SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
Download to read offline
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยนอกสูงอายุในการชะลอความเสื่อมของไต รูปแบบงานวิจัยแบบภาคตัดขวาง ณ กันยายน
2560 ในคลินิกผู้ป่วยไตเรื้อรัง โรงพยาบาลบางปลาม้า สุพรรณบุรี จากข้อมูลผู้ป่วย 165 ราย ในจานวนนี้มีผู้ป่วย 35 รายมีโรคเบาหวานร่วมด้วย ผลการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ผู้ป่วยมีอายุ
เฉลี่ย 74 ปี เป็นหญิงร้อยละ 67 ภาวะไตวายเรื้อรังส่วนใหญ่อยู่ในระยะที่ 3 การศึกษาปัญหาเกี่ยวกับยาพบความไม่ร่วมมือในการใช้ยามากถึงร้อยละ 12 เฉพาะกลุ่มที่มีเบาหวานเป็นโรคร่วม พบว่า
ผู้ป่วย 14 ราย ยังไม่สามารถใช้ยาฉีดอินซูลินได้อย่างถูกต้อง เภสัชกรได้เสนอแนะการปรับ/เปลี่ยนยาต่อแพทย์ในผู้ป่วยเฉพาะราย 102 ราย และผลการศึกษาเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของอัตราการกรอง
ของไตก่อน-หลังการให้บริบาลผู้ป่วยสูงอายุดังกล่าว โดยใช้สถิติ paired t-test พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value = 0.007) อย่างไรก็ตามการให้การบริบาลทางเภสัชกรรม
ยังต้องทาอย่างต่อเนื่อง และควรศึกษาปัจจัยผู้ป่วยด้านอื่นเพิ่มเติมที่มีผลต่อการช่วยชะลอความเสื่อมของไต ได้แก่ การควบคุมความดันโลหิต ระดับน้าตาล/ไขมันในเลือด การจัดการกับ
ภาวะแทรกซ้อนอย่างเหมาะสม เพื่อการพัฒนางานให้เกิดประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยสูงอายุ
บทบาทของเภสัชกรในการชะลอความเสื่อมของไต
งานบริบาลทางเภสัชกรรม ผู้ป่วยนอกสูงอายุโรคไตเรื้อรัง
โรงพยาบาลบางปลาม้า สุพรรณบุรี
กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล1, สายฝน อินทร์ใจเอื้อ2
1คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร , 2กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลบางปลาม้า สุพรรณบุรี
บทคัดย่อ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาโรคไตมี
เป้าหมายที่ชัดเจนในการชะลอความเสื่อมของภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วย และกาหนดตัวชี้วัดผล
การปฏิบัติงานไว้ในแต่ละปีงบประมาณอย่างชัดเจน เภสัชกรในฐานะหนึ่งในทีมสหสาขาวิชาชีพ
ดูแลผู้ป่วย จึงมีบทบาทในด้านการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในด้านยาโดยตรง ผลการบริบาลทาง
เภสัชกรรมผู้ป่วยนอก สามารถทาให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย
และสร้างคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้ป่วยสูงอายุในสังคมผู้สูงอายุที่ประเทศ
ไทยกาลังจะเผชิญในระยะเวลาอีกไม่นานข้างหน้านี้
บทนา
ดาเนินการศึกษา ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี
ขั้นตอนในการดาเนินงาน
1. เลือกผู้ป่วยสูงอายุโรคไตเรื้อรังจากเวชระเบียนและฐานข้อมูลผู้ป่วย ณ จุดเวลาที่ศึกษา
2. ทาการเก็บข้อมูลของผู้ป่วยโดยสืบค้นจากเวชระเบียน ฐานข้อมูลของโรงพยาบาล รวมถึงเก็บ
ข้อมูลจากแบบบันทึกการบริบาลทางเภสัชกรรม ซึ่งข้อมูลที่ศึกษามี 4 ด้าน ดังต่อไปนี้
2.1 ข้อมูลทั่วไปและพื้นฐานทางคลินิกของผู้ป่วยสูงอายุ
2.2 ข้อมูลกิจกรรมที่ได้ให้การบริบาลเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยสูงอายุ
2.3 ข้อมูลด้านยาที่รักษาโรคไตเรื้อรัง สมุนไพร ยาชุด ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
2.4 ข้อมูลด้านปัญหาจากการใช้ยา ความร่วมมือในการใช้ยา
3. การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและอนุมานในการคานวณค่าทางสถิติ โดยใช้สถิติ
Paired t-test กาหนดค่า p-value < 0.05
วิธีดาเนินการวิจัย
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ซึ่งมีเภสัชกรให้การบริบาลทางเภสัชกรรม
ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ ช่วยชะลอความเสื่อมของไตโดยดูจากการลดลง
ของอัตราการกรองของที่มีแนวโน้มดีขึ้นซึ่งมีความสอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา (1,2,3) พบว่า
อัตราการได้รับการบาบัดทดแทนไตแบบไม่ได้วางแผนของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
(unplanned dialysis) ลดลง (2,3) อัตราการนอนโรงพยาบาลจากการติดเชื้อลดลง อัตราการ
ตายลดลง (3) สามารถลดปัญหาเกี่ยวกับยา และเฝ้าระวัง/ป้องกันปัญหาที่เกี่ยวกับยาซึ่งส่งผลต่อ
การทางานของไตได้ เป็นที่ยอมรับของแพทย์และทีมที่ดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (1) การศึกษานี้จึง
แสดงให้เห็นว่า ผู้ป่วยสูงอายุโรคไตเรื้อรังซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่อาจจะเกิดปัญหาเกี่ยวกับยา และมี
แนวโน้มการลดลงของอัตราการกรองของไต จนอาจนาไปสู่การบาบัดทดแทนไตแบบที่ไม่ได้
วางแผน จะเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการบริบาลเภสัชกรรมได้ ตอบสนองต่อ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาโรคไต และยังส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยอีกด้วย
อภิปรายและสรุปผลการศึกษา
ผลการศึกษา
ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยนอกสูงอายุโรคไตเรื้อรัง
คณะผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ รศ.ดร.ภญ.เฉลิมศรี
ภุมมางกูร คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ม.สยาม และนพ. อนวัชช์ รักษ์วรรณวงศ์ ภก. สุรศักดิ์
เหลืองศิริธัญญะ รพ.บางปลาม้า ในความกรุณาสนับสนุนและให้กาลังใจในการดาเนินงาน
ศึกษาวิจัย และท่านผู้ป่วยทุกท่านที่เข้าร่วมการศึกษาและกรุณาเป็นครูของเรา
กิตติกรรมประกาศ
1. จักรภพ สวัสดิ์พาณิชย์. การบริบาลทางเภสัชกรรมเบื้องต้นในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง โรงพยาบาลกันทรวิชัย มหาสารคาม. วารสารวิจัย
และพัฒนาะบบสุขภาพ 2557; 7(3): 57-64.
2. เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง. ผลการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง โดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกโรคไตเรื้อรัง โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา.
วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย 2558; 5(3): 197-206.
3. Chen YR, Yang Y, Wang SC, Chiu PF, Chan WY. Effectiveness of multidisciplinary care for chronic kidney in Taiwan: a
3-year prospective cohort study. Nephrol Dial Transplant 2013; 28: 671-682.
เอกสารอ้างอิง
กิจกรรมสาคัญของการบริบาลทางเภสัชกรรม ได้แก่
- การสืบค้น/แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับยา สมุนไพร ยาชุดแก้ปวด ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่
อาจเป็นอันตรายต่อไต (drug related problems)
- นาเสนอการปรับ/เปลี่ยนการใช้ยาของผู้ป่วยเฉพาะกรณีต่อแพทย์
- การประเมินความร่วมมือในการใช้ยา (medication adherence)
- การทบทวนรายการยา (medication reconcile)
- การให้คาแนะนาด้านยาแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแล (medication counseling)
- ติดตามบันทึกค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ค่าชี้วัดการทางานของไตที่สาคัญ
ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย
อายุ อายุเฉลี่ย 74 ± 8.5
มีค่าอยู่ระหว่าง 60-93 ปี
เพศ หญิงร้อยละ 67 ชายร้อยละ 33
ภาวะไตเรื้อรัง
eGFR (ml/mik/
1.73 m2 ) โดย
สูตร CKD-EPI
ระยะที่ 1 (eGFR ≥ 90) ร้อยละ 2
ระยะที่ 2 (eGFR 60-89) ร้อยละ 27
ระยะที่ 3 (eGFR 30-59) ร้อยละ 51
ระยะที่ 4 (eGFR 15-29) ร้อยละ 8
ระยะที่ 5 (eGFR < 15) ร้อยละ 12
DRPs
ที่สาคัญ
•ผู้ป่วยถึงร้อยละ 12 พบความไม่ร่วมมือในการ
ใช้ยาที่ดี
•ผู้ป่วยร้อยละ 40 ในกลุ่มที่มีเบาหวานเป็นโรค
ร่วม ยังไม่สามารถใช้ยาฉีดอินซูลินได้ถูกต้อง
เฝ้าระวัง
ยาที่เป็น
อันตราย
ต่อไต
•ผู้ป่วยร้อยละ 27 มีการใช้สมุนไพรที่อาจมีอันตรายต่อไต
•ผู้ป่วยร้อยละ 21 ยังใช้ยาชุดเพื่อบรรเทาอาการปวด
บริบาล
เพื่อชะลอ
ความ
เสื่อมไต
• ค่าเฉลี่ยของอัตราการกรองของไตก่อน-หลังการบริบาลพบว่ามีความ
แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value = 0.007)
• เสนอการปรับ/เปลี่ยนยาต่อแพทย์ในผู้ป่วยเฉพาะรายทั้งสิ้น 102 ราย
• เฝ้าระวังค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ชี้วัดการทางานของไตในผู้ป่วย
ทุกราย
ผลการบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยนอกสูงอายุโรคไตเรื้อรัง

More Related Content

Similar to Poster ckd นำเสนอ

ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.Ziwapohn Peecharoensap
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifeCAPD AngThong
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553Utai Sukviwatsirikul
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”เทพไซเบอร์ฯ ร้านค้าดอทคอม
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วนsumethinee
 
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdfauthor_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdfssuser9f38da
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...Rachanont Hiranwong
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docjiratiyarapong
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก Utai Sukviwatsirikul
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคJimmy Pongpisut Santumpol
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4fainaja
 

Similar to Poster ckd นำเสนอ (20)

02 Inthanut.pdf
02 Inthanut.pdf02 Inthanut.pdf
02 Inthanut.pdf
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
 
59-3final.pdf
59-3final.pdf59-3final.pdf
59-3final.pdf
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
โรคอ้วน
โรคอ้วนโรคอ้วน
โรคอ้วน
 
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdfauthor_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
 
4 0
4 04 0
4 0
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34Handbook chapter33 34
Handbook chapter33 34
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.docWed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
Wed11May201115444AM -SOAP_OPD_warfarin overdose.doc
 
Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017Guideline diabetes-care-2017
Guideline diabetes-care-2017
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคสรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
สรุปผลการศึกษางานวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม4
 

More from kamolwantnok

medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionkamolwantnok
 
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studyUnderstanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studykamolwantnok
 
Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology kamolwantnok
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)kamolwantnok
 
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for PharmacoepidemiologyThe use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiologykamolwantnok
 
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for PharmacoepidemiologyThe use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for Pharmacoepidemiologykamolwantnok
 
Evolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandEvolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandkamolwantnok
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองkamolwantnok
 

More from kamolwantnok (8)

medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depression
 
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studyUnderstanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
 
Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
 
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for PharmacoepidemiologyThe use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
 
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for PharmacoepidemiologyThe use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
 
Evolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandEvolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailand
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
 

Poster ckd นำเสนอ

  • 1. การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการบริบาลทางเภสัชกรรมผู้ป่วยนอกสูงอายุในการชะลอความเสื่อมของไต รูปแบบงานวิจัยแบบภาคตัดขวาง ณ กันยายน 2560 ในคลินิกผู้ป่วยไตเรื้อรัง โรงพยาบาลบางปลาม้า สุพรรณบุรี จากข้อมูลผู้ป่วย 165 ราย ในจานวนนี้มีผู้ป่วย 35 รายมีโรคเบาหวานร่วมด้วย ผลการวิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ผู้ป่วยมีอายุ เฉลี่ย 74 ปี เป็นหญิงร้อยละ 67 ภาวะไตวายเรื้อรังส่วนใหญ่อยู่ในระยะที่ 3 การศึกษาปัญหาเกี่ยวกับยาพบความไม่ร่วมมือในการใช้ยามากถึงร้อยละ 12 เฉพาะกลุ่มที่มีเบาหวานเป็นโรคร่วม พบว่า ผู้ป่วย 14 ราย ยังไม่สามารถใช้ยาฉีดอินซูลินได้อย่างถูกต้อง เภสัชกรได้เสนอแนะการปรับ/เปลี่ยนยาต่อแพทย์ในผู้ป่วยเฉพาะราย 102 ราย และผลการศึกษาเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของอัตราการกรอง ของไตก่อน-หลังการให้บริบาลผู้ป่วยสูงอายุดังกล่าว โดยใช้สถิติ paired t-test พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value = 0.007) อย่างไรก็ตามการให้การบริบาลทางเภสัชกรรม ยังต้องทาอย่างต่อเนื่อง และควรศึกษาปัจจัยผู้ป่วยด้านอื่นเพิ่มเติมที่มีผลต่อการช่วยชะลอความเสื่อมของไต ได้แก่ การควบคุมความดันโลหิต ระดับน้าตาล/ไขมันในเลือด การจัดการกับ ภาวะแทรกซ้อนอย่างเหมาะสม เพื่อการพัฒนางานให้เกิดประสิทธิภาพ ความปลอดภัย และคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยสูงอายุ บทบาทของเภสัชกรในการชะลอความเสื่อมของไต งานบริบาลทางเภสัชกรรม ผู้ป่วยนอกสูงอายุโรคไตเรื้อรัง โรงพยาบาลบางปลาม้า สุพรรณบุรี กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล1, สายฝน อินทร์ใจเอื้อ2 1คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร , 2กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลบางปลาม้า สุพรรณบุรี บทคัดย่อ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) สาขาโรคไตมี เป้าหมายที่ชัดเจนในการชะลอความเสื่อมของภาวะไตวายเรื้อรังในผู้ป่วย และกาหนดตัวชี้วัดผล การปฏิบัติงานไว้ในแต่ละปีงบประมาณอย่างชัดเจน เภสัชกรในฐานะหนึ่งในทีมสหสาขาวิชาชีพ ดูแลผู้ป่วย จึงมีบทบาทในด้านการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในด้านยาโดยตรง ผลการบริบาลทาง เภสัชกรรมผู้ป่วยนอก สามารถทาให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย และสร้างคุณภาพชีวิตให้ผู้ป่วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มผู้ป่วยสูงอายุในสังคมผู้สูงอายุที่ประเทศ ไทยกาลังจะเผชิญในระยะเวลาอีกไม่นานข้างหน้านี้ บทนา ดาเนินการศึกษา ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ขั้นตอนในการดาเนินงาน 1. เลือกผู้ป่วยสูงอายุโรคไตเรื้อรังจากเวชระเบียนและฐานข้อมูลผู้ป่วย ณ จุดเวลาที่ศึกษา 2. ทาการเก็บข้อมูลของผู้ป่วยโดยสืบค้นจากเวชระเบียน ฐานข้อมูลของโรงพยาบาล รวมถึงเก็บ ข้อมูลจากแบบบันทึกการบริบาลทางเภสัชกรรม ซึ่งข้อมูลที่ศึกษามี 4 ด้าน ดังต่อไปนี้ 2.1 ข้อมูลทั่วไปและพื้นฐานทางคลินิกของผู้ป่วยสูงอายุ 2.2 ข้อมูลกิจกรรมที่ได้ให้การบริบาลเภสัชกรรมแก่ผู้ป่วยสูงอายุ 2.3 ข้อมูลด้านยาที่รักษาโรคไตเรื้อรัง สมุนไพร ยาชุด ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร 2.4 ข้อมูลด้านปัญหาจากการใช้ยา ความร่วมมือในการใช้ยา 3. การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนาและอนุมานในการคานวณค่าทางสถิติ โดยใช้สถิติ Paired t-test กาหนดค่า p-value < 0.05 วิธีดาเนินการวิจัย การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโดยทีมสหสาขาวิชาชีพ ซึ่งมีเภสัชกรให้การบริบาลทางเภสัชกรรม ก่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่ดีในการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ ช่วยชะลอความเสื่อมของไตโดยดูจากการลดลง ของอัตราการกรองของที่มีแนวโน้มดีขึ้นซึ่งมีความสอดคล้องกับการศึกษาที่ผ่านมา (1,2,3) พบว่า อัตราการได้รับการบาบัดทดแทนไตแบบไม่ได้วางแผนของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย (unplanned dialysis) ลดลง (2,3) อัตราการนอนโรงพยาบาลจากการติดเชื้อลดลง อัตราการ ตายลดลง (3) สามารถลดปัญหาเกี่ยวกับยา และเฝ้าระวัง/ป้องกันปัญหาที่เกี่ยวกับยาซึ่งส่งผลต่อ การทางานของไตได้ เป็นที่ยอมรับของแพทย์และทีมที่ดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง (1) การศึกษานี้จึง แสดงให้เห็นว่า ผู้ป่วยสูงอายุโรคไตเรื้อรังซึ่งมีความเสี่ยงสูงที่อาจจะเกิดปัญหาเกี่ยวกับยา และมี แนวโน้มการลดลงของอัตราการกรองของไต จนอาจนาไปสู่การบาบัดทดแทนไตแบบที่ไม่ได้ วางแผน จะเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับประโยชน์สูงสุดจากการบริบาลเภสัชกรรมได้ ตอบสนองต่อ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพสาขาโรคไต และยังส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยอีกด้วย อภิปรายและสรุปผลการศึกษา ผลการศึกษา ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วยนอกสูงอายุโรคไตเรื้อรัง คณะผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ รศ.ดร.ภญ.เฉลิมศรี ภุมมางกูร คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ ม.สยาม และนพ. อนวัชช์ รักษ์วรรณวงศ์ ภก. สุรศักดิ์ เหลืองศิริธัญญะ รพ.บางปลาม้า ในความกรุณาสนับสนุนและให้กาลังใจในการดาเนินงาน ศึกษาวิจัย และท่านผู้ป่วยทุกท่านที่เข้าร่วมการศึกษาและกรุณาเป็นครูของเรา กิตติกรรมประกาศ 1. จักรภพ สวัสดิ์พาณิชย์. การบริบาลทางเภสัชกรรมเบื้องต้นในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง โรงพยาบาลกันทรวิชัย มหาสารคาม. วารสารวิจัย และพัฒนาะบบสุขภาพ 2557; 7(3): 57-64. 2. เสาวลักษณ์ ชาวโพนทอง. ผลการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง โดยทีมสหสาขาวิชาชีพในคลินิกโรคไตเรื้อรัง โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย 2558; 5(3): 197-206. 3. Chen YR, Yang Y, Wang SC, Chiu PF, Chan WY. Effectiveness of multidisciplinary care for chronic kidney in Taiwan: a 3-year prospective cohort study. Nephrol Dial Transplant 2013; 28: 671-682. เอกสารอ้างอิง กิจกรรมสาคัญของการบริบาลทางเภสัชกรรม ได้แก่ - การสืบค้น/แก้ไขปัญหาเกี่ยวกับยา สมุนไพร ยาชุดแก้ปวด ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่ อาจเป็นอันตรายต่อไต (drug related problems) - นาเสนอการปรับ/เปลี่ยนการใช้ยาของผู้ป่วยเฉพาะกรณีต่อแพทย์ - การประเมินความร่วมมือในการใช้ยา (medication adherence) - การทบทวนรายการยา (medication reconcile) - การให้คาแนะนาด้านยาแก่ผู้ป่วยและผู้ดูแล (medication counseling) - ติดตามบันทึกค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ ค่าชี้วัดการทางานของไตที่สาคัญ ข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย อายุ อายุเฉลี่ย 74 ± 8.5 มีค่าอยู่ระหว่าง 60-93 ปี เพศ หญิงร้อยละ 67 ชายร้อยละ 33 ภาวะไตเรื้อรัง eGFR (ml/mik/ 1.73 m2 ) โดย สูตร CKD-EPI ระยะที่ 1 (eGFR ≥ 90) ร้อยละ 2 ระยะที่ 2 (eGFR 60-89) ร้อยละ 27 ระยะที่ 3 (eGFR 30-59) ร้อยละ 51 ระยะที่ 4 (eGFR 15-29) ร้อยละ 8 ระยะที่ 5 (eGFR < 15) ร้อยละ 12 DRPs ที่สาคัญ •ผู้ป่วยถึงร้อยละ 12 พบความไม่ร่วมมือในการ ใช้ยาที่ดี •ผู้ป่วยร้อยละ 40 ในกลุ่มที่มีเบาหวานเป็นโรค ร่วม ยังไม่สามารถใช้ยาฉีดอินซูลินได้ถูกต้อง เฝ้าระวัง ยาที่เป็น อันตราย ต่อไต •ผู้ป่วยร้อยละ 27 มีการใช้สมุนไพรที่อาจมีอันตรายต่อไต •ผู้ป่วยร้อยละ 21 ยังใช้ยาชุดเพื่อบรรเทาอาการปวด บริบาล เพื่อชะลอ ความ เสื่อมไต • ค่าเฉลี่ยของอัตราการกรองของไตก่อน-หลังการบริบาลพบว่ามีความ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p-value = 0.007) • เสนอการปรับ/เปลี่ยนยาต่อแพทย์ในผู้ป่วยเฉพาะรายทั้งสิ้น 102 ราย • เฝ้าระวังค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ชี้วัดการทางานของไตในผู้ป่วย ทุกราย ผลการบริบาลเภสัชกรรมผู้ป่วยนอกสูงอายุโรคไตเรื้อรัง