SlideShare a Scribd company logo
โรคทางระบบประสาท
โรคอัลไซเมอร์ ( Alzheimer's disease หรือ AD)
ครูผู้สอน
คุณครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สมาชิกในกลุ่มที่ 1
ห้อง 78
ณัฐธิดา ภาสพานทอง
เลขที่ 8
ณิชกมล กิตติวรรณศักดิ์
เลขที่ 9
ณธกร วาสนาส่งชูสกุล
เลขที่ 26
ตรัยภพ แอร่มหล้า
เลขที่ 28
โรคอัลไซเมอร์ ( Alzheimer's disease หรือ AD)
ประวัติความเป็นมาและอุบัติการณ์ของโรค
สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค
ลักษณะอาการสําคัญของโรค
แนวทางในการป้องกันและการรักษาโรค
ถูกค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449
(ค.ศ. 1906) โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมัน
ชื่อว่า
(Alois Alzheimer) อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์
ประวัติความเป็นมาและอุบัติการณ์ของโรค
ประวัติความเป็นมาและอุบัติการณ์ของโรค
ประวัติความเป็นมาและอุบัติการณ์ของโรค
อัตราอุบัติการณ์ของโรคอัลไซเมอร์ ในผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี
อายุ
อุบัติการณ์ (ผู้ป่วยใหม่)
ต่อพันคน–ปี
65 – 69 3
70 – 74 6
75 – 79 9
80 – 84 23
85 – 89 40
90 – 69
สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค
เมื่อนําสมองของผู้ป่ วยโรคอัลไซเมอร์มาตรวจดู จะพบลักษณะดังนี้
สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค
เอนไซม์ทําปฏิกิริยากับโปรตีนต้นกําเนิดแอมีลอยด์ (amyloidprecursor protein; APP) โดยตัดโปรตีนเป็นท่อนๆ ท่อนที่
ชื่อว่า บีตา-แอมีลอยด์ (beta-amyloid)
1. พบกลุ่มแผ่น (Plaque) ลักษณะเหมือนคราบในสมอง เรียกกลุ่มแผ่นนี้ว่า
Amyloid plaquesหรือ Neuritic plaquesประกอบด้วยโปรตีนที่ชื่อ Beta-amyloid protein(Aβ
protein) บริเวณของสมองที่จะพบAmyloid plaques คือส่วนของกลีบสมองใหญ่ส่วนลึกที่
เรียกว่า Hippocampus และ Entorhinal cortex
(ในสมองคนสูงอายุทั่วไปสามารถพบ Amyloidplaques ได้แต่จะมีปริมาณไม่มากเท่ากับคนที่เป็นโรคอัลไซเมอร์)
สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค
ในโรคอัลไซเมอร์ การเปลี่ยนแปลงของโปรตีนเทา (tau protein) ทําให้เกิดการสลายของไมโครทิวบูลในเซลล์สมอง
2. พบเส้นใยฝอย (Fibril) ที่เรียกว่า
Neurofibril lary tangles (NFT) เกิด
จากโปรตีนที่เกิดความผิดปกติ ชื่อว่า
Tau protein มาพันรวมตัวกันผิดปกติ
พบที่เดียวกับ Amyloid plaques
ซึ่งเซลล์ประสาทที่มี NFT นั้นใน
ที่สุดก็จะตายไป แต่การพบ NFT นี้ไม่ได้เป็น
ลักษณะเฉพาะของโรคอัลไซเมอร์
เท่านั้น เพราะสามารถพบได้ในโรคสมอง
เสื่อมชนิดอื่นๆด้วย
สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค
มี 3 สมมติฐานหลักที่อธิบายสาเหตุของโรคอัลไซเมอร์ไว้ดังนี้
1. สมมติฐานโคลิเนอร์จิก (cholinergichypothesis)
สมมติฐานที่เก่าที่สุดซึ่งยาที่ใช้รักษาในปัจจุบันส่วนมากยึดเป็นพื้นฐานซึ่งเชื่อว่าโรคอัลไซเมอร์เกิดจากการลดการ
สังเคราะห์สารสื่อประสาทชนิดแอซิทิลโคลีน (acetylcholine) แต่การให้ยาเพื่อรักษาการขาดแอซิทิลโคลีนโดยตรงไม่มี
ประสิทธิภาพในการรักษาโรคอัลไซเมอร์มากนัก
2. สมมติฐานแอมีลอยด์ (amyloid hypothesis)
สมมติฐานแอมีลอยด เชื่อว่าการสะสมของบีตา-แอมีลอยด์ (beta-amyloid; βA) เป็นสาเหตุหลักของ
โรคอัลไซเมอร์ ทฤษฎีนี้เป็นที่น่าสนใจเนื่องจากยีนของสารตั้งต้นบีตา-แอมีลอยด์อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 21
ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มอาการดาวน์ (Down Syndrome) มียีนดังกล่าวมากกว่าปกติ ทั้งหมดล้วนแสดงอาการของโรคอัลไซเมอร์
เมื่ออายุประมาณ 40 ปี
(มีข้อสังเกตพบว่าการสะสมของแอมีลอยด์พลากไม่มีความสัมพันธ์กับการตายของเซลล์ประสาท)
สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค
3. สมมติฐานโปรตีนเทา (tau hypothesis)
ซึ่งเชื่อว่าความผิดปกติของโปรตีนเทา (tau protein) เป็นตัวริเริ่มให้เกิดความ
ผิดปกติตามมาเป็นลําดับ ซึ่งโปรตีนเทาผิดปกติจะจับคู่กับโปรตีนเทาปกติสายอื่นๆ
พันรวมตัวกันผิดปกติ เกิดเป็น นิวโรไฟบริลลารี แทงเกิล (neurofibrillary tangles)
กระบวนการดังกล่าวทําผลดังกล่าวทําให้ไมโครทิวบูลสลายตัว และทําลายระบบการ
ขนส่งสารในเซลล์ประสาท ให้เกิดความผิดปกติในการสื่อสารทางชีวเคมีระหว่างเซลล์
ประสาท และทําให้เซลล์ตายในเวลาต่อมา
ลักษณะอาการสําคัญของโรค
ลําดับการดําเนินโรคอัลไซเมอร์แบ่งออกเป็น 4 ระยะ โดยมีลักษณะของความบกพร่องของหน้าที่และการรู้ที่แย่ลง
เรื่อยๆ
1. ระยะก่อนสมองเสื่อม (Predementia)
ในระยะก่อนสมองเสื่อม อาการแรกสุดมักจะเข้าใจผิดว่าเกิดขึ้นเองจากความชรา จะยังไม่พบสิ่งผิดปกติ ผู้ป่วยใน
ระยะนี้ก็จะไม่เข้าเกณฑ์การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ แต่ในทางการศึกษา เมื่อตรวจสมองของผู้ป่วยเหล่านี้จะพบความผิดปกติ
เกิดขึ้นแล้ว เช่น สมองส่วน Entorhinal cortex มีการฝ่ อลีบ พบ Amyloid plaques, Neurofibrillarytangles เป็นต้น
อาการเริ่มแรก ส่วนใหญ่ความบกพร่องที่เห็นชัดคือการสูญเสียความจํา คือพยายามจําข้อมูลที่เรียนรู้เมื่อไม่นานมานี้
ไม่ได้และไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้อาจพบภาวะไร้อารมณ์ (apathy) ได้ในระยะนี้และจะเป็นอาการที่คงปรากฏอยู่ตลอด
ทุกระยะเวลาการดําเนินโรค ในระยะก่อนสมองเสื่อมนี้ จะแสดงอาการที่เรียกว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้เล็กน้อย (mild
cognitive impairment)]
ลักษณะอาการสําคัญของโรค
2. สมองเสื่อมระยะแรก (Early dementia)
ผู้ป่วยจะมีการสูญเสียความจําในระยะสั้น ความจําใหม่ หรือความจําที่เพิ่งเรียนรู้มา ส่วน
ความทรงจําในระยะยาวที่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวของผู้ป่วย เช่น เกิดที่จังหวัดไหน เรียนจบ
อะไรมา รวมทั้งความจําที่เป็นความรู้ทั่วไปเช่น ไฟแดงหมายถึงให้หยุดรถ และความจําที่เป็นความจํา
โดยปริยาย (ความจําของร่างกายว่าทําสิ่งต่างๆอย่างไร เช่น การใช้ช้อนส้อมรับประทานอาหาร)
ยังพอจําได้เป็นปกติ การใช้ชีวิตของผู้ป่วยในระยะนี้ จะเริ่มไม่เป็นปกติ เช่น กําลังขับรถจะไปทําธุระ
บางอย่าง เกิดจําไม่ได้ว่าสถานที่นั้นต้องขับรถไปทางไหน และก็อาจจะขับรถกลับบ้านไม่ถูก
ความคิดในการสร้างสรรค์งานใหม่ๆจะลดลง การตัดสินใจจะช้าลง ไม่มีสมาธิในการ
ทํางาน ไม่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ การใช้คําศัพท์ไม่คล่องเหมือนเดิม ทําให้พูดหรือเขียนหนังสือ
และใช้ภาษาได้น้อยลง แต่ยังสามารถสื่อสารบอกความคิดพื้นฐานของตนได้ทํากิจวัตรประจําวันต่างๆ
ได้ไม่คล่องแคล่วเหมือนเดิม นอกจากนี้อารมณ์จะเริ่มเปลี่ยนไป มีความวิตกกังวลมากขึ้น
ลักษณะอาการสําคัญของโรค
3. สมองเสื่อมระยะปานกลาง (Moderate dementia)
ในระยะสมองเสื่อมระยะปานกลางนี้ นอกจากสูญเสียความทรงจําในระยะสั้นแล้ว ความจําในระยะยาว และความรู้
ทั่วไปก็จะค่อยๆบกพร่องไป ผู้ป่วยจะจําชื่อและหน้าตาของเพื่อนๆไม่ได้และก็อาจจะจําคนในครอบครัวไม่ได้หรือแม้กระทั่งคู่ชีวิต
ของตนเอง ก็จําไม่ได้ว่าเป็นใคร ดังนั้นแม้ผู้ป่วยจะอยู่ในบ้านของตัวเองก็จะรู้สึกเหมือนอยู่ในสถานที่แปลก อยู่กับคนแปลกหน้า
ไม่คุ้นเคยตลอดเวลาการพูดและการใช้ภาษาจะบกพร่องชัดเจน เช่น จะไม่สามารถนึกคําเรียกชื่อสิ่งของที่มองเห็นอยู่ตรงหน้าได้
หรือใช้ศัพท์คําอื่นมาเรียกแทน มีปัญหาในการสื่อสารบอกความคิดของตนเอง ทักษะการอ่านและการเขียนค่อยๆเสียไปเรื่อยๆ การ
ทํากิจวัตรประจําวันต่างๆก็จะเริ่มมีปัญหา เช่น การแต่งตัว ไม่รู้ว่าชุดไหนควรเอาไว้ใส่เวลาใด หรือแม้กระทั่งจะใส่เสื้อตัวนี้ต้องทํา
อย่างไร เป็นต้น
พฤติกรรมจะเปลี่ยนแปลงไป อาการแสดงที่พบบ่อยคือการหนีออกจากบ้าน ความรู้สึกผิดปกติ สับสนหรือเห็นภาพ
หลอนในเวลาโพล้เพล้หรือกลางคืน (sun downing) หงุดหงิด โมโหง่าย และอารมณ์แปรปรวน
ลักษณะอาการสําคัญของโรค
4. สมองเสื่อมระยะสุดท้าย (Advanced dementia)
ในระยะสมองเสื่อม ระยะความทรงจําในระยะสั้น ความทรงจําในระยะยาว ความรู้ทั่วไป และกระทั่ง
ความจําที่เป็นความจําโดยปริยาย (ความจําของร่างกายว่าทําสิ่งต่างๆอย่างไร เช่น การใช้ช้อนส้อม
รับประทานอาหาร) ก็จะสูญเสียไป การใช้ภาษาของผู้ป่วยจะลดลงอย่างมาก อาจพูดเพียงแค่วลีง่ายๆ หรือคํา
เดี่ยวๆ จนถึงไม่สามารถพูดได้เลย ในระยะนี้ลักษณะพฤติกรรมก้าวร้าวจะลดลง ภาวะไร้อารมณ์เด่นกว่า
ผู้ป่วยต้องอาศัยพึ่งพาผู้ดูแลตลอดเวลา การทํากิจวัตรประจํา วันต่างๆจะค่อยๆลดลง ในที่สุดผู้ป่วยจะ
ไม่สามารถทํากิจกรรมใดๆได้เลย ทั้งการอาบนํ้า กินข้าว แต่งตัว แม้กระทั่งการเดิน หรือการนั่ง ถ้าไม่มี
ผู้ดูแล ผู้ป่วยก็จะได้แต่นอนนิ่งๆอยู่บนเตียงตลอดเวลา และไม่สามารถควบคุมการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ
ได้บางคนอาจมีอาการชัก กลืนลําบาก สุดท้ายผู้ป่ วยก็จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น เกิดแผลกด
ทับและติดเชื้อตาม มา เกิดปอดบวมติดเชื้อ ร่างกายขาดสารนํ้า ระบบเกลือแร่ขาดสมดุล เป็นต้น โดยไม่ได้
เสียชีวิตจากตัวโรคโดยตรง
แนวทางในการป้องกันและการรักษาโรค
• การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ได้แก่ ผักและผลไม้สด ธัญพืชต่างๆ นํ้ามันมะกอก ปลา
ไวน์แดง รวมไปถึงอาหารที่มีวิตามินบี 12 วิตามินซี และกรดโฟลิกสูง
• หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง อาหารรสจัด อาหารจานด่วนต่างๆ
• หมั่นออกกําลังกายสมํ่าเสมอ รวมไปถึงการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ จัดการกับ
ความเครียด
• การทํากิจกรรมที่ให้สมองได้ฝึกคิดเป็นประจํา เช่น อ่านหนังสือ เล่นหมากกระดาน เล่นปริศนา
อักษรไขว้รวมถึงการได้ลองทํากิจกรรมใหม่ๆที่ไม่เคยทํามาก่อน เช่น การใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ใหม่ๆ การฝึกเล่นดนตรี ทํางานประดิษฐ์ การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเป็นประจํา
เช่น การจัดกลุ่มพูดคุยอภิปรายเรื่องราวต่างๆ
นอกจากนี้พบว่า การที่พูดได้มากกว่า 1 ภาษาขึ้นไปจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้เช่นกัน
ป้องกันโรคอัลไซเมอร์อย่างไร?
แนวทางในการป้องกันและการรักษาโรค
ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ให้หายขาด การรักษาด้วยยาอาจช่วยรักษาอาการที่เป็นได้มากน้อย
แตกต่างกันไป แต่ไม่มียาตัวไหนที่จะสามารถชะลอหรือหยุดการดําเนินของโรคได้
แบ่งการรักษาออกได้เป็น
รักษาโรคอัลไซเมอร์ได้อย่างไร?
1. การรักษาด้วยยา
- การรักษาอาการความจําเสื่อม ปัจจุบันมียาอยู่ 4 ชนิด
ผลข้างเคียงของยาที่พบบ่อยคือคลื่นไส้อาเจียน
อันเนื่องจากปริมาณโคลิเนอร์จิกมากเกินไป
Donezpezil* Galantamine Rivastigmin Memantine
*รับรองในการรักษาภาวะสมองเสื่อมจากอัลไซเมอร์ขั้นรุนแรง
แนวทางในการป้องกันและการรักษาโรค
2. การรักษาทางจิตสังคม
• การรักษาที่มุ่งเน้นการกระตุ้นสมอง เช่น ดนตรีบําบัด การบําบัดโดยอาศัย
สัตว์เลี้ยง
• การบําบัดด้วยการรําลึกถึงเรื่องราวในอดีต เช่น การใช้ภาพถ่าย สิ่งของ
เครื่องใช้ในบ้าน ที่ผู้ป่วยคุ้นเคยในอดีตมาช่วยฟื้นความทรงจํา
• การให้เข้าไปอยู่ในห้องที่เรียกว่า Snoezelen room ซึ่งเป็นห้องที่ออกแบบให้
มีสภาพแวดล้อมภายในที่เหมาะกับวิธีการกระตุ้นการรับรู้และความรู้สึก
3. การให้การดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
เป็นสิ่งสําคัญที่สุดผู้ที่อยู่ใกล้ชิดจะต้องเข้าใจอาการของโรค ทําใจ ยอมรับ
อดทน ไม่ทอดทิ้งผู้ป่วยไว้คนเดียว และเข้าใจการดําเนินของโรคว่า ผู้ป่วยต้องอาศัย
ความช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานมากขึ้นเรื่อยๆ
Video about Alzheimer's disease
What is Alzheimer's disease? By Ivan Seah Yu Jun
บรรณานุกรม
• โรคอัลไซเมอร์. https://th.wikipedia.org/wiki/โรคอัลไซเมอร์ (สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2560)
• การรักษาโรคอัลไซเมอร์.
http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/alzheimer/alzheimers_treatment.html#.WSrFRl
V96Uk (สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2560)
• "โรคความจําเสื่อม" เทคนิคใหม่ตรวจโรคอัลไซเมอร์ รู้ผลไว ไม่เจ็บตัว.
https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/pet-scans#sthash.CF7SnDpA.dpuf
(สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2560)
• อัลไซเมอร์. http://haamor.com/th/อัลไซเมอร์/#article107 (สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2560)
• What is Alzheimer's disease? - Ivan Seah Yu Jun https://youtu.be/yJXTXN4xrI8
โรคอัลไซเมอร์
( Alzheimer's disease หรือ AD)

More Related Content

Similar to N sdis 78_60_1

Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Utai Sukviwatsirikul
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Thira Woratanarat
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดาsupphawan
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
Wajana Khemawichanurat
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
Jaran Noojak
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
Jaran Noojak
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์Jaran Noojak
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
KUMBELL
 
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
W.1
W.1W.1
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
mew46716
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
SathapornTaboo
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
Nattakarntick
 

Similar to N sdis 78_60_1 (20)

Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
Attention deficit hyperactivity disorder (adhd)
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
 
สุทธิดา วิชชุดา
สุทธิดา   วิชชุดาสุทธิดา   วิชชุดา
สุทธิดา วิชชุดา
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
 
โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์โรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
สุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุสุขภาพผู้สูงอายุ
สุขภาพผู้สูงอายุ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Alzheimer
AlzheimerAlzheimer
Alzheimer
 
Alzheimer
AlzheimerAlzheimer
Alzheimer
 
2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn 2562 final-project 26-sathaporn
2562 final-project 26-sathaporn
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

N sdis 78_60_1

  • 3. สมาชิกในกลุ่มที่ 1 ห้อง 78 ณัฐธิดา ภาสพานทอง เลขที่ 8 ณิชกมล กิตติวรรณศักดิ์ เลขที่ 9 ณธกร วาสนาส่งชูสกุล เลขที่ 26 ตรัยภพ แอร่มหล้า เลขที่ 28
  • 4. โรคอัลไซเมอร์ ( Alzheimer's disease หรือ AD) ประวัติความเป็นมาและอุบัติการณ์ของโรค สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค ลักษณะอาการสําคัญของโรค แนวทางในการป้องกันและการรักษาโรค
  • 5. ถูกค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2449 (ค.ศ. 1906) โดยจิตแพทย์ชาวเยอรมัน ชื่อว่า (Alois Alzheimer) อาลอยส์ อัลซไฮเมอร์ ประวัติความเป็นมาและอุบัติการณ์ของโรค
  • 7. ประวัติความเป็นมาและอุบัติการณ์ของโรค อัตราอุบัติการณ์ของโรคอัลไซเมอร์ ในผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี อายุ อุบัติการณ์ (ผู้ป่วยใหม่) ต่อพันคน–ปี 65 – 69 3 70 – 74 6 75 – 79 9 80 – 84 23 85 – 89 40 90 – 69
  • 9. สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค เอนไซม์ทําปฏิกิริยากับโปรตีนต้นกําเนิดแอมีลอยด์ (amyloidprecursor protein; APP) โดยตัดโปรตีนเป็นท่อนๆ ท่อนที่ ชื่อว่า บีตา-แอมีลอยด์ (beta-amyloid) 1. พบกลุ่มแผ่น (Plaque) ลักษณะเหมือนคราบในสมอง เรียกกลุ่มแผ่นนี้ว่า Amyloid plaquesหรือ Neuritic plaquesประกอบด้วยโปรตีนที่ชื่อ Beta-amyloid protein(Aβ protein) บริเวณของสมองที่จะพบAmyloid plaques คือส่วนของกลีบสมองใหญ่ส่วนลึกที่ เรียกว่า Hippocampus และ Entorhinal cortex (ในสมองคนสูงอายุทั่วไปสามารถพบ Amyloidplaques ได้แต่จะมีปริมาณไม่มากเท่ากับคนที่เป็นโรคอัลไซเมอร์)
  • 10. สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค ในโรคอัลไซเมอร์ การเปลี่ยนแปลงของโปรตีนเทา (tau protein) ทําให้เกิดการสลายของไมโครทิวบูลในเซลล์สมอง 2. พบเส้นใยฝอย (Fibril) ที่เรียกว่า Neurofibril lary tangles (NFT) เกิด จากโปรตีนที่เกิดความผิดปกติ ชื่อว่า Tau protein มาพันรวมตัวกันผิดปกติ พบที่เดียวกับ Amyloid plaques ซึ่งเซลล์ประสาทที่มี NFT นั้นใน ที่สุดก็จะตายไป แต่การพบ NFT นี้ไม่ได้เป็น ลักษณะเฉพาะของโรคอัลไซเมอร์ เท่านั้น เพราะสามารถพบได้ในโรคสมอง เสื่อมชนิดอื่นๆด้วย
  • 11. สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค มี 3 สมมติฐานหลักที่อธิบายสาเหตุของโรคอัลไซเมอร์ไว้ดังนี้ 1. สมมติฐานโคลิเนอร์จิก (cholinergichypothesis) สมมติฐานที่เก่าที่สุดซึ่งยาที่ใช้รักษาในปัจจุบันส่วนมากยึดเป็นพื้นฐานซึ่งเชื่อว่าโรคอัลไซเมอร์เกิดจากการลดการ สังเคราะห์สารสื่อประสาทชนิดแอซิทิลโคลีน (acetylcholine) แต่การให้ยาเพื่อรักษาการขาดแอซิทิลโคลีนโดยตรงไม่มี ประสิทธิภาพในการรักษาโรคอัลไซเมอร์มากนัก 2. สมมติฐานแอมีลอยด์ (amyloid hypothesis) สมมติฐานแอมีลอยด เชื่อว่าการสะสมของบีตา-แอมีลอยด์ (beta-amyloid; βA) เป็นสาเหตุหลักของ โรคอัลไซเมอร์ ทฤษฎีนี้เป็นที่น่าสนใจเนื่องจากยีนของสารตั้งต้นบีตา-แอมีลอยด์อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 21 ซึ่งผู้ป่วยกลุ่มอาการดาวน์ (Down Syndrome) มียีนดังกล่าวมากกว่าปกติ ทั้งหมดล้วนแสดงอาการของโรคอัลไซเมอร์ เมื่ออายุประมาณ 40 ปี (มีข้อสังเกตพบว่าการสะสมของแอมีลอยด์พลากไม่มีความสัมพันธ์กับการตายของเซลล์ประสาท)
  • 12. สาเหตุสําคัญของการเกิดโรค 3. สมมติฐานโปรตีนเทา (tau hypothesis) ซึ่งเชื่อว่าความผิดปกติของโปรตีนเทา (tau protein) เป็นตัวริเริ่มให้เกิดความ ผิดปกติตามมาเป็นลําดับ ซึ่งโปรตีนเทาผิดปกติจะจับคู่กับโปรตีนเทาปกติสายอื่นๆ พันรวมตัวกันผิดปกติ เกิดเป็น นิวโรไฟบริลลารี แทงเกิล (neurofibrillary tangles) กระบวนการดังกล่าวทําผลดังกล่าวทําให้ไมโครทิวบูลสลายตัว และทําลายระบบการ ขนส่งสารในเซลล์ประสาท ให้เกิดความผิดปกติในการสื่อสารทางชีวเคมีระหว่างเซลล์ ประสาท และทําให้เซลล์ตายในเวลาต่อมา
  • 13. ลักษณะอาการสําคัญของโรค ลําดับการดําเนินโรคอัลไซเมอร์แบ่งออกเป็น 4 ระยะ โดยมีลักษณะของความบกพร่องของหน้าที่และการรู้ที่แย่ลง เรื่อยๆ 1. ระยะก่อนสมองเสื่อม (Predementia) ในระยะก่อนสมองเสื่อม อาการแรกสุดมักจะเข้าใจผิดว่าเกิดขึ้นเองจากความชรา จะยังไม่พบสิ่งผิดปกติ ผู้ป่วยใน ระยะนี้ก็จะไม่เข้าเกณฑ์การวินิจฉัยโรคอัลไซเมอร์ แต่ในทางการศึกษา เมื่อตรวจสมองของผู้ป่วยเหล่านี้จะพบความผิดปกติ เกิดขึ้นแล้ว เช่น สมองส่วน Entorhinal cortex มีการฝ่ อลีบ พบ Amyloid plaques, Neurofibrillarytangles เป็นต้น อาการเริ่มแรก ส่วนใหญ่ความบกพร่องที่เห็นชัดคือการสูญเสียความจํา คือพยายามจําข้อมูลที่เรียนรู้เมื่อไม่นานมานี้ ไม่ได้และไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้อาจพบภาวะไร้อารมณ์ (apathy) ได้ในระยะนี้และจะเป็นอาการที่คงปรากฏอยู่ตลอด ทุกระยะเวลาการดําเนินโรค ในระยะก่อนสมองเสื่อมนี้ จะแสดงอาการที่เรียกว่า ความบกพร่องทางการเรียนรู้เล็กน้อย (mild cognitive impairment)]
  • 14. ลักษณะอาการสําคัญของโรค 2. สมองเสื่อมระยะแรก (Early dementia) ผู้ป่วยจะมีการสูญเสียความจําในระยะสั้น ความจําใหม่ หรือความจําที่เพิ่งเรียนรู้มา ส่วน ความทรงจําในระยะยาวที่เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวของผู้ป่วย เช่น เกิดที่จังหวัดไหน เรียนจบ อะไรมา รวมทั้งความจําที่เป็นความรู้ทั่วไปเช่น ไฟแดงหมายถึงให้หยุดรถ และความจําที่เป็นความจํา โดยปริยาย (ความจําของร่างกายว่าทําสิ่งต่างๆอย่างไร เช่น การใช้ช้อนส้อมรับประทานอาหาร) ยังพอจําได้เป็นปกติ การใช้ชีวิตของผู้ป่วยในระยะนี้ จะเริ่มไม่เป็นปกติ เช่น กําลังขับรถจะไปทําธุระ บางอย่าง เกิดจําไม่ได้ว่าสถานที่นั้นต้องขับรถไปทางไหน และก็อาจจะขับรถกลับบ้านไม่ถูก ความคิดในการสร้างสรรค์งานใหม่ๆจะลดลง การตัดสินใจจะช้าลง ไม่มีสมาธิในการ ทํางาน ไม่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆได้ การใช้คําศัพท์ไม่คล่องเหมือนเดิม ทําให้พูดหรือเขียนหนังสือ และใช้ภาษาได้น้อยลง แต่ยังสามารถสื่อสารบอกความคิดพื้นฐานของตนได้ทํากิจวัตรประจําวันต่างๆ ได้ไม่คล่องแคล่วเหมือนเดิม นอกจากนี้อารมณ์จะเริ่มเปลี่ยนไป มีความวิตกกังวลมากขึ้น
  • 15. ลักษณะอาการสําคัญของโรค 3. สมองเสื่อมระยะปานกลาง (Moderate dementia) ในระยะสมองเสื่อมระยะปานกลางนี้ นอกจากสูญเสียความทรงจําในระยะสั้นแล้ว ความจําในระยะยาว และความรู้ ทั่วไปก็จะค่อยๆบกพร่องไป ผู้ป่วยจะจําชื่อและหน้าตาของเพื่อนๆไม่ได้และก็อาจจะจําคนในครอบครัวไม่ได้หรือแม้กระทั่งคู่ชีวิต ของตนเอง ก็จําไม่ได้ว่าเป็นใคร ดังนั้นแม้ผู้ป่วยจะอยู่ในบ้านของตัวเองก็จะรู้สึกเหมือนอยู่ในสถานที่แปลก อยู่กับคนแปลกหน้า ไม่คุ้นเคยตลอดเวลาการพูดและการใช้ภาษาจะบกพร่องชัดเจน เช่น จะไม่สามารถนึกคําเรียกชื่อสิ่งของที่มองเห็นอยู่ตรงหน้าได้ หรือใช้ศัพท์คําอื่นมาเรียกแทน มีปัญหาในการสื่อสารบอกความคิดของตนเอง ทักษะการอ่านและการเขียนค่อยๆเสียไปเรื่อยๆ การ ทํากิจวัตรประจําวันต่างๆก็จะเริ่มมีปัญหา เช่น การแต่งตัว ไม่รู้ว่าชุดไหนควรเอาไว้ใส่เวลาใด หรือแม้กระทั่งจะใส่เสื้อตัวนี้ต้องทํา อย่างไร เป็นต้น พฤติกรรมจะเปลี่ยนแปลงไป อาการแสดงที่พบบ่อยคือการหนีออกจากบ้าน ความรู้สึกผิดปกติ สับสนหรือเห็นภาพ หลอนในเวลาโพล้เพล้หรือกลางคืน (sun downing) หงุดหงิด โมโหง่าย และอารมณ์แปรปรวน
  • 16. ลักษณะอาการสําคัญของโรค 4. สมองเสื่อมระยะสุดท้าย (Advanced dementia) ในระยะสมองเสื่อม ระยะความทรงจําในระยะสั้น ความทรงจําในระยะยาว ความรู้ทั่วไป และกระทั่ง ความจําที่เป็นความจําโดยปริยาย (ความจําของร่างกายว่าทําสิ่งต่างๆอย่างไร เช่น การใช้ช้อนส้อม รับประทานอาหาร) ก็จะสูญเสียไป การใช้ภาษาของผู้ป่วยจะลดลงอย่างมาก อาจพูดเพียงแค่วลีง่ายๆ หรือคํา เดี่ยวๆ จนถึงไม่สามารถพูดได้เลย ในระยะนี้ลักษณะพฤติกรรมก้าวร้าวจะลดลง ภาวะไร้อารมณ์เด่นกว่า ผู้ป่วยต้องอาศัยพึ่งพาผู้ดูแลตลอดเวลา การทํากิจวัตรประจํา วันต่างๆจะค่อยๆลดลง ในที่สุดผู้ป่วยจะ ไม่สามารถทํากิจกรรมใดๆได้เลย ทั้งการอาบนํ้า กินข้าว แต่งตัว แม้กระทั่งการเดิน หรือการนั่ง ถ้าไม่มี ผู้ดูแล ผู้ป่วยก็จะได้แต่นอนนิ่งๆอยู่บนเตียงตลอดเวลา และไม่สามารถควบคุมการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ ได้บางคนอาจมีอาการชัก กลืนลําบาก สุดท้ายผู้ป่ วยก็จะเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อนต่างๆ เช่น เกิดแผลกด ทับและติดเชื้อตาม มา เกิดปอดบวมติดเชื้อ ร่างกายขาดสารนํ้า ระบบเกลือแร่ขาดสมดุล เป็นต้น โดยไม่ได้ เสียชีวิตจากตัวโรคโดยตรง
  • 17. แนวทางในการป้องกันและการรักษาโรค • การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ได้แก่ ผักและผลไม้สด ธัญพืชต่างๆ นํ้ามันมะกอก ปลา ไวน์แดง รวมไปถึงอาหารที่มีวิตามินบี 12 วิตามินซี และกรดโฟลิกสูง • หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง อาหารรสจัด อาหารจานด่วนต่างๆ • หมั่นออกกําลังกายสมํ่าเสมอ รวมไปถึงการนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ จัดการกับ ความเครียด • การทํากิจกรรมที่ให้สมองได้ฝึกคิดเป็นประจํา เช่น อ่านหนังสือ เล่นหมากกระดาน เล่นปริศนา อักษรไขว้รวมถึงการได้ลองทํากิจกรรมใหม่ๆที่ไม่เคยทํามาก่อน เช่น การใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์ใหม่ๆ การฝึกเล่นดนตรี ทํางานประดิษฐ์ การมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมเป็นประจํา เช่น การจัดกลุ่มพูดคุยอภิปรายเรื่องราวต่างๆ นอกจากนี้พบว่า การที่พูดได้มากกว่า 1 ภาษาขึ้นไปจะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคได้เช่นกัน ป้องกันโรคอัลไซเมอร์อย่างไร?
  • 18. แนวทางในการป้องกันและการรักษาโรค ปัจจุบันยังไม่มีวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ให้หายขาด การรักษาด้วยยาอาจช่วยรักษาอาการที่เป็นได้มากน้อย แตกต่างกันไป แต่ไม่มียาตัวไหนที่จะสามารถชะลอหรือหยุดการดําเนินของโรคได้ แบ่งการรักษาออกได้เป็น รักษาโรคอัลไซเมอร์ได้อย่างไร? 1. การรักษาด้วยยา - การรักษาอาการความจําเสื่อม ปัจจุบันมียาอยู่ 4 ชนิด ผลข้างเคียงของยาที่พบบ่อยคือคลื่นไส้อาเจียน อันเนื่องจากปริมาณโคลิเนอร์จิกมากเกินไป Donezpezil* Galantamine Rivastigmin Memantine *รับรองในการรักษาภาวะสมองเสื่อมจากอัลไซเมอร์ขั้นรุนแรง
  • 19. แนวทางในการป้องกันและการรักษาโรค 2. การรักษาทางจิตสังคม • การรักษาที่มุ่งเน้นการกระตุ้นสมอง เช่น ดนตรีบําบัด การบําบัดโดยอาศัย สัตว์เลี้ยง • การบําบัดด้วยการรําลึกถึงเรื่องราวในอดีต เช่น การใช้ภาพถ่าย สิ่งของ เครื่องใช้ในบ้าน ที่ผู้ป่วยคุ้นเคยในอดีตมาช่วยฟื้นความทรงจํา • การให้เข้าไปอยู่ในห้องที่เรียกว่า Snoezelen room ซึ่งเป็นห้องที่ออกแบบให้ มีสภาพแวดล้อมภายในที่เหมาะกับวิธีการกระตุ้นการรับรู้และความรู้สึก 3. การให้การดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด เป็นสิ่งสําคัญที่สุดผู้ที่อยู่ใกล้ชิดจะต้องเข้าใจอาการของโรค ทําใจ ยอมรับ อดทน ไม่ทอดทิ้งผู้ป่วยไว้คนเดียว และเข้าใจการดําเนินของโรคว่า ผู้ป่วยต้องอาศัย ความช่วยเหลือเพื่อตอบสนองความต้องการพื้นฐานมากขึ้นเรื่อยๆ
  • 20. Video about Alzheimer's disease What is Alzheimer's disease? By Ivan Seah Yu Jun
  • 21.
  • 22. บรรณานุกรม • โรคอัลไซเมอร์. https://th.wikipedia.org/wiki/โรคอัลไซเมอร์ (สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2560) • การรักษาโรคอัลไซเมอร์. http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/alzheimer/alzheimers_treatment.html#.WSrFRl V96Uk (สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2560) • "โรคความจําเสื่อม" เทคนิคใหม่ตรวจโรคอัลไซเมอร์ รู้ผลไว ไม่เจ็บตัว. https://www.bangkokhospital.com/index.php/th/diseases-treatment/pet-scans#sthash.CF7SnDpA.dpuf (สืบค้นเมื่อ 28 พฤษภาคม 2560) • อัลไซเมอร์. http://haamor.com/th/อัลไซเมอร์/#article107 (สืบค้นเมื่อ 17 มิถุนายน 2560) • What is Alzheimer's disease? - Ivan Seah Yu Jun https://youtu.be/yJXTXN4xrI8