SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
บทที่ 2 สมการกําลังสองตัวแปรเดียว
นักเรียนเคยทราบมาแลววาพหุนาม เชน 4x2
, x2
, x2
– 5 , 3x2
+ x และ x2
- 4x + 1 เปนพหุนาม
ดีกรีสองที่มีตัวแปรเดียว คือ x พหุนามดังกลาวมีรูปทั่วไปเปน ax2
+ bx + c เมื่อ a, b และ c เปนคาคง
ตัว โดยที่ a ≠ 0 เราจะไดเห็นการนําพหุนามดังกลาวมาใชในสมการกําลังสองตัวแปรเดียว
ตัวอยางของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว
1. 2
4 0
x =
2. 2
3 0
x − =
3. 2
2 4 0
x x
+ =
4. 2
3 3 1 0
x x
− + =
5.
2
2 0
6
y
y − − = เปนตน
แนะนําสมการกําลังสองตัวแปรเดียว
ในบางครั้ง เราอาจพบสมการกําลังสองตัวแปรเดียวที่ไมไดเขียนอยูในรูปทั่วไป แตเราสามารถ
เขียนสมการเหลานั้นในรูปทั่วไปได ดังตัวอยางตอไปนี้
1. 3
5 3
x x
− =
2. ( )
2 2 3 5
y y − =
−
3. 2 2
4 2 2 4 6
a a a a
− =
− + −
สมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัวแปร
a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0
ตัวอยาง จงเขียนสมการกําลังสองตอไปนี้ใหอยูในรูปทั่วไป 2
0
ax bx c
+ + = เมื่อ x เปนตัวแปร
a , b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ 0
a ≠ พรอมทั้งบอกคา a , b และ c ในแตละสมการ
1. 3
2 5 3
x x
+ =
− 2. 2
3
a a
= −
3. ( )
2
1 2
x − =
4. 2
3 3 3 5
n n n
− − + =
5. ( )
4 2 3 5 2
x x x
− + − =
6. 2 2
3 2 4 5 4 6
a a a a
− + =
− − +
สมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัวแปร
a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0
คําตอบของสมการ คือ จํานวนจริงที่แทนตัวแปรในสมการแลวทําใหไดสมการที่เปนจริง
ใหนักเรียนพิจารณาการหาคําตอบของสมการกําลังสองตัวแปรเดียว โดยวิธีลองแทนคาตัวแปรใน
สมการ ดังตัวอยางตอไปนี้
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยการแทนคา
ตัวอยางที่ 1
2
4 0
x x
− =
วิธีทํา เมื่อแทน x ดวย 0 ในสมการ
2
4 0
x x
− =
จะได ( ) ( )
2
0 4 0 0
− =
0 0
= ซึ่งเปนสมการที่เปนจริง
ดังนั้น 0 เปนคําตอบของสมการ
2
4 0
x x
− =
และเมื่อแทน x ดวย 4 ในสมการ
2
4 0
x x
− =
จะได ( ) ( )
2
4 4 4 0
− =
0 0
= ซึ่งเปนสมการที่เปนจริง
ดังนั้น 4 เปนคําตอบของสมการ
2
4 0
x x
− = และเมื่อแทน x ดวย
จํานวนจริงอื่นๆที่ไมใช 0 และ 4 ในสมการ
2
4 0
x x
− =
แลวจะไดสมการที่ไมเปนจริง
ดังนั้น คําตอบของสมการ
2
4 0
x x
− =
มี 2 คําตอบ คือ 0 และ 4
ตัวอยางที่ 2
2
4 4 0
y y
− + =
วิธีทํา เมื่อแทน x ดวย 2 ในสมการ
2
4 4 0
y y
− + =
จะได ( )
2
2 4 2 4 0
− + =
0 0
= ซึ่งเปนสมการที่เปนจริง
ดังนั้น 2 เปนคําตอบของสมการ
2
4 4 0
y y
− + =
และเมื่อแทน y ดวยจํานวนจริงอื่นๆที่ไมใช 2 ในสมการ
2
4 4 0
y y
− + =แลวจะได
สมการที่ไมเปนจริง
ดังนั้น คําตอบของสมการ
2
4 4 0
y y
− + = มี 1 คําตอบ คือ 2
ตัวอยางที่ 3
2
7 0
x + =
วิธีทํา จากสมการ
2
7 0
x + =
จะได
2
7
x = −
เนื่องจาก จํานวนจริงใดๆ ยกกําลังสองแลว จะตองเปนจํานวนจริงบวก หรือศูนย
ดังนั้น ไมมีจํานวนจริงใดยกกําลังสองแลว ไดผลลัพธเปน -7
นั่นคือ ไมมีจํานวนจริงใดเปนคําตอบของสมการ
2
7 0
x + =
จากตัวอยางทั้งสามขางตน แสดงใหเห็นวา สมการกําลังสองตัวแปร
เดียวอาจมี 2 คําตอบ หรือ 1 คําตอบ หรืออาจไมมีจํานวนจริงใดเปน
คําตอบก็ได ในทางคณิตศาสตร สมการกําลังสองตัวแปรเดียวมีคําตอบได
ไมเกิน 2 คําตอบ
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัวแปร
a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0 ดวยวิธีลองแทนคานั้น ในทางปฏิบัติ อาจทําไมได หรืออาจไมสะดวก
และตองใชเวลามาก
ในกรณีที่เราสามารถแยกตัวประกอบของ ax2
+ bx + c ใหอยูในรูปการคูณกันของพหุนามดีกรีหนึ่ง
2 พหุนาม และเนื่องจากในที่นี้พหุนามแทนจํานวน เราจึงใชสมบัติของจํานวนจริงที่วา ถา m และ n เปน
จํานวนจริง และ mn=0 แลว m=0 หรือ n=0 มาใชในการแกสมการดวย ก็จะทําใหแกสมการกําลังสองตัว
แปรเดียวไดสะดวกขึ้น
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยการแยกตัวประกอบ
การแกสมการกําลังสอง โดยการดึงตัวรวม
ตัวอยางที่ 1 จงแกสมการ
2
5
x x
=
วิธีทํา
2
5
x x
=
ตัวอยางที่ 2 จงแกสมการ ( )
2
2 5
x x x
− =
วิธีทํา ( )
2
2 5
x x x
− =
การแกสมการกําลังสอง โดยใชสูตรผลตางกําลังสอง
ตัวอยางที่ 3 จงแกสมการ
2
4 9 0
x − =
วิธีทํา
2
4 9 0
x − =
ตัวอยางที่ 4 จงแกสมการ ( ) ( )
2 2
3 2 1
x x
+ = −
วิธีทํา ( ) ( )
2 2
3 2 1
x x
+ = −
ตัวอยางที่ 5 จงแกสมการ ( )
2
2 60
x − =
วิธีทํา ( )
2
2 60
x − =
การแกสมการกําลังสอง โดยใชสูตรกําลังสองสมบูรณ
ตัวอยางที่ 6 จงแกสมการ
2
4 4 0
x x
− + =
วิธีทํา
2
4 4 0
x x
− + =
ตัวอยางที่ 7 จงแกสมการ
2
4 8 4 0
x x
− + =
วิธีทํา
2
4 8 4 0
x x
− + =
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัวแปร a,
b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0 โดยการแยกตัวประกอบพหุนามใหอยูในรูปการคูณกันของพหุนามดีกรี
หนึ่งสองพหุนาม
ตัวอยางที่ 8 จงแกสมการ
2
5 6 0
x x
+ + =
วิธีทํา
2
5 6 0
x x
+ + =
ตัวอยางที่ 9 จงแกสมการ
2
2 5 3 0
x x
− − =
วิธีทํา
2
2 5 3 0
x x
− − =
ตัวอยางที่ 10 จงแกสมการ
2
4 25 15
x x
+ =
วิธีทํา
2
4 25 15
x x
+ =
ตัวอยางที่ 11 จงแกสมการ
2
0.25 0.5 0
x x
− =
วิธีทํา
2
0.25 0.5 0
x x
− =
ตัวอยางที่ 12 จงแกสมการ
2
0.5 0.5 0
z z
− + − =
วิธีทํา
2
0.5 0.5 0
z z
− + − =
ตัวอยางที่ 13 จงแกสมการ
2 7 3
2 0
2 2
x x
− + − =
วิธีทํา
2 7 3
2 0
2 2
x x
− + − =
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัว
แปร a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0 มีการหาคําตอบของสมการโดยใชสูตร ดังนี้
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชสูตร
𝒙 =
−𝒃 ± √𝒃𝟐 − 𝟒𝟒𝟒
𝟐𝟐
ซึ่ง 1. ถา 𝑏2
− 4𝑎𝑎 > 0 สมการจะมี 2 คําตอบ
2. ถา 𝑏2
− 4𝑎𝑎 = 0 สมการจะมี 1 คําตอบ
3. ถา 𝑏2
− 4𝑎𝑎 < 0 สมการจะไมมีจํานวนจริงใดเปนคําตอบของสมการ
ตัวอยางที่1 จงพิจารณาสมการกําลังสองตอไปนี้วามีคําตอบหรือไม ถามี มีกี่คําตอบ
1.
2
2 8 3 0
− + =
x x
2.
2
5 2 1
= −
x x
3.
2
1
5
2
+ =
x x
4.
2
4 68 289 0
+ + =
x x
5.
2
16 8 1 0
− + =
x x
6. ( )
2
5 1 25
+ =
x
ตัวอยางที่ 2 จงหาคา k ที่ทําใหสมการ
2
9 4 0
+ + =
x kx นี้มีคําตอบเพียงคําตอบเดียว
วิธีทํา
2
9 4 0
+ + =
x kx
ตัวอยางที่ 3 จงหาคา k ที่ทําใหสมการ ( )
2
6 8 0
+ + + =
x k x k นี้มีคําตอบเพียงคําตอบเดียว
วิธีทํา ( )
2
6 8 0
+ + + =
x k x k
ตัวอยางที่ 4 จงแกสมการ
2
4 1 0
+ − =
x x โดยใชสูตร
วิธีทํา
2
4 1 0
+ − =
x x
ตัวอยางที่ 5 จงแกสมการ
2
3 7 1 0
+ − =
x x โดยใชสูตร
วิธีทํา
2
3 7 1 0
+ − =
x x
ตัวอยางที่ 1 จงแกสมการ
2
4 13 0
x x
+ + =
วิธีทํา
2
4 13 0
x x
+ + =
ตัวอยางที่ 2 จงแกสมการ
2
16 24 9 0
+ + =
x x
วิธีทํา
2
16 24 9 0
+ + =
x x
ตัวอยางที่ 3 จงแกสมการ
2
2 3 14
x x
= +
วิธีทํา
2
2 3 14
x x
= +
ตัวอยางที่ 4 จงแกสมการ
2
4 3 8 9
− = +
x x
วิธีทํา
2
4 3 8 9
− = +
x x
ตัวอยางที่ 5 จงแกสมการ ( ) ( )
2 3 4 10
− = −
x x x
วิธีทํา ( ) ( )
2 3 4 10
− = −
x x x
ตัวอยางที่ 6 จงแกสมการ ( )
2
1 116
2 5
5 5
x x
− = −
วิธีทํา ( )
2
1 116
2 5
5 5
x x
− = −
ตัวอยางที่ 7 จากสมการ
2
2 7 4 0
x x
− + =จงหาผลบวกและผลคูณของคําตอบของสมการ
วิธีทํา
2
2 7 4 0
x x
− + =
การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียว มีรูปทั่วไปเปน ax2
+ bx + c = 0 เมื่อ x เปนตัว
แปร a, b และ c เปนคาคงตัว โดยที่ a ≠ 0 มีการหาคําตอบของสมการโดยใชสูตร ดังนี้
𝒙 =
−𝒃 ± √𝒃𝟐 − 𝟒𝟒𝟒
𝟐𝟐
ซึ่ง 1. ถา 𝑏2
− 4𝑎𝑎 > 0 สมการจะมี 2 คําตอบ
2. ถา 𝑏2
− 4𝑎𝑎 = 0 สมการจะมี 1 คําตอบ
3. ถา 𝑏2
− 4𝑎𝑎 < 0 สมการจะไมมีจํานวนจริงใดเปนคําตอบของสมการ
สรุป การแกสมการกําลังสองตัวแปรเดียวโดยใชสูตร
การแกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว เริ่มจาก
1. อานและวิเคราะหโจทย
2. กําหนดตัวแปร
3. วิเคราะหเงื่อนไขในโจทยและเขียนสมการ
4. แกสมการ
5. ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเงื่อนไขในโจทย
6. แสดงคําตอบ
การแกโจทยฺปญหาสมการกําลังสองตัวแปรเดียว
ตัวอยางที่ 1 ใหผลคูณของจํานวนคูจํานวนหนึ่งกับจํานวนคูอีกจํานวนหนึ่งที่อยูถัดไปเปน 168 จงหาจํานวน
คูทั้งสองจํานวนนั้น
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 2 ถาผลบวกของจํานวนสองจํานวนเปน 20 และผลบวกของกําลังสองของแตละจํานวนเปน
272 จงหาจํานวนทั้งสอง
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 3 ถาผลคูณของจํานวนคูสองจํานวนที่เรียงติดกันเทากับ 440 จงหาจํานวนคูทั้งสองนั้น
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 4 รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปหนึ่งเมื่อเพิ่มความยาวของดาน ดานละ 4 ซม. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปใหมและ
รูปเดิมจะมีพื้นที่รวมกันเทากับ 346 ตร.ซม. จงหาความยาวดานของรูปเดิม
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 5 สี่เหลี่ยมผืนผารูปหนึ่ง ดานยาวยาวกวาดานกวาง 3 เซนติเมตร สี่เหลี่ยมผืนผารูปนี้มีพื้นที่ 40
ตารางเซนติเมตร จงหาวา ดานยาวของสี่เหลี่ยมผืนผารูปนี้ยาวกี่เซนติเมตร
วิธีทํา
ตัวอยางที่ 6 กําหนดสามเหลี่ยมมุมฉากรูปหนึ่งมีดานตรงขามมุมฉากยาว 2 3
x − หนวย ดานประกอบมุม
ฉากยาว x และ 3
x + จงหาพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากรูปนี้
วิธีทํา
การแกโจทยปญหาเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียว เริ่มจาก
1. อานและวิเคราะหโจทย
2. กําหนดตัวแปร
3. วิเคราะหเงื่อนไขในโจทยและเขียนสมการ
4. แกสมการ
5. ตรวจสอบคําตอบของสมการตามเงื่อนไขในโจทย
6. แสดงคําตอบ
สรุป การแกโจทยฺปญหาสมการกําลังสองตัวแปรเดียว

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.kanjana2536
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลังPhanuwat Somvongs
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 krurutsamee
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netพัน พัน
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไขKrudodo Banjetjet
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 KruPa Jggdd
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวDuangnapa Jangmoraka
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มAena_Ka
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
แบบทดสอบหลังเรียน ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ชุดที่ 5
ชุดที่ 5 ชุดที่ 5
ชุดที่ 5
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
5.7อนุกรมเลขคณิตแก้ไข
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2 (คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.1 ล.2
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิวแผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
แผนการสอน เรื่อง ปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 

Similar to เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf

บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการkrulerdboon
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionThanuphong Ngoapm
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomialsAon Narinchoti
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการAon Narinchoti
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfrattapoomKruawang2
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4ทับทิม เจริญตา
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตPumPui Oranuch
 
พาราโบลา3
พาราโบลา3พาราโบลา3
พาราโบลา3kru na Swkj
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามวชิรญาณ์ พูลศรี
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนายเค ครูกาย
 
พาราโบลา2
พาราโบลา2พาราโบลา2
พาราโบลา2kru na Swkj
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงทับทิม เจริญตา
 

Similar to เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf (20)

บทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการบทที่ 13 ระบบสมการ
บทที่ 13 ระบบสมการ
 
Exponential and logarithm function
Exponential and logarithm functionExponential and logarithm function
Exponential and logarithm function
 
Real
RealReal
Real
 
Factoring of polynomials
Factoring of polynomialsFactoring of polynomials
Factoring of polynomials
 
Example equapoly
Example equapolyExample equapoly
Example equapoly
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdfการแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
การแยกตัวประกอบของพหุนาม (พื้นฐาน).pdf
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 4
 
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3 การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
การแก้ระบบสมการเชิงเส้นฯ 3
 
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซตบทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
บทที่ 2 ระบบจำนวนจริงและเซต
 
พาราโบลา3
พาราโบลา3พาราโบลา3
พาราโบลา3
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
พาราโบลา2
พาราโบลา2พาราโบลา2
พาราโบลา2
 
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรงสมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
สมการที่มีกราฟเป็นเส้นตรง
 

เรื่อง สมการกำลังสอง.pdf