SlideShare a Scribd company logo
บัญชีรายได้
ประชาชาติ
กระแสการหมุนเวียนใน
ระบบเศรษฐกิจ
•หน่วยเศรษฐกิจ ( Economic
unit ) คือ ผู้ดำาเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ
•ภาคเศรษฐกิจ ( Economic
Sector ) คือ การรวมหน่วย
เศรษฐกิจที่มีบทบาท หน้าที่ และ
ภาคเศรษฐกิจ
•ภาคครัวเรือน
•ภาคธุรกิจ
•ภาครัฐบาล
•ภาคการติดต่อกับ
( Household Sector
)•เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต
•ปัจจัยการผลิต คือ ที่ดิน แรงงาน ทุน
ผู้ประกอบการ
•ภาคครัวเรือนขายปัจจัยการผลิตให้
กับภาครัฐบาลกับภาคธุรกิจ
•ได้รับผลตอบแทนในรูป ค่าเช่า
ค่าแรง ดอกเบี้ย และกำาไร
ภาคธุรกิจ
( Business Sector
)•ซื้อปัจจัยการผลิตจากภาค
ครัวเรือน
•ผลิตสินค้าและบริการ
•ขายสินค้าให้กับภาคครัวเรือน
และภาครัฐบาล
ภาครัฐบาล ( Public
Sector )
•รัฐเก็บค่าธรรมเนียม ( ส่วนใหญ่คือ
ภาษี ) จากภาคครัวเรือนและภาค
ธุรกิจ เป็นรายได้ของรัฐ
•รัฐต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อสินค้าและ
บริการจากภาคธุรกิจหรือปัจจัยการ
ผลิตจากภาคครัวเรือน หรือจ่าย
เป็นสินค้าสาธารณะ
ภาคต่างประเทศ
( Foreign Sector )•เป็นการซื้อขายสินค้าและบริการ
ระหว่างประเทศ
•การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการเกิด
จาก ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบ
( Comparative Advantage )
•ซึ่ง Comparative Advantage
คือ การที่ประเทศใดมีความชำานาญ
ต่างประเทศ
สถาบันการเงิน ครัวเรือนธุรกิจ
รัฐบาล
รายได้ปัจจัยการผลิต
ค่าใช้จ่ายซื้อสินค้าบริการ
ออมลงทุน
ภาษี ภา
ษี
ค่าใช้จ่ายภาครัฐค่าใช้จ่ายภาครัฐ
รายได้จากการส่งออก รายได้จากการส่งออก
สินค้านำาเข้าสินค้านำาเข้า
ส่วนรั่วไหล ( Leakage,
Withdrawal )
•รายได้ส่วนที่รั่วไหลออกนอกกระแส
การหมุนเวียน เกิดจากการที่ครัวเรือน
ไม่ได้นำารายได้ทั้งหมดไปซื้อสินค้า
และธุรกิจก็ไม่ได้นำาทั้งหมดไปซื้อ
ปัจจัยการผลิต
•ได้แก่ การออมจากภาคครัวเรือน
ภาษีที่เก็บจากทั้งครัวเรือนและภาค
ส่วนอัดฉีด
( Injection )
•รายได้ส่วนที่เพิ่มเติมเข้ามาใน
กระแสการหมุนเวียน
•ได้แก่ การลงทุนของภาคธุรกิจ ภาค
รัฐบาลซื้อสินค้าจากธุรกิจ รัฐบาล
จ่ายเงินโอน และเงินไหลเข้าจาก
ต่างประเทศซึ่งก็คือ ครัวเรือนส่ง
ออกปัจจัยการผลิตและภาคธุรกิจส่ง
ต่างประเทศ
สถาบันการเงิน ครัวเรือนธุรกิจ
รัฐบาล
รายได้ปัจจัยการผลิต
ค่าใช้จ่ายซื้อสินค้าบริการ
ออมลงทุน
ภาษี ภา
ษี
ค่าใช้จ่ายภาครัฐค่าใช้จ่ายภาครัฐ
รายได้จากการส่งออก รายได้จากการส่งออก
สินค้านำาเข้าสินค้านำาเข้า
นิยามตัวแปร
•เงินออม ( Saving )
--------- S
•การลงทุน ( Investment )
--------- I
•ภาษี ( Tax )
--------- T
•การใช้จ่ายภาครัฐ ( Government
ส่วนอัดฉีด = ส่วนรั่ว
ไหล
ส่วนรั่วไหล ได้แก่ S + T + M
ส่วนอัดฉีด ได้แก่ I + G + X
S + T + M = I + G + X
( X - M ) = ( S - I ) +
( T - G )
ตีความได้ว่า ??????
ความหมายและการคำานวณ
รายได้ประชาชาติ
•รายได้ประชาชาติ หมายถึง มูลค่า
ของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่
ประเทศไดใช้เวลาหนึ่ง โดยปกติคิด
ระยะเวลา 1 ปี
•การคำานวณทำาได้ 3 วิธีคือ
–การคำานวณด้านผลผลิต ( Product
Approach )
–การคำานวณด้านรายจ่าย ( Expenditure
การคำานวณด้านผลผลิต
( Product Approach )
•คิดเฉพาะมูลค่าของสินค้าและบริการ
ขั้นสุดท้าย ( Final Goods and
Service ) รวมถึงส่วนเปลี่ยนของ
สินค้าคงเหลือ ซึ่งนับเป็นสินค้าขั้น
สุดท้าย ∑=
=
n
1i
iiQpGDP
ตัวอย่าง
ขั้นการผลิต มูลค่าขาย มูลค่าขั้น
กลาง มูลค่าเพิ่ม
ข้าว 4 0 4
แป้ง 6 4 2
ขนมปัง 20 6 14
แซนวิซ 25 20 5
รวม 55 30 25
การคำานวณด้านรายจ่าย
( Expenditure Approach
)•เป็นการคิดจากรายจ่ายที่ไม่แสวงหา
ผลกำาไรเพื่อนำามาซื้อสินค้าและบริการ
ในระยะเวลาเดียวกัน แยกเป็น 4
ประเภท
–รายจ่ายเพื่อการอุปโภคภาคเอกชน
( Consumption ; C )
–รายจ่ายเพื่อการลงทุน ( Investment ;
รายได้ประชาชาติ = C + I
+ G + ( X - M )
รายจ่ายเพื่อการอุปโภคภาค
เอกชน ( C ) คือ ค่าใช้จ่ายของฝ่าย
ครัวเรือนในการซื้อสินค้าและบริการ
ซึ่งอาจเป็นสินค้าถาวรหรือสินค้าไม่
ถาวร และอาจเป็นค่าบริการ
รายจ่ายเพื่อการซื้อสินค้าบริการ
ภาครัฐ ( G ) คือ ค่าใช้จ่ายของฝ่าย
รัฐบาลในการซื้อสินค้าและบริการ
จากภาคธุรกิจ ค่าจ้างและเงินเดือน
รายจ่ายเพื่อการลงทุนภาคเอกชน
( I ) คือ รายจ่ายภาคธุรกิจเพื่อการ
ลงทุน แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
1. รายจ่ายเพื่อการก่อสร้างใหม่
2. รายจ่ายเพื่อซื้อเครื่องมือเครื่องจักร
อุปกรณ์ เพื่อผลิตสินค้า บริการ
3. ส่วนเปลี่ยนของสินค้าคงเหลือ
การส่งออกสุทธิ ( X - M ) คือ มูลค่า
ของสินค้าและบริการที่ประเทศส่งออก
หักด้วยมูลค่าของสินค้าและบริการที่
นำาเข้าจากต่างประเทศ
ท่านคิดว่าอะไรเป็นปัจจัยที่กำาหนด
ตัวแปรทางเศรษฐกิจต่างๆเหล่า
นี้ ????
การคำานวณด้านรายได้
( Income Approach )
•การคำานวณด้านรายได้จะประกอบ
ด้วย การคำานวณรายได้ทั้งหมดจาก
เจ้าของปัจจัยการผลิต( ผลตอบแทน
จากการใช้ปัจจัยการผลิต ) ที่ได้มี
การขายปัจจัยการผลิตให้กับผู้ซื้อ
•รายได้ต้องไม่มีการรวมเงินโอน
( Transfer Payment ) ที่รัฐมีการ
จ่ายให้กับครัวเรือน
รายการต่างๆ ประกอบด้วย
•ค่าจ้างเงินเดือนและเงินทดแทนอื่นที่
จ่ายให้แก่ลูกจ้าง
•รายได้ที่เอกชนรับในรูปค่าเช่า
•ดอกเบี้ยสุทธิ
•รายได้ของกิจการที่ไม่อยู่ในรูป
บริษัท
•ค่าเสื่อมราคา
รายได้ประชาชาติ
สามารถแยกราย
ละเอียดได้เป็น
GDP GNP NDP NNP
NI PI DI
1. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติในประเทศ
เบื้องต้น ( Gross Domestic
Product : GDP ) คือ มูลค่าของ
สินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิต
ขึ้นในประเทศ โดยยึดอาณาเขต
ทางการเมืองเป็นสำาคัญ โดยไม่ยึดว่า
ทรัพยากรนั้นเป็นของคนชาติ
ใด
2. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น
( Gross National Product : GNP
) คือ มูลค่าของสินค้าและบริการขั้น
สุดท้ายที่ผลิตขึ้นด้วยทรัพยากร
ของประเทศในระยะเวลาหนึ่ง
ดังนั้น ระหว่าง GDP และ GNP จะ
ต่างกันตรงเรื่องของการเคลื่อนย้าย
ทรัพยากรระหว่างประเทศ โดยมีความ
สัมพันธ์กันว่า
ตัวอย่าง
•ในปี 2000 ไทยมี GDP อยู่ 1 แสน
ล้าน ในขณะที่ลาวมี GDP อยู่ 5 หมื่น
ล้าน สำาหรับในไทยมีชาวต่างชาติ
( ไม่รวมลาว ) มีรายได้อยู่ 1 พันล้าน
และรายได้ของชาวลาวอยู่ 2 พันล้าน
ในทางกลับกัน ที่ประเทศลาวมีคน
ไทยมีรายได้ 1.5 พันล้าน และคน
ต่างชาติ ( ไม่รวมไทย ) มีรายได้ 0.5
3. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติใน
ประเทศสุทธิ ( National
Domestic Product: NDP ) คือ
GDP หักด้วยค่าเสื่อมราคา
( Depreciation or Capital
Consumption Allowance )
4. ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ
( Net National Product: NNP )
คือ GNP หักด้วยค่าเสื่อมราคา
5. รายได้ประชาชาติ ( Net
Income : NI ) หมายถึง NNP
นั่นเอง แต่มีความแตกต่างที่การ
คำานวณมูลค่าว่าใช้ราคาปัจจัยการ
ผลิตหรือราคาตลาด
•ราคาปัจจัยการผลิตหมายถึงค่า
ตอบแทนที่ให้แก่ปัจจัยการผลิต
โดยตรง แต่ราคาตลาดมีการรวม
ภาษีทางอ้อมธุรกิจไว้ด้วย ( ราคา
6. รายได้ส่วนบุคคล ( Personal
Income : PI ) รายได้ที่ได้รับจริง
ก่อนหักภาษีเงินได้ที่ครัวเรือนต้อง
จ่าย
•มีความแตกต่างจากรายได้
ประชาชาติในส่วนที่หน่วยผลิตไม่
ได้มีการจัดสรรให้กับครัวเรือน
•PI = NI - ภาษีประกันสังคม - ภาษี
รายได้บริษัท - กำาไรที่ยังไม่ได้
7. รายได้ที่ใช้จ่ายได้จริง
( Disposable Income : DI )
คือ รายได้ที่ครัวเรือนใช้จ่ายได้
จริง
•นั่นคือ รายได้ที่ครัวเรือนได้รับ (
PI ) ที่มีการหักภาษีเงินได้ ไป
แล้ว
•DI = PI - ภาษีเงินได้
8. รายได้เฉลี่ยส่วนบุคคล ( Per
Capita Income ) เป็นการถัว
เฉลี่ยของบุคคลในประเทศ โดย
สามารถคำานวณจาก
ต่อบุคคล = ผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต
จำานวนประชากรปีที่ n
รายได้ประชาชาติตามราคาตลาด
และตามราคาคงที่
•GNP พิจารณาโดยใช้ราคาในปัจจุบัน
ดังนั้นเมื่อเวลามีการเปลี่ยนแปลงไป
ราคาของสินค้าก็จะเปลี่ยน การ
คำานวณมูลค่าเพื่อเปรียบเทียบก็อาจไม่
เห็นภาพที่แท้จริง เพราะมูลค่าคือ ราคา
คูณปริมาณ ดังนั้นอาจมีผล
เปลี่ยนแปลงที่มาจากราคา หรือ
ปริมาณ
100
DeflatorGDP
GNPMoney
GNPalRe n
×=
“การที่ Money GNP มีการเพิ่มขึ้น
อาจไม่ได้หมายความว่าปริมาณ
”ผลผลิตรวมในประเทศสูงขึ้น ท่าน
เข้าใจคำากล่าวนี้อย่างไร จง
•ความสำาคัญของบัญชีรายได้
ประชาชาติ
•ข้อพึงระวังในการใช้เพื่อการ
วิเคราะห์ปัญหาทางเศรษฐกิจ

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
Aena_Ka
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
krookay2012
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
Thida Noodaeng
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
Thanyamon Chat.
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
thnaporn999
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
krurutsamee
 

What's hot (20)

3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย
3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย
3 เกษตรกรยุคใหม่เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็นO-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
O-NET ม.6-ความน่าจะเป็น
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2
นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2
นวตกรรม เล่ม1 คณิต ป.2
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
 

Viewers also liked

Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
Tutorอารยธรรมตะวันตก
Kwandjit Boonmak
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
Krumai Kjna
 
มหภาค1
มหภาค1มหภาค1
มหภาค1
jimkongkaew
 
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
วรรณา ไชยศรี
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
Areewan Plienduang
 

Viewers also liked (10)

Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
เอเชียไมเนอร์และกรีก 6.7 21-22
 
Tutorอารยธรรมตะวันตก
TutorอารยธรรมตะวันตกTutorอารยธรรมตะวันตก
Tutorอารยธรรมตะวันตก
 
Unit3 elasticity
Unit3 elasticityUnit3 elasticity
Unit3 elasticity
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
มหภาค1
มหภาค1มหภาค1
มหภาค1
 
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
ศศ
ศศศศ
ศศ
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 

Presentc6