและความสามัค คีใ นกลุ่ม
ของนัก เรีย น)




ชั่ว โมงที่ 2
       8.5 สุ่มนักเรียน 3 กลุ่มนำาเสนอรายงานผลการทดลองหน้าชั้นเรียน
       8.6 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปผลจากการทดลอง โดย
       ใช้คำาถามดังนี้
          - รูปร่างของเซลล์หัวหอมแดง เซลล์สาหร่ายหางกระรอก และ
    เซลล์ใบว่านกาบหอยมีลักษณะ
            เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
          - เซลล์ใบว่านกาบหอยมีลักษณะแตกต่างจากเซลล์พืชชนิดอื่น
    อย่างไร
          - เซลล์หัวหอมแดงต่างจากเซลล์สาหร่ายหางกระรอกอย่างไร
- ลักษณะของเซลล์เยื่อบุข้างแก้มกับเซลล์ใบว่านกาบหอยต่างกัน
   อย่างไร
      8.7 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับส่วนประกอบที่สำาคัญของ
      เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
      8.8 นักเรียนศึกษาเปรียบเทียบส่วนประกอบสำาคัญของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์จากเอกสารประกอบ
           การเรียนในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้
      8.9 ครูนำาอภิปรายเพื่อสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับส่วนประกอบ
สำาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
           โดยใช้รูปภาพเซลล์พืชและเซลล์สัตว์และคำาถามดังนี้
          - เซลล์พืชทุกเซลล์มีส่วนประกอบที่เหมือนกันใช่หรือไม่
          - เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบใดบ้างที่เหมือนกันและ
            ส่วนประกอบใดที่แตกต่างกัน
      8.10 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเรื่องที่ยังไม่เข้าใจหรือมีข้อ
      สงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม
      8.11 ครูแนะนำาให้นักเรียนที่สนใจสามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจาก
      ห้องสมุด จากวารสารวิทยาศาสตร์
           สารานุกรม หนังสือเรียนวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
      หรืออินเตอร์เน็ต เป็นต้น

9. สื่อ การเรีย นและแหล่ง การเรีย นรู้
   9.1 สื่อ การเรีย นรู้
          9.1.1 วัสดุอุปกรณ์ประกอบการทดลอง
          9.1.2 เอกสารประกอบการการเรียน เรื่องส่วนประกอบของเซลล์
       พืชและเซลล์สัตว์
          9.1.3 ใบกิจกรรมการทดลอง
          9.1.4 รายงานผลการทดลอง

  9.2 แหล่ง การเรีย นรู้
       9.2.1 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์
       9.2.2 ท้องถิ่นของนักเรียน
10. การวัด ผลและการประเมิน ผล

 การวัด ผลและการ          วิธ ีก ารวัด   เครื่อ งมือ วัด
                                                       เกณฑ์ก าร
   ประเมิน ผลด้า น                                         ผ่า น
บอกหน้าที่และส่วน       - สังเกตจากการ แบบทดสอบ       ได้คะแนน
ประกอบที่สำาคัญของ      ตอบคำาถาม                     เฉลี่ยร้อยละ
เซลล์พืชและเซลล์        - ทดสอบ                       70 ขึนไป
                                                            ้
สัตว์ได้                                              ผ่านเกณฑ์
ทดลองเพื่อศึกษาส่วน     - สังเกตจากการ - แบบสังเกตการ ได้คะแนน
ประกอบที่สำาคัญของ      ปฏิบัติ        ทดลอง          เฉลี่ยร้อยละ
เซลล์พืชและเซลล์          การทดลอง     - แบบประเมิน   70 ขึนไป้
สัตว์                   - ตรวจรายงานผล รายงาน         ผ่านเกณฑ์
                        การ              ผลการทดลอง
                          ทดลองได้
- ใฝ่เรียนรู้           - การสังเกต    แบบสังเกต      ได้คะแนน
- อยู่อย่างพอเพียง      พฤติกรรมความ   พฤติกรรมความ เฉลี่ยร้อยละ
- มุ่งมั่นในการทำางาน   สนใจและตั้งใจ  สนใจและตั้งใจ 70 ขึนไป   ้
- มีจิตวิทยาศาสตร์      เรียน          เรียน          ผ่านเกณฑ์


11. บัน ทึก ผลการจัด กิจ กรรมการเรีย นรู้
    ผลการจัดการเรียนรู้ที่กำาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้
    1.1.1 จุดประสงค์การเรียนรู้ (K,P,A)
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
  1.1.2 สมรรถนะ
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
  1.1.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
11.2 ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
 11.3 แนวทางแก้ไข / พัฒนา
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………….


              ลงชื่อ..................................................ผู้สอน

                  (……………………………………………..)
รายวิช า              ใบกิจ กรรมการทดลอง ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1
วิท ยาศาสตร์           เรื่อ ง การศึก ษาเซลล์ ภาคเรีย นที่ 1
รหัส วิช า                 พืช และเซลล์ส ัต ว์ ประกอบแผนการ
ว 21101                                        จัด การเรีย นรู้ท ี่
จุด ประสงค์ เพื่อให้นักเรียนรู้จักการศึกษา ค้นคว้า แสวงหาคำาตอบ
เกี่ยวกับเรื่องรูปร่างและส่วนประกอบของ
                  เซลล์พืช

คำา ชี้แ จง. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้

ตอนที่ 1 เซลล์เ ยื่อ หอม
วิธ ีก ารทดลอง
        1. ตัดหัวหอมชิ้นเล็ก ๆ มาชิ้นหนึ่ง ใช้ปากคีบหรือเล็บมือลอกผิวชั้นใน
           ออก
        2. วางชิ้นเยื่อหอมลงบนแผ่นสไลด์และหยดสารละลายไอโอดีนลงไป ๒
           หยดแล้วค่อย ๆวางกระจกปิดสไลด์
            ปิดทับเยื่อหัวหอม
        3. วางแผ่นสไลด์ลงบนแท่นวางวัตถุของกล้องจุลทรรศน์ปรับภาพให้เห็น
           ชัดเจน
        4. สังเกตส่วนประกอบของเซลล์และวาดรูปเซลล์เยื่อหอม

ตอนที่ 2 เซลล์ส าหร่า ยหางกระรอก
วิธ ีก ารทดลอง
1. เด็ดใบอ่อนของสาหร่ายหางกระอกมา 1 ใบ วางลงบนแผ่นสไลด์ แล้ว
     หยดนำ้าลงไป 2-3 หยด
     2. ค่อย ๆวางกระจกปิดสไลด์บนหยดนำ้า
     3. ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ 3 – 4 ในตอนที่ 1


ตอนที่ 3 เซลล์ผ ิว ใบว่า นกาบหอย
วิธ ีก ารทดลอง
        1. ตัดใบว่านกาบหอยชิ้นเล็ก ๆ มาชิ้นหนึ่ง ใช้ปากคีบหรือเล็บมือลอก
        ผิวด้านหลังใบ (สีม่วง) ออกมา
        2. วางชิ้นเยื่อใบว่านกาบหอยลงบนแผ่นสไลด์ หยดนำ้าลงไป 2 - 3 หยด
           แล้วค่อย ๆ วางกระจกปิดสไลด์บนหยดนำ้า
        3. ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ 3 – 4 ในตอนที่ 1


ตอนที่ 4 เซลล์เ ยื่อ บุข ้า งแก้ม
วิธ ีก ารทดลอง
        1. เตรียมสำาลีพันปลายไม้ ใช้ปลายข้างที่พันสำาลีถูข้างแก้มด้านในเบา ๆ
        2. ป้ายสำาลีลงบนแผ่นสไลด์ หยดสารละลายเมทิลีนบลูบริเวณที่ป้ายสำาลี
           ไว้ แล้วค่อย ๆ ปิดทับด้วยกระจกปิดสไลด์
        3. ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ 3 – 4 ในตอนที่ 1




                           แบบรายงานผลการการทดลอง
               เรื่อ ง ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์
              ชื่อ กลุ่ม ................................................................
                                    ชั้น ............................
                  ชื่อสมาชิก                   เลข ภาระงานที่รับผิดชอบ
                                                 ที่
     ........................................ ..... .................................
     ........................................ ..... .................................
     ........................................ ..... .................................
     ........................................ ..... .................................
     ........................................ ..... .................................
     ........................................ ..... .................................
     ........................................ ..... .................................
     ........................................ ..... .................................
....................                       .....   .....................
        ........................................   .....   .................................
        ............................ ...........   .....   .................................
        ........................................   .....   .................................
        .................                          ...     ...............


กำา หนด
ปัญ หา....................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
..........................................................
ตั้ง
สมมติฐ าน..............................................................................................
.................................................……………………………………………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………
วัส ดุอ ุป กรณ์
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
..............................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
..............................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................................................
..........................................................................................
บัน ทึก ผลการทดลอง
 ภาพเซลล์ท ี่ม องเห็น จาก   ส่ว นประกอบของเซลล์ท ี่พ บ (วาดภาพ
      กล้อ งจุล ทรรศน์                   เซลล์)
เซลล์เยื่อหัวหอมแดง




เซลล์สาหร่ายหางกระรอก




เซลล์ผิวใบว่านกาบหอย




เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม
คำา ถามหลัง การทดลอง
1. รูปร่างของเซลล์เยื่อหัวหอม เซลล์สาหร่ายหางกระรอก และเซลล์ผิวใบ
    วานกาบหอยมีลักษณะคล้ายกันอย่างไร
...........................................................................................................
.....................................................................
...........................................................................................................
.....................................................................
...........................................................................................................
.....................................................................
...........................................................................................................
.....................................................................
2. เซลล์ผิวใบว่านกาบหอยมีลักษณะแตกต่างจากเซลล์พืชชนิดอื่นอย่างไร
...........................................................................................................
.....................................................................
...........................................................................................................
.....................................................................
...........................................................................................................
.....................................................................
3. เซลล์เยื่อหัวหอมต่างจากเซลล์สาหร่ายหางกระรอกอย่างไร
...........................................................................................................
.....................................................................
...........................................................................................................
.....................................................................
...........................................................................................................
.....................................................................
4. เซลล์เยื่อบุข้างแก้มมีส่วนประกอบอะไรบ้าง
    ...........................................................................................................
    .....................................................................
    ...........................................................................................................
    .....................................................................
    ...........................................................................................................
    .....................................................................
    5. ลักษณะของเซลล์เยื่อบุข้างแก้มกับเซลล์ผิวใบว่านกาบหอยต่างกัน
        อย่างไร
    ...........................................................................................................
    .....................................................................
    ...........................................................................................................
    .....................................................................
    ...........................................................................................................
    .....................................................................
สรุป ผลการทดลอง
...............................................................................................................
...............................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................
...............................................................................................................
...............................................................................
แบบประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง เรื่อ ง ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช
                                          และเซลล์ส ัต ว์
         กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1
                ---------------------------------------------------------------
        ชื่อกลุ่ม.......................................................ชั้น ...................วัน
                              ที่.............................................
คำา ชี้แ จง ทำาเครื่องหมาย  ลงในช่องตรงกับระดับพฤติกรรมที่นักเรียน
แสดงออกตามเกณฑ์ที่กำาหนด
                                                     คะแนนที่ไ ด้ ข้อ เสนอ
             รายการพฤติก รรม
                                                    4 3 2 1                    แนะ
       1. การวางแผนการ
       ทดลอง
        1.1 การกำาหนดปัญหา
        1.2 การตั้งสมมติฐาน
        1.2 การดำาเนินการทดลอง
        1.3 การวางแผนกำาหนดขั้น
       ตอนการทำางาน
       2. การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง
        2.1 ใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่อง
       มือในการทดลอง
        2.2 ทำาการทดลองตามขั้น
       ตอนที่กำาหนด
        2.3 การบันทึกผลการ
       ทดลอง
        2.4 ทำาความสะอาดและเก็บ
       วัสดุ อุปกรณ์
       3. การนำา เสนอ
        3.1 การแปลความหมาย
       ข้อมูล
        3.2 การนำาเสนอผลการ
       ทดลอง
        3.3 การสรุปผลการทดลอง
        3.4 การอภิปรายและข้อ
       เสนอแนะ
                        รวม
                     ร้อ ยละ

ความคิด เห็น เพิ่ม เติม
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
……….
………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………
……….

                   (ลงชื่อ)                   ผู้ประเมิน




เกณฑ์ก ารให้ค ะแนนการประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง เรื่อ ง ส่ว น
             ประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์
   กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1

                                                           ระดั
                                                            บ
                   รายการประเมิน
                                                           คะแ
                                                           นน
   1. การวางแผนการทดลอง
      1.1 การกำา หนดปัญ หา
      - กำาหนดปัญหาได้ชัดเจน ครอบคลุมกับเรื่องที่           4
   ศึกษาดีมาก                                               3
      - กำาหนดปัญหาได้ไม่ชัดเจน ครอบคลุมกับเรื่องที่        2
   ศึกษาเพียงบางส่วน                                        1
      - กำาหนดปัญหาได้บ้าง แต่ไม่ครอบคลุมกับเรื่องที่
   ศึกษา
      - กำาหนดปัญหาไม่ได้
      1.2 กำา หนดปัญ หาและตั้ง สมมติฐ าน
      - สมมติฐานตรงกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์              4
ระหว่างเหตุและผลอย่างชัดเจน                       3
   - สมมติฐานตรงกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์       2
ระหว่างเหตุและผลแต่ไม่ชัดเจน                      1
   - ตั้งสมมติฐานตรงกับปัญหาแต่ไม่แสดงความ
สัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล
   - สมมติฐานไม่สอดคล้องกับปัญหา
   1.3 การดำา เนิน การทดลอง
   - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องครบสมบูรณ์          4
   - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่        3
   - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องเป็นบางส่วน         2
   - ดำาเนินการทดลองไม่เหมาะสม                    1
  1.4 การวางแผนกำา หนดขั้น ตอนการทำา งาน
   - ระบุภาระงานและขั้นตอนการทำางานได้ชัดเจน      4
สอดคล้องกับจุดประสงค์
   - ระบุภาระงานได้บ้าง แต่ไม่ครบทุกขั้นตอน การ   3
ทำางานที่กำาหนดส่วนใหญ่เหมาะสมดี แผนการทำางาน
โดยรวมสอดคล้องกับจุดประสงค์ดี                     2
   - ระบุภาระงานและขั้นตอนการทำางานได้พอ
สมควร ขันตอนการทำางานบางส่วนไม่เหมาะสมกับจุด
           ้                                      1
ประสงค์
   - ไม่สามารถระบุภาระงาน ไม่ครบทุกขั้นตอน
แผนการทำางานไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์




เกณฑ์ก ารให้ค ะแนนการประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง เรื่อ ง
ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์ (ต่อ )

               รายการประเมิน                      ระดั
                                                   บ
                                                  คะแ
นน
2. การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง
  2.1 การใช้ว ัส ดุ อุป กรณ์ เครื่อ งมือ ในการ
ทดลอง                                                 4
   - ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ เครื่องมือได้ถูกต้องตามหลัก   3
การปฏิบัติ อย่างคล่องแคล่ว                            2
   - ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ เครื่องมือได้ถูกต้องตามหลัก   1
การปฏิบัติ แต่ไม่คล่องแคล่ว
   - ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ เครื่องมือได้บางส่วนแต่ไม่
คล่องแคล่ว
   - ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ เครื่องมือได้ไม่ถูกต้อง
   2.2 ทำา การทดลองตามขั้น ตอนที่ก ำา หนด
   - ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กำาหนดไว้อย่าง       4
ถูกต้อง                                               3
   - ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กำาหนดไว้โดยครู      2
เป็นผู้แนะนำาในบางส่วน                                1
   - ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กำาหนดไว้ หรือ
ดำาเนินการข้ามขั้นตอนที่กำาหนด
   - ไม่ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กำาหนดไว้
  2.3 การบัน ทึก ผลการทดลอง
   - บันทึกผล อย่างถูกต้องมีระเบียบ และเป็นไปตาม      4
การทดลอง                                              3
   - บันทึกผล ไม่ระบุหน่วย ไม่เป็นระเบียบ และเป็น     2
ไปตามการทดลอง                                         1
   - บันทึกผล ไม่มีการระบุหน่วย และไม่เป็นไปตาม
การทดลอง
   - ไม่มีการบันทึกผล
  2.4 ทำา ความสะอาดและจัด เก็บ อุป กรณ์
   - ดูแลอุปกรณ์/เครื่องมือทดลองอย่างดี มีการ         4
ทำาความสะอาดและเก็บอย่างถูกต้องตามหลักการ
   - ดูแลอุปกรณ์/เครื่องมือขณะทดลอง ทำาความ           3
สะอาด แต่เก็บไม่ถูกต้อง                               2
   - ดูแลอุปกรณ์/เครื่องมือบางส่วน แต่ไม่สนใจ         1
ทำาความสะอาดและเก็บให้เข้าที่
   - ไม่ดูแลอุปกรณ์/เครื่องมือและไม่สนใจทำาความ
สะอาด ไม่เก็บเข้าที่
เกณฑ์ก ารให้ค ะแนนการประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง เรื่อ ง
ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์ (ต่อ )

                                                    ระดั
                                                     บ
                รายการประเมิน
                                                    คะแ
                                                    นน
3. การนำา เสนอ
  3.1 การแปลความหมายข้อ มูล
   - บรรยายลักษณะข้อมูลตามข้อมูลที่มีอย่างถูกต้อง    4
   - บรรยายลักษณะข้อมูลตามข้อมูลที่มีถูกต้อง         3
พอใช้                                                2
   - บรรยายลักษณะข้อมูลตามข้อมูลที่มีถูกต้องบาง      1
ส่วน
   - บรรยายลักษณะข้อมูลนอกเหนือจากที่มี และไม่
ถูกต้อง
  3.2 การนำา เสนอผลการทดลอง
   - จัดกระทำาข้อมูลเข้าใจง่ายนำาเสนอผลการทดลอง      4
มีลำาดับขั้นตอนชัดเจนดีมาก                           3
   - จัดกระทำาข้อมูลเข้าใจง่ายนำาเสนอผลการทดลอง      2
มีลำาดับขั้นตอนชัดเจนพอใช้                           1
   - จัดกระทำาข้อมูลเข้าใจพอควร และนำาเสนอผล
การทดลองไม่มีลำาดับขั้นตอน
   - จัดกระทำาข้อมูลไม่เข้าใจ และนำาเสนอผลการ
ทดลองไม่มีลำาดับขั้นตอน
  3.3 การสรุป ผลการทดลอง
   - สรุปผลการทดลองด้วยตนเองได้ชัดเจนดีมาก           4
ครบถ้วนตรงตามจุดประสงค์                              3
- สรุปผลการทดลองได้ชัดเจนดี ค่อนข้างจะครบ                           2
      ถ้วนตรงตามจุดประสงค์                                                   1
         - สรุปผลการทดลองด้วยตนเองไม่ได้ทั้งหมด ต้อง
      ได้รับคำาแนะนำาเป็นบางส่วน
         - สรุปผลการทดลองไม่ได้
        3.4 การอภิป รายผลและข้อ แสนอแนะ
         - อภิปรายผลการทดลองถูกต้องและสอดคล้องกับ                            4
      จุดประสงค์ของการทดลอง                                                  3
         - อภิปรายผลการทดลองถูกต้องและสอดคล้องกับ                            2
      จุดประสงค์การทดลองเป็น                                                 1
            ส่วนใหญ่
         - อภิปรายผลการทดลองถูกต้อง แต่สอดคล้องกับ
      จุดประสงค์ของการทดลอง
            บางส่วน
         - อภิปรายผลการทดลองไม่ถูกต้อง และไม่
      สอดคล้องกับจุดประสงค์




                         แบบประเมิน คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์
     เรื่อ ง ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์ สาระการเรีย นรู้
                          วิท ยาศาสตร์ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1
                  ---------------------------------------------------------------
ชื่อ-สกุล..........................................................ชั้น .................เลขที่
.............................
คำา ชี้แ จง
        ทำาเครื่องหมาย  ลงในช่องตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดย
จำาแนกระดับ พฤติกรรมการแสดงออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้
ระดับ พฤติก รรมการแสดงออก
5 หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกอย่างสมำ่าเสมอตลอดเวลา
มากที่สุด
    4 หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงอย่างมาก
    3 หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกเป็นครั้งคราว
    2 หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกน้อยครั้ง
    1 หมายถึง ผู้เรียนไม่มีพฤติกรรมการแสดงออกเลย
    ส ถ า น ะ ข อ ง ผู้       ครูผู้สอน        นักเรียน
    ประเมิน

                                                 พฤติกรรมการ
                     รายการ                       แสดงออก
                                                5 4 3 2 1
     1. ความใฝ่ร ู้ใ ฝ่เ รีย น
          1.1 มีความใฝ่ใจและพอใจในการสืบ
     เสาะแสวงหาความรู้
          1.2 มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมและ
     เรื่องอื่นๆ
          1.3 ชอบทดลอง ค้นคว้า
          1.4 ชอบสนทนาซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อ
     ให้ได้ความรู้เพิ่มขึ้น
                        สรุป ( )
                               x




     2. ความมุ่ง มั่น ในการทำา งาน
          2.1 ยอมรับผลการกระทำาของตนเองทั้ง
     ที่เป็นผลดีและผลเสีย
          2.2 ทำางานที่ได้รับมอบหมายให้
     สมบูรณ์ตามกำาหนด
              และตรงเวลา
          2.3 ทำางานเต็มความสามารถ
          2.4 ไม่ท้อถอยในการทำางานเมื่อมี
     อุปสรรคหรือล้มเหลว
          2.5 มีความอดทนแม้การดำาเนินการแก้
     ปัญหาจะยุ่งยาก
              และใช้เวลา
                       สรุป ( )
                           x
พฤติกรรมการ
                          รายการ                                    แสดงออก
                                                                  5 4 3 2 1
 3. อยู่อ ย่า งพอเพีย ง
    3.1 ใช้เวลาในการปฏิบัติงานเป็นไป
 ตามที่กำาหนด (พอประมาณ)
    3.2 ใช้วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม
 ประหยัด และคุ้มค่า (พอประมาณ)
    3.3 อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอย่าง
 มีเหตุผล (มีเหตุผล)
    3.4 ยอมรับฟังคำาวิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้
 แย้งหรือข้อคิดเห็นของผูอื่น (มีเหตุผล)
                         ้
     3.5 มีการวางแผนการทำางานอย่าง
 รอบคอบ (ภูมิคุ้มกัน)
     3.6 จัดเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมและ
 ดำาเนินการทดลองด้วยความระมัดระวัง
 (ภูมิคุ้มกัน)
                  สรุป ( )         x




ความคิดเห็นเพิ่มเติม
.......................................................................................................
........
.......................................................................................................
..........................................

                (ลงชื่อ)                                 ผู้ประเมิน
                             (...........................................)
                          ............./.............../.............
แนวทางการนำา หลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย งมาใช้ใ นการจัด
                         กิจ กรรมการเรีย นรู้
  1. ผู้ส อนนำา หลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย งมาใช้ใ นการจัด
  กิจ กรรมการเรีย นรู้
       หลัก พอ
                                                มีภ ูม ิค ุ้ม กัน
  เพีย ง         พอประมาณ           มีเ หตุผ ล
                                                 ในตัว ที่ด ี
  ประเด็น
                 วิเคราะห์      ผู้เรียนเข้าใจ เรียงลำาดับ
                 หลักสูตร       ง่าย           เนื้อหาจาก
                 กำาหนด         สอดคล้องกับ ง่ายไปหายาก
                 เนื้อหา เหมาะ มาตรฐานและ เป็นเนื้อหาที่
                 สมกับ          ตัวชี้วัดที่   ใกล้ตัวผู้เรียน
     เนื้อ หา
                 มาตรฐาน ตัว กำาหนดไว้ใน
                 ชี้วัด บริบท หลักสูตร
                 ของท้องถิ่น
                 เวลาและวัย
                 ของผู้เรียน
                 กำา หนด        จัดการเรียนรู้ วางแผนการ
                 เวลาเหมาะ ได้ตาม              ใช้เวลาใน
                 สมกับ          กระบวนการ แต่ละกิจกรรม
                 กิจกรรม        ครบถ้วนตาม ให้รอบคอบ
                 เนื้อหา และ    ที่วางแผนไว้ เพื่อรองรับ
      เวลา
                 วัยของผู้เรียน                เหตุการณ์ที่
                                               อาจ
                                               เปลี่ยนแปลง
                                               ระหว่างจัด
                                               กิจกรรม
- แบ่งกลุ่มผู้   - ต้องการให้     - กำาหนด
               เรียนได้พอดี     ผู้เรียนได้      กิจกรรมการ
               กับจำานวน        ปฏิบัติกิจกรรม   เรียนรู้ที่
               นักเรียน         อย่างทั่วถึง     ชัดเจนจาก
               - กำาหนด         ตามความ          ง่ายไปหายาก
               กิจกรรมการ       สามารถ           และใช้สอน
วิธ ีก ารจัด   เรียนรู้เหมาะ    - ผู้เรียนเกิด   แทนได้
กิจ กรรม       สมกับเวลาที่     การเรียนรู้      - ครูมีความ
               กำาหนด           อย่างมี          รอบรู้ในเรื่อง
               - เหมาะสมกับ     ประสิทธิภาพ      ที่สอนจึง
               เนื้อหาและ       บรรลุตาม         ทำาให้การ
               การประเมิน       วัตถุประสงค์     เรียนรู้ของผู้
               ผล                                เรียนมี
                                                 ประสิทธิภาพ
               กำาหนดแหล่ง      ต้องการให้       จัดเตรียม
               เรียนรู้เหมาะ    นักเรียนใช้      แหล่งเรียนรู้
แหล่ง เรีย น   สมกับเนื้อหา     แหล่งเรียนรู้    ไว้ให้พร้อม
    รู้        กิจกรรม วัยผู้   ให้เกิด          ก่อนการ
               เรียน งบ         ประโยชน์         ทดลอง
               ประมาณ           และคุ้มค่า
               เวลา




     หลัก
                                                   มีภ ูม ิค ุ้ม กัน
พอเพีย ง        พอประมาณ            มีเ หตุผ ล
                                                    ในตัว ที่ด ี
ประเด็น
สื่อ /อุป กรณ์   - จัดเตรียมสื่อ   -ใช้สื่อ   -จัดเตรียม สือ่
                 อุปกรณ์           อุปกรณ์ได้  อุปกรณ์ให้
                 เอกสารต่าง ๆ      ประหยัดคุ้ม พร้อมก่อน
                 เหมาะสมกับ        ค่าและ มี   การจัด
                 กิจกรรม --        ประสิทธิภา  กิจกรรมการ
                 ปริมาณเพียง       พต่อการ     เรียนรู้
                 พอกับจำานวน       เรียนรู้   -มีลำาดับขั้น
                 นักเรียน                      ตอนการใช้
                 -ชนิดของสื่อ                  สื่อแต่ละชนิด
                 ขนาดของสื่อมี                 อย่างชัดเจน
                 ความเหมาะสม                  -จัดเก็บ
                 กับขนาด                       อุปกรณ์อย่าง
                 ห้องเรียน วัย                 เป็นระบบ
                 และเวลาที่                   -มีความ
                 กำาหนด                        ชำานาญใน
                                               การใช้สื่อ
                                               อุปกรณ์
                 - มีการ        - มีการ       -วางแผนการ
                 ออกแบบการวัด ออกแบบ           วัดและ
                 และประเมินผล เครื่องมือวัด ประเมินผล
                 ได้เพียงพอกับ และประเมิน เป็นขั้นตอน
                 ตัวชี้วัดและ   ผลที่          ชัดเจน
                 เหมาะสมกับ     สอดคล้อง      -แบบประเมิน
การประเมิน
                 เวลาและวัยผู้  กับเนื้อหาที่  ผลมีการ
      ผล
                 เรียน          ต้องการ วัด ตรวจสอบวัด
                                - บรรลุตัวชี้ และปรับปรุงมี
                                วัดที่กำาหนด ความเชื่อมั่น
                                ไว้ใน          เที่ยงตรงใน
                                หลักสูตร       การวัดตาม
                                               ตัวชี้วัด
                 1. ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ความรู้ท ี่ค รู 2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จำา เป็น ต้อ งมี 3. จิตวิทยาในการสอน
                 มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มี
  คุณ ธรรม
                 ความยุติธรรม ตรงต่อ เวลา
   ของครู
2. ผลที่เ กิด กับ ผู้เ รีย นสอดคล้อ งกับ หลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิจ
พอเพีย งจากการจัด การเรีย นรู้
2.1 ผู้เ รีย นได้เ รีย นรู้ห ลัก คิด และฝึก ปฏิบ ัต ิต ามหลัก 3 ห่ว ง 2
เงื่อ นไข ดัง นี้
                                                           มีภ ูม ิค ุ้ม กัน ใน
                    พอประมาณ              มีเ หตุผ ล
                                                                 ตัว ที่ด ี
                  1. นักเรียน         นักเรียนมี        1.นักเรียนรู้จัก
                  กำาหนดหน้าที่       เหตุผลในการ การวางแผนการ
                  ของสมาชิก           แบ่งงาน           ทำางานและมอบ
                  ภายในกลุ่มได้       ทำางานตาม         หมายงานให้
                  เหมาะสมกับ          ลำาดับขั้นตอน สมาชิกภายใน
                  ศักยภาพของ          ที่ได้รับมอบ      กลุ่มได้เหมาะสม
                  แต่ละคน             หมายจาก           กับความสามารถ
                  2. นักเรียนเลือก กลุ่ม                ของแต่ละบุคคล
                  ใช้วัสดุอุปกรณ์                       2. นักเรียนเรียนรู้
                  ในการทดลอง                            ที่จะเลือกใช้และ
                  ได้พอดีกับ                            จัดเตรียมวัสดุ
หลัก พอเพีย ง กิจกรรมการ                                อุปกรณ์การ
                  ทดลอง                                 ทดลองได้พร้อม
                  3. นักเรียนใช้                        ถูกต้องและตรง
                  เวลาในการทำา                          ตามกิจกรรมการ
                  กิจกรรมการ                            ทดลองการ
                  เรียนรู้ได้พอดี                       ทดสอบสาร
                  กับเวลาที่                            อาหาร
                  กำาหนด                                3. ศึกษาใบความ
                                                        รู้ก่อนการปฏิบัติ
                                                        อย่างรอบคอบ
                                                        4. ศึกษาลำาดับขั้น
                                                        ตอนการทดลอง
                                                        จนเข้าใจก่อนการ
                                                        ทดลอง
ความรู้ท ี่ต ้อ ง 1. ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
     มีก ่อ นเรีย น 2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
                       1. ความสามัคคีในกลุ่ม 2. ความรับผิดชอบ มีวินัย
                       ในการทำางานกลุ่ม
                       3. มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมหลังการจัดเก็บ
      คุณ ธรรม
                       วัสดุอุปกรณ์
                       4. รักษาความสะอาด
                       5. ความซื่อสัตย์ในการบันทึกผลการทดลองที่ได้




2.2 ผู้เ รีย นได้เ รีย นรู้ก ารใช้ช ีว ิต ที่ส มดุล และพร้อ มรับ การ
เปลี่ย นแปลงใน 4 มิต ิต ามหลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอพีย ง
        ด้า น    สมดุล และพร้อ มรับ การเปลี่ย นแปลงในด้า น
                                          ต่า ง ๆ
        องค์
                                                        สิ่ง  วัฒ นธ
       ประกอ           วัต ถุ        สัง คม
                                                   แวดล้อ ม    รรม
          บ
       ความรู้ 1. รู้วิธีการ     มีความรู้         มีความรู้
                ศึกษาส่วน        ในการ             ในการใช้
                ประกอบของ วางแผน                   และจัดเก็บ
                เซลล์พืชและ การทำางาน วัสดุ
                เซลล์สัตว์       ในกลุ่ม           อุปกรณ์ที่
                2. มีความรู้                       ไม่ทำาลาย
                ในการใช้                           สิ่ง
                วัสดุอุปกรณ์                       แวดล้อม
                ในการ
                ทดลอง
3. มีความรู้
            ในการเก็บ
            ล้างวัสดุ
            อุปกรณ์ได้ถูก
            ต้อง เหมาะ
            สมปลอดภัย
            1. มีทักษะใน     1. ทำางาน     ใช้วัสดุ
            การใช้วัสดุ      ร่วมกัน       อุปกรณ์
            อุปกรณ์อย่าง     ภายใน         และสาร
            ประหยัด คุ้ม     กลุ่มได้      เคมีในการ
            ค่าและ           อย่าง         ทดลอง
            ปลอดภัย          เหมาะสม       ด้วยความ
ทัก ษะ
            2. เลือกใช้      2. มีทักษะ    ระมัดระวัง
            วัสดุ อุปกรณ์    ในการ         โดยไม่
            ได้เหมาะสม       อภิปราย       ทำาลายสิ่ง
            กับการ           ภายในกลุ่ม    แวดล้อม
            ทดลอง            เพื่อหาข้อ
                             สรุปได้
            1. ตระหนักถึง    1.มีความรับ   ตระหนักถึง
            ผลกระทบที่เกิด   ผิดชอบต่อ     ความสำาคัญ
            จากการใช้วัสดุ   การทำางาน     ของการ
            อุปกรณ์ในการ     ของกลุ่ม      อนุรักษ์สิ่ง
ค่า นิย ม
            ปฏิบติงาน
                  ั          2. ความ       แวดล้อมที่
            2. รักษาความ     สามัคคีใน     ไม่มีมลภาวะ
            สะอาดของวัสดุ    กลุ่ม
            อุปกรณ์




                                     ภาพเซลล์พ ืช
ภาพเซลล์ส ัต ว์
ชื่อ..................................................................ชั้น................................
    ..เลขที่..................................
 รายวิช า                               ใบกิจ กรรม                         ชั้น มัธ ยมศึก ษาปี
 วิท ยาศาสตร์ เรื่อ งส่ว นประกอบของเซลล์ ที่ 1
 รหัส วิช า                        พืช และเซลล์ส ัต ว์                     ภาคเรีย นที่ 1
 ว 21101
 จุด ประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและบอกหน้าที่ของ
 ส่วนประกอบของส่วนประกอบของเซลล์
                   พืชและเซลล์สัตว์ได้
 คำา ชี้แ จง. ให้นักเรียนสังเกต รูปภาพเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ แล้วบอก
 สิ่งที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน

                                           เปรีย บเทีย บ

                 เซลล์ส ัต ว์                                    สิ่ง ที่เ ปรีย บเทีย บ
         เซลล์พ ืช
………………………………………………                                                                       รูปร่าง
                ......................................................
......................................................                      ผนังเซลล์
......................................................
......................................................                    เยื่อหุ้มเซลล์         ....
.....................................................
......................................................                    คลอโรพลาสต์
......................................................
......................................................                    แวคิวโอล
......................................................
......................................................                    เซนทริโอล
......................................................


                                                  จับ คู่


       1. ผนังเซลล์............................................. A. ควบคุมกรผ่าน
           เข้าออกของสารระหว่างภายในเซลล์
                                                      และภายนอกเซลล์หรือมีสมบัติเป็น
                                                 เยื่อเลือกผ่าน
2. เยื่อหุ้มเซลล์ ............................................. B. ป้องกันส่วนต่าง ๆ
ที่อยู่ภายในเซลล์และช่วยรักษา
                                                       รูปทรงของเซลล์ให้คงอยู่
        3. เซนทริโอล ............................................ C. ควบคุมการ
เคลื่อนไหวของซิเลียและแฟลกเจลลา
        4. กอลจิบอดี ............................................ D. สังเคราะห์
        โปรตีนและเอนไซม์ ควบคุมการลำาเลียงสาร
                                                        ระหว่างนิวเคลียสกับไซโทพลาซึม
        5. ร่างแหเอนโดพลาซึม................................. E. เก็บสารที่ร่างแห
        เอนโดพลาซึมสร้างขึ้น
        6. คลอโรพลาสต์ .........................................        F. ควบคุมการ
        ทำางานของเซลล์และการถ่ายทอดลักษณะ
                                                       ทางพันธุกรรม
        7. ไมโทคอนเดรีย......................................... G. เป็นแหล่ง
        สังเคราะห์ด้วยแสงในเซลล์พืช
        8. นิวเคลียส.................................................. H. เป็นแหล่งสร้าง
        พลังงานให้แก่เซลล์โดยกระบวนการ
                    หายใจระดับเซลล์

                                       ลงชื่อ...........................................ผูสอน
                                                                                          ้
                                          (……………………………………)


   ชื่อ..................................................................ชั้น................................
   ..เลขที่..................................
 รายวิช า                                ใบงาน เรื่อ ง                           ชั้น มัธ ยมศึก ษา
 วิท ยาศาสตร์             ส่ว นประกอบและหน้า ที่ข องส่ว น ปีท ี่ 1
 รหัส วิช า                ประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ ภาคเรีย นที่ 1
 ว 21101                                        สัต ว์
คำา ชี้แ จง. ให้นักเรียนศึกษาเอกสารเรื่อง ขนาด รูปร่างและส่วนประกอบและ
หน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้ให้
ถูกต้อง สมบูรณ์

   1. เซลล์สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีขนาดและรูปร่างเหมือนหรือแตกต่างกัน
   ……………………………………………………………………………
   ……………………………………………………………………………
   …………
   2. โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ประกอบด้วยอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………
 …………
 ……………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………
 ………..
 3. ผนังเซลล์ทำาหน้าที่อะไร
    …………………………………………………………………………
    …………………………………………………………………………
    ………..
 4. เยื่อหุ้มเซลล์ทำาหน้าที่
    อะไร……………………………………………………………………
    ………………………………………………….
 5. ส่วนประกอบของเซลล์ที่พบในไซโทพลาซึม ได้แก่อะไรบ้าง
 ……………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………
 ………..
 ……………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………
 ………..
 6. ส่วนประกอบที่พบเฉพาะในเซลล์พืช ได้แก่อะไรบ้าง
    …………………………………………………………………………
    …..
 7. นิวเคลียสมีลักษณะเป็นอย่างไร และทำาหน้าที่
    อะไร……………………………………………………………………
    ………………
 ……………………………………………………………………………
 ……………………………………………………………………………
 ……….
 8. จงบอกลักษณะและหน้าที่ของเซลล์ต่อไปนี้
    เซลล์ขนราก
    ลักษณะ…………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..
    หน้าที่……………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..
    เซลล์เม็ดเลือดแดง
    ลักษณะ…………………………………………………………………
………………………………………………………………………….
    หน้าที่……………………………………………………………………
……………………………………………………………..…………..
เซลล์เม็ดเลือดขาว
  ลักษณะ…………………………………………………………………
…………………………………………………………………………
  หน้าที่……………………………………………………………………
……………………………………………………..…………………..
  เซลล์ประสาท
  ลักษณะ…………………………………………………………………
………………………………………………………………..…………
  หน้าที่……………………………………………………………………
…………………………………………………………………………..

                                      ลงชื่อ......................................ผู้
                                สอน
                                           (……………………….
  …………….)




วิช าวิท ยาศาสตร์        แบบทดสอบ ตัว ชี้ว ัด ที่ 2 ชั้น มัธ ยมศึก ษา
รหัส ว 21101                                              ปีท ี่ 1
  สัง เกต เปรีย บเทีย บส่ว นประกอบสำา คัญ ของเซลล์พ ืช และเซลล์
                                  สัต ว์
1. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีลักษณะ 6.ในเซลล์พืชจะมีเม็ดกลมรีสีเขียว
แตกต่างกันอย่างไร                    กระจายอยู่ เม็ดดังกล่าว เรียกว่า
  ก. เซลล์พืชมีลักษณะกลมรี ส่วน อะไร
เซลล์สัตว์มีลีกษณะเป็นเหลี่ยม            ก. Vacuole
  ข. เซลล์พืชมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม      ข. Ribosome
ส่วนเซลล์สัตว์เป็น ทรงกลม                ค. Leucoplast
  ค. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มี             ง. Chloroplast
ลักษณะเหมือนกันมาก                   7. เซลล์พืชสามารถพบได้ที่ส่วนใด
  ง. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มี         ของพืช
ลักษณะรูปร่างนิวเคลียสที่แตกต่าง         ก. ที่ใบและลำาต้นเท่านั้น
กัน                                      ข. ที่ปลายใบและปลายราก
2. ส่วนประกอบใดที่พบเฉพาะใน          เท่านั้น
เซลล์สัตว์เท่านั้น                       ค. ที่ใบ ลำาต้น และปลายราก
   ก. กอลจิบอดี                      เท่านั้น
   ข. เยื่อหุ้มเซลล์                     ง. มีอยู่ทุกส่วนในพืช
   ค. แวคิวโอล                       8. เซลล์พืชแตกต่างจากเซลล์สัตว์
ง. เซนทริโอล                       ในข้อใด
3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่มีในเซลล์สัตว์        ก. มีผนังเซลล์
    ก. นิวเคลียส                         ข. มีคลอโรพลาสต์
    ข. เยื่อหุ้มเซลล์                    ค. สังเคราะห์อาหารได้เองทุก
    ค. ไซโทพลาสซึม                     เซลล์
    ง. คลอโรพลาสต์                       ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข
4. เหตุใดจึงกล่าวว่าเซลล์เป็นหน่วย     9. เซลล์พืชกับเซลล์สัตว์เมื่อนำาไป
พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต                  แช่ในนำ้ากลั่น เซลล์ใดจะแตกง่าย
    ก. เพราะทำาหน้าที่รองรับส่วนอื่น   กว่ากัน เพราะเหตุใด
    ข. เพราะเป็นหน่วยย่อยของสิ่งมี       ก. เซลล์พืชเพราะดูดนำ้าได้เร็ว
ชีวิตที่เล็กที่สุด                     กว่า
    ค. เพราะเป็นต้นกำาเนิดของสิ่งมี      ข. เซลล์พืชเพราะเยื่อหุ้มเปราะ
ชีวิต                                  กว่า
    ง. เพราะเป็นสิ่งแรกที่ถูกค้นพบ       ค. เซลล์สัตว์ เพราะไม่มีผนัง
5. ส่วนประกอบใดที่พบเฉพาะใน            เซลล์ที่มีเซลลูโลส
เซลล์พืช                                 ง. เซลล์สัตว์ เพราะไม่มี
     ก. คลอโรพลาสต์ ผนังเซลล์          คลอโรฟีลล์ทำาการ
     ข. คลอโรพลาสต์ นิวเคลียส                สังเคราะห์แสง
    ค. ไมโทคอนเดรีย นิวเคลียส          10. เซลล์สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ต้องพบ
    ง. กอลจิบอดี แวคิวโอล              ส่วนประกอบใดต่อไปนี้
                                            1. ผนังเซลล์       2. เยื่อหุ้ม
                                       เซลล์
                                            3. ไรโบโซม         4. เซนทริ
                                       โอล
                                            5. สารพันธุกรรม
                                         ก. 1, 2, 3
                                         ข. 2, 3, 4
                                         ค. 2, 3, 5
                                         ง. 2, 4, 5




วิช าวิท ยาศาสตร์  แบบทดสอบ ตัว ชี้ว ัด ที่ 3 ชั้น มัธ ยมศึก ษา
รหัส ว 21101                                     ปีท ี่ 1
 ทดลองและอธิบ ายหน้า ที่ข องส่ว นประกอบที่ส ำา คัญ ของเซลล์พ ืช
                      และเซลล์ส ัต ว์
1. ข้อใดมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน   6. นิวเคลียสมีความสำาคัญต่อเซลล์
   ก. แวคิวโอล                       อย่างไร
   ข. ผนังเซลล์                          ก. ควบคุมการเจริญเติบโตของ
   ค. เยื่อหุ้มเซลล์                 เซลล์
   ง. ไซโทพลาซึม                         ข. เป็นแหล่งที่มีการสังเคราะห์
2. ส่วนประกอบของเซลล์ส่วนใดที่       ด้วยแสง
ทำาหน้าที่เป็น                           ค. เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้
   แหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์      เซลล์
   ก. นิวเคลียส                          ง. ถูกทุกข้อ
   ข. ไมโทคอนเดรีย                   7. เยื่อหุ้มเซลล์มีความสำาคัญต่อการ
   ค. คลอโรพลาสต์                    มีชีวิตของเซลล์
   ง. ออร์แกเนล                      เนื่องจากสาเหตุใด
3. ข้อใดไม่ใช่ความสำาคัญของ              ก. เป็นที่สังเคราะห์โปรตีน
นิวเคลียส                                ข. ทำาให้เกิดรูปร่างของเซลล์
   ก. ควบคุมการทำางานของเซลล์            ค. เป็นที่มีการสังเคราะห์อาหาร
   ข. ควบคุมะการถ่ายทอดลักษณะ        ให้แก่เซลล์
ทางพันธุกรรม                             ง. สารทุกชนิดที่ผ่านเข้าออก
   ค. ควบคุมการผ่านเข้าออกของ        เซลล์ผ่านทาง
สาร                                         เยื่อหุ้มเซลล์
   ง. เป็นที่สร้างพันธุกรรม          8. ผนังเซลล์(cell wall) ประกอบ
4. ส่วนประกอบใดที่ทำาหน้าที่         ด้วยสารใดเป็นสำาคัญ
ป้องกันส่วนต่าง ๆที่อยู่                 ก. เซลลูโลส
  ภายในเซลล์ของพืช                       ข. นิวเคลียส
   ก. กอลจิบอดี                          ค. ไขมัน
   ข. ผนังเซลล์                          ง. คาร์โบไฮเดรต
   ค. คลอโรพลาสต์                    9. การสังเคราะห์โปรตีนเกิดขึ้นที่
   ง. เซนทริโอล                      ส่วนใดของเซลล์
5. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของผนังเซลล์         ก. ไลโซโซม
  ก. สร้างมาจากสารเซลลูโลส               ข. ไรโบโซม
  ข. มีช่องให้สารผ่านเข้าออกได้          ค. กอลจิบอดี
  ค. ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรง           ง. ไมโทคอนเดรีย
แก่เซลล์                             10. “ยีน” หมายถึงหน่วยที่ใช้
  ง. เป็นแหล่งสังเคราะห์โปรตีน       ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม โดย
                                     พบยีนที่ส่วนใดของเซลล์
                                         ก. ไซโทพลาซึม
                                         ข. เยื่อหุ้มนิวเคลียส
                                         ค. โครโมโซม
                                         ง. เยื่อหุ้มเซลล์
การประเมิน
          ชิ้น งาน                        คำา อธิบ ายคุณ ภาพ
๑. แผนภาพความคิด           บอกลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมี
วิเคราะห์ลักษณะของสิ่งมี   ชีวิตเซลล์เดียวและ
ชีวิตเซลล์เดียวและหลาย     สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้ถูกต้อง สมบูรณ์
เซลล์
๒. ใบกิจกรรมเรื่อง ส่วน    บอก
ประกอบของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์
๓. แผนภาพความคิด
วิเคราะห์เปรียบเทียบ
ลักษณะของเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์
๔. ใบงาน เรื่อง ขนาด       ตอบคำาถามเกี่ยวกับขนาด รูปร่าง และส่วน
รูปร่าง และส่วนประกอบ      ประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ถูกต้อง
ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์   สมบูรณ์
๕. รายงานผลการทดลอง        เขียนรายงานผลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรมการ
                           ทดลองได้ถูกต้อง
                           สมบูรณ์

More Related Content

What's hot

1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงWann Rattiya
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่Wann Rattiya
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศWann Rattiya
 
3. แผน กล้อง ม.1
3. แผน   กล้อง ม.13. แผน   กล้อง ม.1
3. แผน กล้อง ม.1
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชWann Rattiya
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
Prachoom Rangkasikorn
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
bankfai1330
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
นราพร ผิวขำ
 

What's hot (20)

1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
10. ชุดที่ 7 การเจริญเติบโต
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
 
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
9. ชุดที่ 6 การสืบพันธุ์ของพืช
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
 
3. แผน กล้อง ม.1
3. แผน   กล้อง ม.13. แผน   กล้อง ม.1
3. แผน กล้อง ม.1
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
01 เมล็ดพืชและการเจริญเติบโต
 

Similar to แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1

Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
atthaniyamai2519
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1korakate
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdfแผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
ssuserbb6785
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตเร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตkooda112233
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4supphawan
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาkrulam007
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
prakan1234
 

Similar to แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1 (20)

Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม1
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdfแผนออนไลน์ ม1-3.pdf
แผนออนไลน์ ม1-3.pdf
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตเร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
 
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
หลักสูตรระดับชั้นเรียน51
 
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
กิจกรรมการพัฒนาการอ่านคิดวิเคราะห์และเขียน 4
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษาแบบฝึกหัดสุขศึกษา
แบบฝึกหัดสุขศึกษา
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 

แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1

  • 1. แผนการจัด การเรีย นรู้เ พื่อ เสริม สร้า งคุณ ลัก ษณะอยู่อ ย่า งพอเพีย ง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 รายวิชาวิทยาศาสตร์ รหัสวิชา ว 21101 ภาคเรียน ที่ 1/2555 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ส่วนประกอบและหน้าที่ของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ จำานวน 2 ชั่วโมง ------------------------------------------------------------------------ -- 1. มาตรฐานการเรีย นรู้ / ตัว ชี้ว ัด มาตรฐานการเรีย นรู้ ว 1.1 เข้าใจหน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทำางานสัมพันธ์กันมีกระบวนการสืบเสาะค้นคว้าหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนำาความรู้ ความเข้าใจไปใช้ในการดำารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ตัว ชี้ว ัด ชั้น ปี ม.1/3 ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์ สัตว์ 2. ความคิด รวบยอด (ความเข้า ใจที่ล ึก ซึ้ง ) ผู้เรียนเข้าใจว่า การได้เรียนรู้จากการสังเกต อธิบาย เปรียบ เทียบ ทดลอง และสรุปความคิด รวบยอดของส่วนประกอบที่สำาคัญและหน้าที่ของส่วนประกอบที่สำาคัญของ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ จะทำาให้รู้ว่าสิ่งมีชีวิตประกอบด้วยเซลล์เพียงเซลล์ เดียว แต่บางชนิดประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ ซึ่งสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ และเซลล์ของพืชและสัตว์ที่เป็นสิ่งมีชีวิตหลาย เซลล์ มีส่วนประกอบที่มีหน้าที่ที่สำาคัญแตกต่างกัน 3. จุด ประสงค์ก ารเรีย นรู้ 3.1 ทดลองเพื่อศึกษาส่วนประกอบที่สำาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 3.2 บอกส่วนประกอบที่สำาคัญและหน้าที่ของส่วนประกอบที่สำาคัญของ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ 3.3 มีจิตวิทยาศาสตร์
  • 2. 4. สาระการเรีย นรู้ ส่วนประกอบที่สำาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 5.สมรรถนะสำา คัญ 5.1 ความสามารถในการคิด 5.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 6. คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 อยู่อย่างพอเพียง 6.3 มุ่งมั่นในการทำางาน 6.4 มีจิตวิทยาศาสตร์ 7. ภาระงาน / ชิ้น งาน 7.1 ภาระงาน 7.1.1 การเปรียบเทียบลักษณะของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 7.1.2 การทดลองศึกษาส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 7.2 ชิ้น งาน 7.2.1 แผนภาพความคิดวิเคราะห์เปรียบเทียบลักษณะของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ 7.2.2 ใบกิจกรรมเรื่อง ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 7.2.3 ใบงาน เรื่อง ขนาด รูปร่าง และส่วนประกอบของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ 7.2.4 รายงานผลการทดลอง 8. กิจ กรรมการเรีย นรู้ ชั่ว โมงที่ 1 8.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเพื่อทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับสิ่ง มีชีวิตหลายเซลล์ในประเด็นต่อไปนี้ - สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้แก่สิ่งมีชีวิตชนิดใดบ้าง
  • 3. - นักเรียนคิดว่าเซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบที่สำาคัญ เหมือนหรือแตกต่างกัน 8.2 ครูอธิบายวิธีการศึกษาส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ตามขั้นตอนวิธีการทดลองในใบกิจกรรม 8.3 นักเรียนแต่ละกลุ่ม (นักเรียนแบ่งกลุ่มในชั่วโมงที่แล้วกลุ่มละ 6-8 คน โดยแบ่งหน้าที่ตามความ เหมาะสมกับความสามารถในการทดลอง ) ปฏิบัติกิจกรรมการ ทดลองตามขั้นตอน (นัก เรีย นใช้เ หตุผ ล ในการทดลองตามขั้น ตอนด้ว ยความระมัด ระวัง รอบคอบ) โดยใช้วัสดุอุปกรณ์ในท้องถิ่นบางอย่างที่ครู มอบหมายให้จัดเตรียมมาจากบ้าน ได้แก่ หัวหอมแดง ใบว่าน กาบหอย สาหร่ายหางกระรอก (เกิด ความพอประมาณในค่า ใช้จ ่า ย ) บันทึกผลและสรุปผล 8.4 นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนรายงานผลการทดลอง และเตรียมนำา เสนอผลการทดลองหน้าชั้นเรียนในชั่วโมง ต่อไป โดยให้นักเรียนเตรียมตัว 5 นาที (เป็น การสร้า งภูม ิค ุ้ม กัน การนำา เสนอของนัก เรีย น การตรวจสอบ คุณ ธรรมด้า นความรับ ผิด ชอบและความสามัค คีใ นกลุ่ม ของนัก เรีย น) ชั่ว โมงที่ 2 8.5 สุ่มนักเรียน 3 กลุ่มนำาเสนอรายงานผลการทดลองหน้าชั้นเรียน 8.6 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปผลจากการทดลอง โดย ใช้คำาถามดังนี้ - รูปร่างของเซลล์หัวหอมแดง เซลล์สาหร่ายหางกระรอก และ เซลล์ใบว่านกาบหอยมีลักษณะ เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร - เซลล์ใบว่านกาบหอยมีลักษณะแตกต่างจากเซลล์พืชชนิดอื่น อย่างไร - เซลล์หัวหอมแดงต่างจากเซลล์สาหร่ายหางกระรอกอย่างไร
  • 4. - ลักษณะของเซลล์เยื่อบุข้างแก้มกับเซลล์ใบว่านกาบหอยต่างกัน อย่างไร 8.7 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับส่วนประกอบที่สำาคัญของ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ 8.8 นักเรียนศึกษาเปรียบเทียบส่วนประกอบสำาคัญของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์จากเอกสารประกอบ การเรียนในใบกิจกรรมที่ครูแจกให้ 8.9 ครูนำาอภิปรายเพื่อสรุปความคิดรวบยอดเกี่ยวกับส่วนประกอบ สำาคัญของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ โดยใช้รูปภาพเซลล์พืชและเซลล์สัตว์และคำาถามดังนี้ - เซลล์พืชทุกเซลล์มีส่วนประกอบที่เหมือนกันใช่หรือไม่ - เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนประกอบใดบ้างที่เหมือนกันและ ส่วนประกอบใดที่แตกต่างกัน 8.10 ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนซักถามเรื่องที่ยังไม่เข้าใจหรือมีข้อ สงสัย ถ้ามี ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม 8.11 ครูแนะนำาให้นักเรียนที่สนใจสามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจาก ห้องสมุด จากวารสารวิทยาศาสตร์ สารานุกรม หนังสือเรียนวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรืออินเตอร์เน็ต เป็นต้น 9. สื่อ การเรีย นและแหล่ง การเรีย นรู้ 9.1 สื่อ การเรีย นรู้ 9.1.1 วัสดุอุปกรณ์ประกอบการทดลอง 9.1.2 เอกสารประกอบการการเรียน เรื่องส่วนประกอบของเซลล์ พืชและเซลล์สัตว์ 9.1.3 ใบกิจกรรมการทดลอง 9.1.4 รายงานผลการทดลอง 9.2 แหล่ง การเรีย นรู้ 9.2.1 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ 9.2.2 ท้องถิ่นของนักเรียน
  • 5. 10. การวัด ผลและการประเมิน ผล การวัด ผลและการ วิธ ีก ารวัด เครื่อ งมือ วัด เกณฑ์ก าร ประเมิน ผลด้า น ผ่า น บอกหน้าที่และส่วน - สังเกตจากการ แบบทดสอบ ได้คะแนน ประกอบที่สำาคัญของ ตอบคำาถาม เฉลี่ยร้อยละ เซลล์พืชและเซลล์ - ทดสอบ 70 ขึนไป ้ สัตว์ได้ ผ่านเกณฑ์ ทดลองเพื่อศึกษาส่วน - สังเกตจากการ - แบบสังเกตการ ได้คะแนน ประกอบที่สำาคัญของ ปฏิบัติ ทดลอง เฉลี่ยร้อยละ เซลล์พืชและเซลล์ การทดลอง - แบบประเมิน 70 ขึนไป้ สัตว์ - ตรวจรายงานผล รายงาน ผ่านเกณฑ์ การ ผลการทดลอง ทดลองได้ - ใฝ่เรียนรู้ - การสังเกต แบบสังเกต ได้คะแนน - อยู่อย่างพอเพียง พฤติกรรมความ พฤติกรรมความ เฉลี่ยร้อยละ - มุ่งมั่นในการทำางาน สนใจและตั้งใจ สนใจและตั้งใจ 70 ขึนไป ้ - มีจิตวิทยาศาสตร์ เรียน เรียน ผ่านเกณฑ์ 11. บัน ทึก ผลการจัด กิจ กรรมการเรีย นรู้ ผลการจัดการเรียนรู้ที่กำาหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้ 1.1.1 จุดประสงค์การเรียนรู้ (K,P,A) ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ………….
  • 6. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. 1.1.2 สมรรถนะ ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. 1.1.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ………….
  • 7. 11.2 ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. 11.3 แนวทางแก้ไข / พัฒนา ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… …………. ลงชื่อ..................................................ผู้สอน (……………………………………………..)
  • 8. รายวิช า ใบกิจ กรรมการทดลอง ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1 วิท ยาศาสตร์ เรื่อ ง การศึก ษาเซลล์ ภาคเรีย นที่ 1 รหัส วิช า พืช และเซลล์ส ัต ว์ ประกอบแผนการ ว 21101 จัด การเรีย นรู้ท ี่ จุด ประสงค์ เพื่อให้นักเรียนรู้จักการศึกษา ค้นคว้า แสวงหาคำาตอบ เกี่ยวกับเรื่องรูปร่างและส่วนประกอบของ เซลล์พืช คำา ชี้แ จง. ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมการทดลองตามขั้นตอนต่อไปนี้ ตอนที่ 1 เซลล์เ ยื่อ หอม วิธ ีก ารทดลอง 1. ตัดหัวหอมชิ้นเล็ก ๆ มาชิ้นหนึ่ง ใช้ปากคีบหรือเล็บมือลอกผิวชั้นใน ออก 2. วางชิ้นเยื่อหอมลงบนแผ่นสไลด์และหยดสารละลายไอโอดีนลงไป ๒ หยดแล้วค่อย ๆวางกระจกปิดสไลด์ ปิดทับเยื่อหัวหอม 3. วางแผ่นสไลด์ลงบนแท่นวางวัตถุของกล้องจุลทรรศน์ปรับภาพให้เห็น ชัดเจน 4. สังเกตส่วนประกอบของเซลล์และวาดรูปเซลล์เยื่อหอม ตอนที่ 2 เซลล์ส าหร่า ยหางกระรอก วิธ ีก ารทดลอง
  • 9. 1. เด็ดใบอ่อนของสาหร่ายหางกระอกมา 1 ใบ วางลงบนแผ่นสไลด์ แล้ว หยดนำ้าลงไป 2-3 หยด 2. ค่อย ๆวางกระจกปิดสไลด์บนหยดนำ้า 3. ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ 3 – 4 ในตอนที่ 1 ตอนที่ 3 เซลล์ผ ิว ใบว่า นกาบหอย วิธ ีก ารทดลอง 1. ตัดใบว่านกาบหอยชิ้นเล็ก ๆ มาชิ้นหนึ่ง ใช้ปากคีบหรือเล็บมือลอก ผิวด้านหลังใบ (สีม่วง) ออกมา 2. วางชิ้นเยื่อใบว่านกาบหอยลงบนแผ่นสไลด์ หยดนำ้าลงไป 2 - 3 หยด แล้วค่อย ๆ วางกระจกปิดสไลด์บนหยดนำ้า 3. ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ 3 – 4 ในตอนที่ 1 ตอนที่ 4 เซลล์เ ยื่อ บุข ้า งแก้ม วิธ ีก ารทดลอง 1. เตรียมสำาลีพันปลายไม้ ใช้ปลายข้างที่พันสำาลีถูข้างแก้มด้านในเบา ๆ 2. ป้ายสำาลีลงบนแผ่นสไลด์ หยดสารละลายเมทิลีนบลูบริเวณที่ป้ายสำาลี ไว้ แล้วค่อย ๆ ปิดทับด้วยกระจกปิดสไลด์ 3. ปฏิบัติเช่นเดียวกับข้อ 3 – 4 ในตอนที่ 1 แบบรายงานผลการการทดลอง เรื่อ ง ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์ ชื่อ กลุ่ม ................................................................ ชั้น ............................ ชื่อสมาชิก เลข ภาระงานที่รับผิดชอบ ที่ ........................................ ..... ................................. ........................................ ..... ................................. ........................................ ..... ................................. ........................................ ..... ................................. ........................................ ..... ................................. ........................................ ..... ................................. ........................................ ..... ................................. ........................................ ..... .................................
  • 10. .................... ..... ..................... ........................................ ..... ................................. ............................ ........... ..... ................................. ........................................ ..... ................................. ................. ... ............... กำา หนด ปัญ หา.................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... .......................................................... ตั้ง สมมติฐ าน.............................................................................................. .................................................…………………………………………… ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ……… วัส ดุอ ุป กรณ์ ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... .............................................................................................. ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... .............................................................................................. ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................................................... ..........................................................................................
  • 11. บัน ทึก ผลการทดลอง ภาพเซลล์ท ี่ม องเห็น จาก ส่ว นประกอบของเซลล์ท ี่พ บ (วาดภาพ กล้อ งจุล ทรรศน์ เซลล์) เซลล์เยื่อหัวหอมแดง เซลล์สาหร่ายหางกระรอก เซลล์ผิวใบว่านกาบหอย เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม
  • 12. คำา ถามหลัง การทดลอง 1. รูปร่างของเซลล์เยื่อหัวหอม เซลล์สาหร่ายหางกระรอก และเซลล์ผิวใบ วานกาบหอยมีลักษณะคล้ายกันอย่างไร ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... 2. เซลล์ผิวใบว่านกาบหอยมีลักษณะแตกต่างจากเซลล์พืชชนิดอื่นอย่างไร ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... 3. เซลล์เยื่อหัวหอมต่างจากเซลล์สาหร่ายหางกระรอกอย่างไร ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... .....................................................................
  • 13. 4. เซลล์เยื่อบุข้างแก้มมีส่วนประกอบอะไรบ้าง ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... 5. ลักษณะของเซลล์เยื่อบุข้างแก้มกับเซลล์ผิวใบว่านกาบหอยต่างกัน อย่างไร ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... ........................................................................................................... ..................................................................... สรุป ผลการทดลอง ............................................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................... ...............................................................................
  • 14. แบบประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง เรื่อ ง ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1 --------------------------------------------------------------- ชื่อกลุ่ม.......................................................ชั้น ...................วัน ที่............................................. คำา ชี้แ จง ทำาเครื่องหมาย  ลงในช่องตรงกับระดับพฤติกรรมที่นักเรียน แสดงออกตามเกณฑ์ที่กำาหนด คะแนนที่ไ ด้ ข้อ เสนอ รายการพฤติก รรม 4 3 2 1 แนะ 1. การวางแผนการ ทดลอง 1.1 การกำาหนดปัญหา 1.2 การตั้งสมมติฐาน 1.2 การดำาเนินการทดลอง 1.3 การวางแผนกำาหนดขั้น ตอนการทำางาน 2. การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง 2.1 ใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่อง มือในการทดลอง 2.2 ทำาการทดลองตามขั้น ตอนที่กำาหนด 2.3 การบันทึกผลการ ทดลอง 2.4 ทำาความสะอาดและเก็บ วัสดุ อุปกรณ์ 3. การนำา เสนอ 3.1 การแปลความหมาย ข้อมูล 3.2 การนำาเสนอผลการ ทดลอง 3.3 การสรุปผลการทดลอง 3.4 การอภิปรายและข้อ เสนอแนะ รวม ร้อ ยละ ความคิด เห็น เพิ่ม เติม
  • 15. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ……… ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ………. ……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………… ………. (ลงชื่อ) ผู้ประเมิน เกณฑ์ก ารให้ค ะแนนการประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง เรื่อ ง ส่ว น ประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์ กลุ่ม สาระการเรีย นรู้ว ิท ยาศาสตร์ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1 ระดั บ รายการประเมิน คะแ นน 1. การวางแผนการทดลอง 1.1 การกำา หนดปัญ หา - กำาหนดปัญหาได้ชัดเจน ครอบคลุมกับเรื่องที่ 4 ศึกษาดีมาก 3 - กำาหนดปัญหาได้ไม่ชัดเจน ครอบคลุมกับเรื่องที่ 2 ศึกษาเพียงบางส่วน 1 - กำาหนดปัญหาได้บ้าง แต่ไม่ครอบคลุมกับเรื่องที่ ศึกษา - กำาหนดปัญหาไม่ได้ 1.2 กำา หนดปัญ หาและตั้ง สมมติฐ าน - สมมติฐานตรงกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์ 4
  • 16. ระหว่างเหตุและผลอย่างชัดเจน 3 - สมมติฐานตรงกับปัญหาและแสดงความสัมพันธ์ 2 ระหว่างเหตุและผลแต่ไม่ชัดเจน 1 - ตั้งสมมติฐานตรงกับปัญหาแต่ไม่แสดงความ สัมพันธ์ระหว่างเหตุและผล - สมมติฐานไม่สอดคล้องกับปัญหา 1.3 การดำา เนิน การทดลอง - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องครบสมบูรณ์ 4 - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ 3 - ดำาเนินการทดลองได้ถูกต้องเป็นบางส่วน 2 - ดำาเนินการทดลองไม่เหมาะสม 1 1.4 การวางแผนกำา หนดขั้น ตอนการทำา งาน - ระบุภาระงานและขั้นตอนการทำางานได้ชัดเจน 4 สอดคล้องกับจุดประสงค์ - ระบุภาระงานได้บ้าง แต่ไม่ครบทุกขั้นตอน การ 3 ทำางานที่กำาหนดส่วนใหญ่เหมาะสมดี แผนการทำางาน โดยรวมสอดคล้องกับจุดประสงค์ดี 2 - ระบุภาระงานและขั้นตอนการทำางานได้พอ สมควร ขันตอนการทำางานบางส่วนไม่เหมาะสมกับจุด ้ 1 ประสงค์ - ไม่สามารถระบุภาระงาน ไม่ครบทุกขั้นตอน แผนการทำางานไม่สอดคล้องกับจุดประสงค์ เกณฑ์ก ารให้ค ะแนนการประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง เรื่อ ง ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์ (ต่อ ) รายการประเมิน ระดั บ คะแ
  • 17. นน 2. การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง 2.1 การใช้ว ัส ดุ อุป กรณ์ เครื่อ งมือ ในการ ทดลอง 4 - ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ เครื่องมือได้ถูกต้องตามหลัก 3 การปฏิบัติ อย่างคล่องแคล่ว 2 - ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ เครื่องมือได้ถูกต้องตามหลัก 1 การปฏิบัติ แต่ไม่คล่องแคล่ว - ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ เครื่องมือได้บางส่วนแต่ไม่ คล่องแคล่ว - ใช้อุปกรณ์ อุปกรณ์ เครื่องมือได้ไม่ถูกต้อง 2.2 ทำา การทดลองตามขั้น ตอนที่ก ำา หนด - ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กำาหนดไว้อย่าง 4 ถูกต้อง 3 - ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กำาหนดไว้โดยครู 2 เป็นผู้แนะนำาในบางส่วน 1 - ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กำาหนดไว้ หรือ ดำาเนินการข้ามขั้นตอนที่กำาหนด - ไม่ทดลองตามวิธีการและขั้นตอนที่กำาหนดไว้ 2.3 การบัน ทึก ผลการทดลอง - บันทึกผล อย่างถูกต้องมีระเบียบ และเป็นไปตาม 4 การทดลอง 3 - บันทึกผล ไม่ระบุหน่วย ไม่เป็นระเบียบ และเป็น 2 ไปตามการทดลอง 1 - บันทึกผล ไม่มีการระบุหน่วย และไม่เป็นไปตาม การทดลอง - ไม่มีการบันทึกผล 2.4 ทำา ความสะอาดและจัด เก็บ อุป กรณ์ - ดูแลอุปกรณ์/เครื่องมือทดลองอย่างดี มีการ 4 ทำาความสะอาดและเก็บอย่างถูกต้องตามหลักการ - ดูแลอุปกรณ์/เครื่องมือขณะทดลอง ทำาความ 3 สะอาด แต่เก็บไม่ถูกต้อง 2 - ดูแลอุปกรณ์/เครื่องมือบางส่วน แต่ไม่สนใจ 1 ทำาความสะอาดและเก็บให้เข้าที่ - ไม่ดูแลอุปกรณ์/เครื่องมือและไม่สนใจทำาความ สะอาด ไม่เก็บเข้าที่
  • 18. เกณฑ์ก ารให้ค ะแนนการประเมิน การปฏิบ ัต ิก ารทดลอง เรื่อ ง ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์ (ต่อ ) ระดั บ รายการประเมิน คะแ นน 3. การนำา เสนอ 3.1 การแปลความหมายข้อ มูล - บรรยายลักษณะข้อมูลตามข้อมูลที่มีอย่างถูกต้อง 4 - บรรยายลักษณะข้อมูลตามข้อมูลที่มีถูกต้อง 3 พอใช้ 2 - บรรยายลักษณะข้อมูลตามข้อมูลที่มีถูกต้องบาง 1 ส่วน - บรรยายลักษณะข้อมูลนอกเหนือจากที่มี และไม่ ถูกต้อง 3.2 การนำา เสนอผลการทดลอง - จัดกระทำาข้อมูลเข้าใจง่ายนำาเสนอผลการทดลอง 4 มีลำาดับขั้นตอนชัดเจนดีมาก 3 - จัดกระทำาข้อมูลเข้าใจง่ายนำาเสนอผลการทดลอง 2 มีลำาดับขั้นตอนชัดเจนพอใช้ 1 - จัดกระทำาข้อมูลเข้าใจพอควร และนำาเสนอผล การทดลองไม่มีลำาดับขั้นตอน - จัดกระทำาข้อมูลไม่เข้าใจ และนำาเสนอผลการ ทดลองไม่มีลำาดับขั้นตอน 3.3 การสรุป ผลการทดลอง - สรุปผลการทดลองด้วยตนเองได้ชัดเจนดีมาก 4 ครบถ้วนตรงตามจุดประสงค์ 3
  • 19. - สรุปผลการทดลองได้ชัดเจนดี ค่อนข้างจะครบ 2 ถ้วนตรงตามจุดประสงค์ 1 - สรุปผลการทดลองด้วยตนเองไม่ได้ทั้งหมด ต้อง ได้รับคำาแนะนำาเป็นบางส่วน - สรุปผลการทดลองไม่ได้ 3.4 การอภิป รายผลและข้อ แสนอแนะ - อภิปรายผลการทดลองถูกต้องและสอดคล้องกับ 4 จุดประสงค์ของการทดลอง 3 - อภิปรายผลการทดลองถูกต้องและสอดคล้องกับ 2 จุดประสงค์การทดลองเป็น 1 ส่วนใหญ่ - อภิปรายผลการทดลองถูกต้อง แต่สอดคล้องกับ จุดประสงค์ของการทดลอง บางส่วน - อภิปรายผลการทดลองไม่ถูกต้อง และไม่ สอดคล้องกับจุดประสงค์ แบบประเมิน คุณ ลัก ษณะอัน พึง ประสงค์ เรื่อ ง ส่ว นประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์ สาระการเรีย นรู้ วิท ยาศาสตร์ ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 1 --------------------------------------------------------------- ชื่อ-สกุล..........................................................ชั้น .................เลขที่ ............................. คำา ชี้แ จง ทำาเครื่องหมาย  ลงในช่องตรงกับคุณลักษณะที่นักเรียนแสดงออก โดย จำาแนกระดับ พฤติกรรมการแสดงออกเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับ พฤติก รรมการแสดงออก
  • 20. 5 หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกอย่างสมำ่าเสมอตลอดเวลา มากที่สุด 4 หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงอย่างมาก 3 หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกเป็นครั้งคราว 2 หมายถึง ผู้เรียนมีพฤติกรรมการแสดงออกน้อยครั้ง 1 หมายถึง ผู้เรียนไม่มีพฤติกรรมการแสดงออกเลย ส ถ า น ะ ข อ ง ผู้ ครูผู้สอน นักเรียน ประเมิน พฤติกรรมการ รายการ แสดงออก 5 4 3 2 1 1. ความใฝ่ร ู้ใ ฝ่เ รีย น 1.1 มีความใฝ่ใจและพอใจในการสืบ เสาะแสวงหาความรู้ 1.2 มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมและ เรื่องอื่นๆ 1.3 ชอบทดลอง ค้นคว้า 1.4 ชอบสนทนาซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อ ให้ได้ความรู้เพิ่มขึ้น สรุป ( ) x 2. ความมุ่ง มั่น ในการทำา งาน 2.1 ยอมรับผลการกระทำาของตนเองทั้ง ที่เป็นผลดีและผลเสีย 2.2 ทำางานที่ได้รับมอบหมายให้ สมบูรณ์ตามกำาหนด และตรงเวลา 2.3 ทำางานเต็มความสามารถ 2.4 ไม่ท้อถอยในการทำางานเมื่อมี อุปสรรคหรือล้มเหลว 2.5 มีความอดทนแม้การดำาเนินการแก้ ปัญหาจะยุ่งยาก และใช้เวลา สรุป ( ) x
  • 21. พฤติกรรมการ รายการ แสดงออก 5 4 3 2 1 3. อยู่อ ย่า งพอเพีย ง 3.1 ใช้เวลาในการปฏิบัติงานเป็นไป ตามที่กำาหนด (พอประมาณ) 3.2 ใช้วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม ประหยัด และคุ้มค่า (พอประมาณ) 3.3 อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอย่าง มีเหตุผล (มีเหตุผล) 3.4 ยอมรับฟังคำาวิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้ แย้งหรือข้อคิดเห็นของผูอื่น (มีเหตุผล) ้ 3.5 มีการวางแผนการทำางานอย่าง รอบคอบ (ภูมิคุ้มกัน) 3.6 จัดเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมและ ดำาเนินการทดลองด้วยความระมัดระวัง (ภูมิคุ้มกัน) สรุป ( ) x ความคิดเห็นเพิ่มเติม ....................................................................................................... ........ ....................................................................................................... .......................................... (ลงชื่อ) ผู้ประเมิน (...........................................) ............./.............../.............
  • 22. แนวทางการนำา หลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย งมาใช้ใ นการจัด กิจ กรรมการเรีย นรู้ 1. ผู้ส อนนำา หลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย งมาใช้ใ นการจัด กิจ กรรมการเรีย นรู้ หลัก พอ มีภ ูม ิค ุ้ม กัน เพีย ง พอประมาณ มีเ หตุผ ล ในตัว ที่ด ี ประเด็น วิเคราะห์ ผู้เรียนเข้าใจ เรียงลำาดับ หลักสูตร ง่าย เนื้อหาจาก กำาหนด สอดคล้องกับ ง่ายไปหายาก เนื้อหา เหมาะ มาตรฐานและ เป็นเนื้อหาที่ สมกับ ตัวชี้วัดที่ ใกล้ตัวผู้เรียน เนื้อ หา มาตรฐาน ตัว กำาหนดไว้ใน ชี้วัด บริบท หลักสูตร ของท้องถิ่น เวลาและวัย ของผู้เรียน กำา หนด จัดการเรียนรู้ วางแผนการ เวลาเหมาะ ได้ตาม ใช้เวลาใน สมกับ กระบวนการ แต่ละกิจกรรม กิจกรรม ครบถ้วนตาม ให้รอบคอบ เนื้อหา และ ที่วางแผนไว้ เพื่อรองรับ เวลา วัยของผู้เรียน เหตุการณ์ที่ อาจ เปลี่ยนแปลง ระหว่างจัด กิจกรรม
  • 23. - แบ่งกลุ่มผู้ - ต้องการให้ - กำาหนด เรียนได้พอดี ผู้เรียนได้ กิจกรรมการ กับจำานวน ปฏิบัติกิจกรรม เรียนรู้ที่ นักเรียน อย่างทั่วถึง ชัดเจนจาก - กำาหนด ตามความ ง่ายไปหายาก กิจกรรมการ สามารถ และใช้สอน วิธ ีก ารจัด เรียนรู้เหมาะ - ผู้เรียนเกิด แทนได้ กิจ กรรม สมกับเวลาที่ การเรียนรู้ - ครูมีความ กำาหนด อย่างมี รอบรู้ในเรื่อง - เหมาะสมกับ ประสิทธิภาพ ที่สอนจึง เนื้อหาและ บรรลุตาม ทำาให้การ การประเมิน วัตถุประสงค์ เรียนรู้ของผู้ ผล เรียนมี ประสิทธิภาพ กำาหนดแหล่ง ต้องการให้ จัดเตรียม เรียนรู้เหมาะ นักเรียนใช้ แหล่งเรียนรู้ แหล่ง เรีย น สมกับเนื้อหา แหล่งเรียนรู้ ไว้ให้พร้อม รู้ กิจกรรม วัยผู้ ให้เกิด ก่อนการ เรียน งบ ประโยชน์ ทดลอง ประมาณ และคุ้มค่า เวลา หลัก มีภ ูม ิค ุ้ม กัน พอเพีย ง พอประมาณ มีเ หตุผ ล ในตัว ที่ด ี ประเด็น
  • 24. สื่อ /อุป กรณ์ - จัดเตรียมสื่อ -ใช้สื่อ -จัดเตรียม สือ่ อุปกรณ์ อุปกรณ์ได้ อุปกรณ์ให้ เอกสารต่าง ๆ ประหยัดคุ้ม พร้อมก่อน เหมาะสมกับ ค่าและ มี การจัด กิจกรรม -- ประสิทธิภา กิจกรรมการ ปริมาณเพียง พต่อการ เรียนรู้ พอกับจำานวน เรียนรู้ -มีลำาดับขั้น นักเรียน ตอนการใช้ -ชนิดของสื่อ สื่อแต่ละชนิด ขนาดของสื่อมี อย่างชัดเจน ความเหมาะสม -จัดเก็บ กับขนาด อุปกรณ์อย่าง ห้องเรียน วัย เป็นระบบ และเวลาที่ -มีความ กำาหนด ชำานาญใน การใช้สื่อ อุปกรณ์ - มีการ - มีการ -วางแผนการ ออกแบบการวัด ออกแบบ วัดและ และประเมินผล เครื่องมือวัด ประเมินผล ได้เพียงพอกับ และประเมิน เป็นขั้นตอน ตัวชี้วัดและ ผลที่ ชัดเจน เหมาะสมกับ สอดคล้อง -แบบประเมิน การประเมิน เวลาและวัยผู้ กับเนื้อหาที่ ผลมีการ ผล เรียน ต้องการ วัด ตรวจสอบวัด - บรรลุตัวชี้ และปรับปรุงมี วัดที่กำาหนด ความเชื่อมั่น ไว้ใน เที่ยงตรงใน หลักสูตร การวัดตาม ตัวชี้วัด 1. ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ความรู้ท ี่ค รู 2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำา เป็น ต้อ งมี 3. จิตวิทยาในการสอน มีความรักเมตตาศิษย์ มีความรับผิดชอบ มี คุณ ธรรม ความยุติธรรม ตรงต่อ เวลา ของครู
  • 25. 2. ผลที่เ กิด กับ ผู้เ รีย นสอดคล้อ งกับ หลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย งจากการจัด การเรีย นรู้ 2.1 ผู้เ รีย นได้เ รีย นรู้ห ลัก คิด และฝึก ปฏิบ ัต ิต ามหลัก 3 ห่ว ง 2 เงื่อ นไข ดัง นี้ มีภ ูม ิค ุ้ม กัน ใน พอประมาณ มีเ หตุผ ล ตัว ที่ด ี 1. นักเรียน นักเรียนมี 1.นักเรียนรู้จัก กำาหนดหน้าที่ เหตุผลในการ การวางแผนการ ของสมาชิก แบ่งงาน ทำางานและมอบ ภายในกลุ่มได้ ทำางานตาม หมายงานให้ เหมาะสมกับ ลำาดับขั้นตอน สมาชิกภายใน ศักยภาพของ ที่ได้รับมอบ กลุ่มได้เหมาะสม แต่ละคน หมายจาก กับความสามารถ 2. นักเรียนเลือก กลุ่ม ของแต่ละบุคคล ใช้วัสดุอุปกรณ์ 2. นักเรียนเรียนรู้ ในการทดลอง ที่จะเลือกใช้และ ได้พอดีกับ จัดเตรียมวัสดุ หลัก พอเพีย ง กิจกรรมการ อุปกรณ์การ ทดลอง ทดลองได้พร้อม 3. นักเรียนใช้ ถูกต้องและตรง เวลาในการทำา ตามกิจกรรมการ กิจกรรมการ ทดลองการ เรียนรู้ได้พอดี ทดสอบสาร กับเวลาที่ อาหาร กำาหนด 3. ศึกษาใบความ รู้ก่อนการปฏิบัติ อย่างรอบคอบ 4. ศึกษาลำาดับขั้น ตอนการทดลอง จนเข้าใจก่อนการ ทดลอง
  • 26. ความรู้ท ี่ต ้อ ง 1. ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ มีก ่อ นเรีย น 2. หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. ความสามัคคีในกลุ่ม 2. ความรับผิดชอบ มีวินัย ในการทำางานกลุ่ม 3. มีความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมหลังการจัดเก็บ คุณ ธรรม วัสดุอุปกรณ์ 4. รักษาความสะอาด 5. ความซื่อสัตย์ในการบันทึกผลการทดลองที่ได้ 2.2 ผู้เ รีย นได้เ รีย นรู้ก ารใช้ช ีว ิต ที่ส มดุล และพร้อ มรับ การ เปลี่ย นแปลงใน 4 มิต ิต ามหลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอพีย ง ด้า น สมดุล และพร้อ มรับ การเปลี่ย นแปลงในด้า น ต่า ง ๆ องค์ สิ่ง วัฒ นธ ประกอ วัต ถุ สัง คม แวดล้อ ม รรม บ ความรู้ 1. รู้วิธีการ มีความรู้ มีความรู้ ศึกษาส่วน ในการ ในการใช้ ประกอบของ วางแผน และจัดเก็บ เซลล์พืชและ การทำางาน วัสดุ เซลล์สัตว์ ในกลุ่ม อุปกรณ์ที่ 2. มีความรู้ ไม่ทำาลาย ในการใช้ สิ่ง วัสดุอุปกรณ์ แวดล้อม ในการ ทดลอง
  • 27. 3. มีความรู้ ในการเก็บ ล้างวัสดุ อุปกรณ์ได้ถูก ต้อง เหมาะ สมปลอดภัย 1. มีทักษะใน 1. ทำางาน ใช้วัสดุ การใช้วัสดุ ร่วมกัน อุปกรณ์ อุปกรณ์อย่าง ภายใน และสาร ประหยัด คุ้ม กลุ่มได้ เคมีในการ ค่าและ อย่าง ทดลอง ปลอดภัย เหมาะสม ด้วยความ ทัก ษะ 2. เลือกใช้ 2. มีทักษะ ระมัดระวัง วัสดุ อุปกรณ์ ในการ โดยไม่ ได้เหมาะสม อภิปราย ทำาลายสิ่ง กับการ ภายในกลุ่ม แวดล้อม ทดลอง เพื่อหาข้อ สรุปได้ 1. ตระหนักถึง 1.มีความรับ ตระหนักถึง ผลกระทบที่เกิด ผิดชอบต่อ ความสำาคัญ จากการใช้วัสดุ การทำางาน ของการ อุปกรณ์ในการ ของกลุ่ม อนุรักษ์สิ่ง ค่า นิย ม ปฏิบติงาน ั 2. ความ แวดล้อมที่ 2. รักษาความ สามัคคีใน ไม่มีมลภาวะ สะอาดของวัสดุ กลุ่ม อุปกรณ์ ภาพเซลล์พ ืช
  • 29. ชื่อ..................................................................ชั้น................................ ..เลขที่.................................. รายวิช า ใบกิจ กรรม ชั้น มัธ ยมศึก ษาปี วิท ยาศาสตร์ เรื่อ งส่ว นประกอบของเซลล์ ที่ 1 รหัส วิช า พืช และเซลล์ส ัต ว์ ภาคเรีย นที่ 1 ว 21101 จุด ประสงค์ เพื่อให้นักเรียนสามารถเปรียบเทียบและบอกหน้าที่ของ ส่วนประกอบของส่วนประกอบของเซลล์ พืชและเซลล์สัตว์ได้ คำา ชี้แ จง. ให้นักเรียนสังเกต รูปภาพเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ แล้วบอก สิ่งที่เหมือนกันหรือแตกต่างกัน เปรีย บเทีย บ เซลล์ส ัต ว์ สิ่ง ที่เ ปรีย บเทีย บ เซลล์พ ืช ……………………………………………… รูปร่าง ...................................................... ...................................................... ผนังเซลล์ ...................................................... ...................................................... เยื่อหุ้มเซลล์ .... ..................................................... ...................................................... คลอโรพลาสต์ ...................................................... ...................................................... แวคิวโอล ...................................................... ...................................................... เซนทริโอล ...................................................... จับ คู่ 1. ผนังเซลล์............................................. A. ควบคุมกรผ่าน เข้าออกของสารระหว่างภายในเซลล์ และภายนอกเซลล์หรือมีสมบัติเป็น เยื่อเลือกผ่าน
  • 30. 2. เยื่อหุ้มเซลล์ ............................................. B. ป้องกันส่วนต่าง ๆ ที่อยู่ภายในเซลล์และช่วยรักษา รูปทรงของเซลล์ให้คงอยู่ 3. เซนทริโอล ............................................ C. ควบคุมการ เคลื่อนไหวของซิเลียและแฟลกเจลลา 4. กอลจิบอดี ............................................ D. สังเคราะห์ โปรตีนและเอนไซม์ ควบคุมการลำาเลียงสาร ระหว่างนิวเคลียสกับไซโทพลาซึม 5. ร่างแหเอนโดพลาซึม................................. E. เก็บสารที่ร่างแห เอนโดพลาซึมสร้างขึ้น 6. คลอโรพลาสต์ ......................................... F. ควบคุมการ ทำางานของเซลล์และการถ่ายทอดลักษณะ ทางพันธุกรรม 7. ไมโทคอนเดรีย......................................... G. เป็นแหล่ง สังเคราะห์ด้วยแสงในเซลล์พืช 8. นิวเคลียส.................................................. H. เป็นแหล่งสร้าง พลังงานให้แก่เซลล์โดยกระบวนการ หายใจระดับเซลล์ ลงชื่อ...........................................ผูสอน ้ (……………………………………) ชื่อ..................................................................ชั้น................................ ..เลขที่.................................. รายวิช า ใบงาน เรื่อ ง ชั้น มัธ ยมศึก ษา วิท ยาศาสตร์ ส่ว นประกอบและหน้า ที่ข องส่ว น ปีท ี่ 1 รหัส วิช า ประกอบของเซลล์พ ืช และเซลล์ ภาคเรีย นที่ 1 ว 21101 สัต ว์ คำา ชี้แ จง. ให้นักเรียนศึกษาเอกสารเรื่อง ขนาด รูปร่างและส่วนประกอบและ หน้าที่ของส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้ให้ ถูกต้อง สมบูรณ์ 1. เซลล์สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีขนาดและรูปร่างเหมือนหรือแตกต่างกัน …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………… 2. โครงสร้างพื้นฐานของเซลล์ประกอบด้วยอะไรบ้าง
  • 31. …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ……….. 3. ผนังเซลล์ทำาหน้าที่อะไร ………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… ……….. 4. เยื่อหุ้มเซลล์ทำาหน้าที่ อะไร…………………………………………………………………… …………………………………………………. 5. ส่วนประกอบของเซลล์ที่พบในไซโทพลาซึม ได้แก่อะไรบ้าง …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ……….. …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ……….. 6. ส่วนประกอบที่พบเฉพาะในเซลล์พืช ได้แก่อะไรบ้าง ………………………………………………………………………… ….. 7. นิวเคลียสมีลักษณะเป็นอย่างไร และทำาหน้าที่ อะไร…………………………………………………………………… ……………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ………. 8. จงบอกลักษณะและหน้าที่ของเซลล์ต่อไปนี้ เซลล์ขนราก ลักษณะ………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….. หน้าที่…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….. เซลล์เม็ดเลือดแดง ลักษณะ………………………………………………………………… …………………………………………………………………………. หน้าที่…………………………………………………………………… ……………………………………………………………..…………..
  • 32. เซลล์เม็ดเลือดขาว ลักษณะ………………………………………………………………… ………………………………………………………………………… หน้าที่…………………………………………………………………… ……………………………………………………..………………….. เซลล์ประสาท ลักษณะ………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………… หน้าที่…………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….. ลงชื่อ......................................ผู้ สอน (………………………. …………….) วิช าวิท ยาศาสตร์ แบบทดสอบ ตัว ชี้ว ัด ที่ 2 ชั้น มัธ ยมศึก ษา รหัส ว 21101 ปีท ี่ 1 สัง เกต เปรีย บเทีย บส่ว นประกอบสำา คัญ ของเซลล์พ ืช และเซลล์ สัต ว์ 1. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีลักษณะ 6.ในเซลล์พืชจะมีเม็ดกลมรีสีเขียว แตกต่างกันอย่างไร กระจายอยู่ เม็ดดังกล่าว เรียกว่า ก. เซลล์พืชมีลักษณะกลมรี ส่วน อะไร เซลล์สัตว์มีลีกษณะเป็นเหลี่ยม ก. Vacuole ข. เซลล์พืชมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยม ข. Ribosome ส่วนเซลล์สัตว์เป็น ทรงกลม ค. Leucoplast ค. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มี ง. Chloroplast ลักษณะเหมือนกันมาก 7. เซลล์พืชสามารถพบได้ที่ส่วนใด ง. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มี ของพืช ลักษณะรูปร่างนิวเคลียสที่แตกต่าง ก. ที่ใบและลำาต้นเท่านั้น กัน ข. ที่ปลายใบและปลายราก 2. ส่วนประกอบใดที่พบเฉพาะใน เท่านั้น เซลล์สัตว์เท่านั้น ค. ที่ใบ ลำาต้น และปลายราก ก. กอลจิบอดี เท่านั้น ข. เยื่อหุ้มเซลล์ ง. มีอยู่ทุกส่วนในพืช ค. แวคิวโอล 8. เซลล์พืชแตกต่างจากเซลล์สัตว์
  • 33. ง. เซนทริโอล ในข้อใด 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่มีในเซลล์สัตว์ ก. มีผนังเซลล์ ก. นิวเคลียส ข. มีคลอโรพลาสต์ ข. เยื่อหุ้มเซลล์ ค. สังเคราะห์อาหารได้เองทุก ค. ไซโทพลาสซึม เซลล์ ง. คลอโรพลาสต์ ง. ถูกทั้งข้อ ก และ ข 4. เหตุใดจึงกล่าวว่าเซลล์เป็นหน่วย 9. เซลล์พืชกับเซลล์สัตว์เมื่อนำาไป พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต แช่ในนำ้ากลั่น เซลล์ใดจะแตกง่าย ก. เพราะทำาหน้าที่รองรับส่วนอื่น กว่ากัน เพราะเหตุใด ข. เพราะเป็นหน่วยย่อยของสิ่งมี ก. เซลล์พืชเพราะดูดนำ้าได้เร็ว ชีวิตที่เล็กที่สุด กว่า ค. เพราะเป็นต้นกำาเนิดของสิ่งมี ข. เซลล์พืชเพราะเยื่อหุ้มเปราะ ชีวิต กว่า ง. เพราะเป็นสิ่งแรกที่ถูกค้นพบ ค. เซลล์สัตว์ เพราะไม่มีผนัง 5. ส่วนประกอบใดที่พบเฉพาะใน เซลล์ที่มีเซลลูโลส เซลล์พืช ง. เซลล์สัตว์ เพราะไม่มี ก. คลอโรพลาสต์ ผนังเซลล์ คลอโรฟีลล์ทำาการ ข. คลอโรพลาสต์ นิวเคลียส สังเคราะห์แสง ค. ไมโทคอนเดรีย นิวเคลียส 10. เซลล์สิ่งมีชีวิตทุกชนิด ต้องพบ ง. กอลจิบอดี แวคิวโอล ส่วนประกอบใดต่อไปนี้ 1. ผนังเซลล์ 2. เยื่อหุ้ม เซลล์ 3. ไรโบโซม 4. เซนทริ โอล 5. สารพันธุกรรม ก. 1, 2, 3 ข. 2, 3, 4 ค. 2, 3, 5 ง. 2, 4, 5 วิช าวิท ยาศาสตร์ แบบทดสอบ ตัว ชี้ว ัด ที่ 3 ชั้น มัธ ยมศึก ษา รหัส ว 21101 ปีท ี่ 1 ทดลองและอธิบ ายหน้า ที่ข องส่ว นประกอบที่ส ำา คัญ ของเซลล์พ ืช และเซลล์ส ัต ว์
  • 34. 1. ข้อใดมีสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน 6. นิวเคลียสมีความสำาคัญต่อเซลล์ ก. แวคิวโอล อย่างไร ข. ผนังเซลล์ ก. ควบคุมการเจริญเติบโตของ ค. เยื่อหุ้มเซลล์ เซลล์ ง. ไซโทพลาซึม ข. เป็นแหล่งที่มีการสังเคราะห์ 2. ส่วนประกอบของเซลล์ส่วนใดที่ ด้วยแสง ทำาหน้าที่เป็น ค. เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้ แหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ เซลล์ ก. นิวเคลียส ง. ถูกทุกข้อ ข. ไมโทคอนเดรีย 7. เยื่อหุ้มเซลล์มีความสำาคัญต่อการ ค. คลอโรพลาสต์ มีชีวิตของเซลล์ ง. ออร์แกเนล เนื่องจากสาเหตุใด 3. ข้อใดไม่ใช่ความสำาคัญของ ก. เป็นที่สังเคราะห์โปรตีน นิวเคลียส ข. ทำาให้เกิดรูปร่างของเซลล์ ก. ควบคุมการทำางานของเซลล์ ค. เป็นที่มีการสังเคราะห์อาหาร ข. ควบคุมะการถ่ายทอดลักษณะ ให้แก่เซลล์ ทางพันธุกรรม ง. สารทุกชนิดที่ผ่านเข้าออก ค. ควบคุมการผ่านเข้าออกของ เซลล์ผ่านทาง สาร เยื่อหุ้มเซลล์ ง. เป็นที่สร้างพันธุกรรม 8. ผนังเซลล์(cell wall) ประกอบ 4. ส่วนประกอบใดที่ทำาหน้าที่ ด้วยสารใดเป็นสำาคัญ ป้องกันส่วนต่าง ๆที่อยู่ ก. เซลลูโลส ภายในเซลล์ของพืช ข. นิวเคลียส ก. กอลจิบอดี ค. ไขมัน ข. ผนังเซลล์ ง. คาร์โบไฮเดรต ค. คลอโรพลาสต์ 9. การสังเคราะห์โปรตีนเกิดขึ้นที่ ง. เซนทริโอล ส่วนใดของเซลล์ 5. ข้อใดไม่ใช่สมบัติของผนังเซลล์ ก. ไลโซโซม ก. สร้างมาจากสารเซลลูโลส ข. ไรโบโซม ข. มีช่องให้สารผ่านเข้าออกได้ ค. กอลจิบอดี ค. ช่วยเสริมสร้างความแข็งแรง ง. ไมโทคอนเดรีย แก่เซลล์ 10. “ยีน” หมายถึงหน่วยที่ใช้ ง. เป็นแหล่งสังเคราะห์โปรตีน ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม โดย พบยีนที่ส่วนใดของเซลล์ ก. ไซโทพลาซึม ข. เยื่อหุ้มนิวเคลียส ค. โครโมโซม ง. เยื่อหุ้มเซลล์
  • 35. การประเมิน ชิ้น งาน คำา อธิบ ายคุณ ภาพ ๑. แผนภาพความคิด บอกลักษณะของสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมี วิเคราะห์ลักษณะของสิ่งมี ชีวิตเซลล์เดียวและ ชีวิตเซลล์เดียวและหลาย สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ได้ถูกต้อง สมบูรณ์ เซลล์ ๒. ใบกิจกรรมเรื่อง ส่วน บอก ประกอบของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ ๓. แผนภาพความคิด วิเคราะห์เปรียบเทียบ ลักษณะของเซลล์พืชและ เซลล์สัตว์ ๔. ใบงาน เรื่อง ขนาด ตอบคำาถามเกี่ยวกับขนาด รูปร่าง และส่วน รูปร่าง และส่วนประกอบ ประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ถูกต้อง ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ สมบูรณ์ ๕. รายงานผลการทดลอง เขียนรายงานผลที่ได้จากการปฏิบัติกิจกรรมการ ทดลองได้ถูกต้อง สมบูรณ์