SlideShare a Scribd company logo
โรควิตกกังวลคือ
อะไร?
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
จัดทำโดย
2
นายภูบดินทร์ โชคทวีพูน
ม.6/15 เลขที่9
นายกีรติกานต์ สกุลชมชื่น
ม.6/15 เลขที่10
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
คุณครูที่ปรึกษำ
คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
คุณครูกลุ่มสำระวิชำเทคโนโลยีและสำรสนเทศ
3
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
สำรบัญ
4
ประเภทของโครงงาน
ระยะการดาเนินการ
ที่มาและความสาคัญ
วัตถุประสงค์
ขอบเขตของโครงงาน
หลักการและทฤษฎี
วิธีการดาเนินงาน
ผลคาดหวังที่จะได้รับ
โรควิตกกังวลคืออะไร?
ลักษณะทางจิต
ลักษณะทางร่างกาบ
สาเหตุของโรควิตกกังวล
โรควิตกกังวลกับเด็กนั้นต่างกับผู้ใหญ่หรือไม่?
การวินิจฉัยโรควิตกกังวล
วิธีการรักษาในเบื้องต้น
การรักษาแบบธรรมชาติบาบัด
ภาวะแทรกซ้อนโรควิตกกังวล
อาการทางแพทย์อื่น ๆ
การป้องกันโรควิตกกังวล
แหล่งอ้างอิง
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
โครงงานพัฒนาเพื่อการศึกษา
เป็ นโครงงำนที่นำคอมพิวเตอร ์มำใช ้ในกำรผลิตสื่อกำรเรียนรู้และ
กำรศึกษำ โดยกำรสร ้ำงโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยกำรเรียน ซึ่ง
อำจมีแบบฝึกหัดวัดควำมรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถทบทวนบทเรียนที่
ได้เรียนรู้และเกิดควำมเข้ำใจมำกขึ้นได้
ประเภทของ
โครงงำน
5
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
ระยะกำรดำเนินกำร
ภำคเรียนที่2 ปี
กำรศึกษำ 2562
6
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
ในทุกวันนี้ผู้คนไม่ว่าจะเป็นทั้งเด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงไว้ต่างก็ต้องพบเจอเรื่อง
ที่ทาให้ตนต้องกังวลทั้งสิ้น และหากพวกเขาไม่สามารถรับมือกับมันหรือ
เกินการควบคุมได้”โรควิตกกังวล”นั้นคือสิ่งที่กาลังจะเกิดขึ้นกับพวกเขา
ต่อมา เราสามารถเห็นผู้ป่วยที่เป็นโรคต่างๆได้ในชีวิตหรือคนใกล้ตัวของเรา
เอง โดย”โรควิตกกังวล”ในจิตใจของพวกเขานั้นอาจมีมากจนเกินกว่าจะ
แก้ไข ดังนั้นหากเราได้เรียนรู้อาการ วิธีการรับมือ และคาแนะนาที่ถูกวิธีใน
การดูแลคนใกล้ชิดทีเรารัก เพื่อเป็นแนวทางช่วยเหลือและป้องกันเพราะเรา
เชื่อว่าทุกอย่างเปลี่ยนแปลงได้ความวิตกกังวลก็เช่นกัน
7
ที่มำและควำมสำคัญ
ของโครงงำน
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• 1.เพื่อศึกษาถึงที่มาของโรควิตกกังวลได้
อย่างถูกต้อง
• 2.เพื่อศึกษาอาการของโรคนี้ได้อย่างถูกต้อง
• 3.เพื่อศึกษาวิธีการรับมือกับโรคนี้
• 4.เพื่อให้เข้าใจผู้คนที่มีอาการของโรคนี้
และช่วยเหลือเขาได้
8
วัตถุประสงค์
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• จัดทาโครงงานเรื่อง”โรควิตกกังวล”
ผ่านสื่อเว็บไซต์Blogger.com
9
ขอบเขตของกำ
โครงงำน
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
10
หลักกำรและทฤษฎี
•โรควิตกกังวลเกิดได้จากหลาย
ปัจจัย ซึ่งหนึ่งในนั้นอาจเป็น
เรื่องของปัญหาครอบครัวด้วยก็
ได้
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• 1.เลือกหัวข้อในการทาโครงงานที่สนใจ
• 2.คุยงานและแจงแจงหน้าที่ๆต้อง
รับผิดชอบ
• 3.สืบค้นข้อมูลแล้วนามาสรุปเพื่อให้เข้าใจ
ง่ายมากยิ่งขึ้น
• 4.จัดทาโครงงานลงใน power point
• 5.ตรวจสอบความสมบูรณ์ของโครงงาน
11
วิธีกำรดำเนินงำน
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• ผู้คนที่เข้ามาศึกษาจะสามารถเรียนรู้
และเข้าใจถึงสาเหตุของโรค ที่มา
อาการแต่ละประเภท และสามารถรู้
และรับมือกับผู้ที่มีโรคนี้อยู่ได้
12
ผลที่คำดหวังว่ำจะ
ได้รับ
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
โรควิตกกังวล (Anxiety Disorder) คือโรค
ทำงจิตใจที่มีควำมรุนแรงกว่ำควำมวิตกกังวลที่
เกิดขึ้นตำมธรรมชำติ ซึ่งผู้ป่วยที่เป็ นโรควิตก
กังวลจะพบว่ำมีควำมวิตกกังวลและอำกำรอื่น ๆ
ต่อเนื่องและอำกำรไม่หำยไป หรืออำจมีอำกำรที่แย่
ลงได้ในที่สุด
โรควิตกกังวลทำให้เกิดอุปสรรคในกำรใช้
ชีวิตประจำวัน เช่น กำรทำงำน กำรเรียนหนังสือ
และกำรรักษำควำมสัมพันธ์กับคนรอบข้ำง อย่ำงไร
ก็ตำม หำกผู้ป่วยได้รับกำรรักษำอย่ำงเหมำะสมก็
สำมำรถจัดกำรกับอำกำรและกลับมำใช้ชีวิตปกติ
ได้
13
“โรควิตกกังวล”
คืออะไร?
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
นอกจำกนั้น ในแต่ละประเภทยังมีอำกำรเฉพำะ ดังต่อไปนี้
• อาการของโรคแพนิค (Panic Disorder) เช่น เหงื่อออก
เจ็บหน้ำอก ใจสั่น รู้สึกสำลัก มีควำมรู้สึกเหมือนตนเองเป็ น
โรคหัวใจหรือเหมือนจะเป็ นบ้ำ
• อาการของโรคกังวลทั่วไป (Generalized Anxiety
Disorder: GAD) เช่น มีควำมเครียดหรือมีควำมกังวลมำก
เกินไปจำกควำมเป็ นจริง ถึงแม้ว่ำจะมีสำเหตุเพียงเล็กน้อย
หรือไม่มีสำเหตุที่ไปกระตุ้นให้เกิดอำกำรกังวลได้
• อาการของโรคกลัวการเข้าสังคม (Social Anxiety
Disorder) เช่น มีควำมกังวลที่รุนแรงมำกหรือมีควำม
ระมัดระวังตัวเกินเหตุในสถำนกำรณ์ทำงสังคมต่ำง ๆ ที่ต้องพบ
เจอตำมปกติในชีวิตประจำวัน โดยควำมกังวลที่เกิดขึ้นมักเป็ น
ควำมกลัวกำรตัดสินจำกผู้อื่น หรือกลัวว่ำจะเกิดควำมอับอำย
และถูกล้อเลียน
• อาการของโรคกลัวแบบจาเพาะ (Specific
Phobias) ผู้ป่วยจะมีควำมกลัวอย่ำงรุนแรงต่อสิ่งของหรือ
สถำนกำรณ์เฉพำะ เช่น กลัวควำมสูง กลัวกำรเข้ำสังคม และ
กลัวสัตว์บำงชนิด ซึ่งจะกลัวในระดับที่ต้องพยำยำมหลีกเลี่ยง
สถำนกำรณ์ปกติในชีวิตประจำวัน
14
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• ตื่นตระหนก กลัว ไม่สบำยใจ
• กระวนกระวำย กระสับกระส่ำย
• หวำดระแวง เครียด
15
ลักษณะทางจิต
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• มือสั่น เขย่ำขำ นั่งงอเข่ำ
• มือเท้ำเย็น หรือเหงื่อแตก
• ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้ำอก
• นอนไม่หลับ
• ปวดหัว คลื่นไส้
• ปวดเมื่อยกล้ำมเนื้อ อ่อนเพลีย
• ปัสสำวะ ท้องเสียบ่อย
อำกำรข้ำงต้นเป็ นตัวสังเกตว่ำมีควำมผิดปกติเกิด
ขึ้นกับตนเองหรือไม่? หำกพบว่ำมีควำมรู้สึกและ
กลัวว่ำจะกลำยเป็ นโรควิตกกังวลให้รีบไปพบแพทย์
เพื่อทำกำรรักษำอย่ำงถูกวิธีให้เร็วที่สุด
16
ลักษณะทาง
ร่างกาย
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
สำเหตุของโรควิตกกังวล ไม่ได้มำจำกควำมบกพร่องทำง
บุคคลิกภำพ หรือกำรเลี้ยงดูที่ไม่ดี แต่มีสำเหตุคล้ำยกับโรคทำงจิต
ชนิดอื่น ๆ จำกกำรวิจัยพบว่ำโรคทำงจิตใจเหล่ำนี้เกิดจำกปัจจัย
หลำยอย่ำงร่วมกัน ได้แก่ กำรทำงำนของสมองบำงส่วนที่เกิดควำม
เปลี่ยนแปลง และควำมเครียดที่เกิดจำกสภำพแวดล้อม
• โครงสร้างการทางานของสมอง โรควิตกกังวลอำจมีสำเหตุ
มำจำกข้อบกพร่องหรือปัญหำที่เกิดขึ้นกับกำรทำงำนของสมอง
ส่วนที่ทำหน้ำที่ควบคุมอำรมณ์ต่ำง ๆ หรือหำกมีควำมเครียด
มำก ๆ เป็ นเวลำนำน อำจทำให้เซลล์ประสำทและสมองส่วนที่ทำ
หน้ำที่ควบคุมอำรมณ์เกิดกำรเปลี่ยนแปลงได้ นอกจำกนั้น ยัง
พบว่ำผู้ที่เป็ นโรควิตกกังวลบำงชนิด มีกำรเปลี่ยนแปลงของ
โครงสร ้ำงสมองส่วนที่ทำหน้ำที่เกี่ยวกับควำมจำ ซึ่งมี
ควำมสัมพันธ์กับอำรมณ์และควำมรู้สึก
• กรรมพันธุ ์โรควิตกกังวลเกิดได้จำกกำรถ่ำยทอดทำง
พันธุกรรมจำกพ่อแม่สู่ลูกทำนองเดียวกันกับกำรถ่ำยทอดทำง
พันธุกรรมของโรคมะเร็งและโรคหัวใจ
• ปัจจัยที่มาจากสิ่งแวดล้อม เช่น กำรได้รับบำดเจ็บ หรือ
ประสบกับเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่อำจทำให้เกิดโรควิตกกังวล
โดยเฉพำะผู้ป่วยเป็ นโรควิตกกังวลที่ถ่ำยทอดทำงพันธุกรรม จะ
มีปฏิกิริยำที่ไวต่อกำรถูกกระตุ้นจำกปัจจัยดังกล่ำว
17
สาเหตุของโรควิตก
กังวล
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• ปัจจัยเฉพาะอื่น ๆ เช่น ควำมขี้อำยหรือไม่กล้ำแสดงอำรมณ์
ในเด็ก
• มีฐำนะทำงเศรษฐกิจที่ไม่ดี
• เป็ นหม้ำยหรือเคยหย่ำร้ำง
• ต้องพบกับเหตุกำรณ์ในชีวิตที่มีควำมตึงเครียด ทั้งในวัยเด็กและ
วัยผู้ใหญ่
• มีประวัติของคนในครอบครัวที่เป็ นโรคทำงจิตใจ
• มีระดับฮอร ์โมนคอร ์ติซอลในน้ำลำยเพิ่มในช่วงบ่ำยซึ่งมำจำก
ควำมเครียด โดยเฉพำะกับผู้ที่เป็ นโรคกลัวกำรเข้ำสังคม
(Social Anxiety Disorder)
• โรคอื่น ๆ ที่มีอำกำรคล้ำยคลึงกับอำกำรของโรควิตกกังวล เช่น
ภำวะต่อมไทรอยด์ทำงำนเกิน หัวใจเต้นผิดปกติ หรือภำวะหัวใจ
ล้มเหลว ซึ่งเป็ นกรณีที่ต้องได้รับกำรตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม
18
สาเหตุของโรควิตก
กังวล
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
เหมือนกับผู้ใหญ่ เด็กก็สำมำรถมีโรควิตกกังวล เด็กทั้งหมด
ประมำณ 10-20% จะมีโรควิตกกังวลแบบเต็มตัวก่อนจะถึง
อำยุ 18 ปี ซึ่งทำให้โรคเป็นปัญหำสุขภำพจิตที่สำมัญที่สุด
ในเด็ก ๆ
โรควิตกกังวลในเด็กบ่อยครั้งระบุได้ยำกเทียบกับในผู้ใหญ่
เพรำะยำกที่ผู้ปกครองจะจำแนกจำกควำมกลัวปกติของเด็ก
โดยนัยเดียวกัน โรควิตกกังวลในเด็กบำงครั้งวินิจฉัยผิดว่ำ
เป็นโรคซนสมำธิสั้น หรือเนื่องจำกเด็กมักจะตีควำมอำรมณ์
ของตนว่ำเป็นอำกำรทำงกำย (เช่น ปวดท้อง ปวดหัว เป็น
ต้น) โรควิตกกังวลเบื้องต้นอำจสับสนกับโรคทำงกำยได้
ควำมวิตกกังวลในเด็กมีสำเหตุมำกมำย บำงครั้งมีมูลฐำน
ทำงชีวภำพ หรืออำจเป็นผลของโรคอย่ำงอื่น เช่น โรคออทิ
ซึม หรือกลุ่มอำกำรแอสเปอร ์เจอร ์เด็กที่มีพรสวรรค์
บ่อยครั้งเสี่ยงต่อควำมวิตกกังวลเกินไปมำกกว่ำเด็ก
ธรรมดำ กรณีอื่น ๆ ของควำมวิตกกังวลมำจำกเด็กที่มี
ประสบกำรณ์สะเทือนใจบำงอย่ำง และบำงครั้ง เหตุอำจไม่
สำมำรถระบุได้
19
โรควิตกกังวลกับเด็ก
นั้นต่ำงกับผู้ใหญ่
หรือไม่?
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
ควำมวิตกกังวลในเด็กมักเป็ นเรื่องที่สมกับวัย เช่น กลัวไปโรงเรียน
(โดยไม่เกี่ยวกับถูกเพื่อข่มเหง) หรือไม่เก่งพอที่โรงเรียน กลัวเพื่อน
ไม่ยอมรับ กลัวว่ำอะไรจะเกิดขึ้นกับคนที่รัก เป็ นต้น ดังนั้น ลักษณะ
ที่แยกโรควิตกกังวลจำกควำมวิตกกังวลของเด็กที่ปกติก็คือ
ระยะเวลำและควำมรุนแรงที่กลัว ยกตัวอย่ำงเช่น เด็กเล็ก ๆ มักจะ
กังวลเมื่อจำกคนที่รัก แต่โดยทั่วไปเมื่อถึงอำยุ 6 ขวบอำกำรก็จะ
หำยเอง เทียบกับเด็กโรควิตกกังวลที่อำจจะเป็ นต่อไปเป็ นปี ๆ ซึ่ง
ขัดขวำงพัฒนำกำรของเด็ก และคล้ำย ๆ กัน เด็กโดยมำกจะกลัว
ควำมมืดและกลัวสูญเสียพ่อแม่ในช่วงหนึ่งในวัยเด็ก แต่ควำมกลัวนี่
จะหำยไปเองโดยไม่รบกวนกิจกรรมชีวิตประจำวันมำก แต่ในเด็กโรค
วิตกกังวล ควำมกลัวควำมมืดหรือสูญเสียคนที่รักอำจจะเพิ่มจน
กลำยเป็ นเรื่องหมกมุ่น ที่เด็กพยำยำมรับมือโดยคิดทำอะไรอย่ำง
หมกมุ่นจนเป็ นปัญหำกับคุณภำพชีวิต กำรเริ่มมีอำกำรซึมเศร้ำ
ร่วมกับโรควิตกกังวลอำจเป็ นตัวบ่งว่ำโรคกำลังรุนแรง ทำให้
เสียหำย และทำให้พิกำรมำกขึ้นทั้งในวัยก่อนโรงเรียนหรือในวัยเข้ำ
โรงเรียนเด็กก็เหมือนผู้ใหญ่เพรำะสำมำรถมีโรควิตกกังวลได้หลำย
ประเภท รวมทั้ง โรควิตกกังวลไปทั่ว (GAD) - เด็กจะกังวลกับ
หลำย ๆ เรื่องอย่ำงคงยืน และควำมกังวลอำจปรับเข้ำกับ
สถำนกำรณ์ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น หรืออำจมีมูลฐำนเพียงแค่จินตนำกำร
แต่ยังไม่ได้เกิดจริง ๆ กำรปลอบโยนมักจะไม่ค่อยได้ผล
20
โรควิตกกังวลกับเด็ก
นั้นต่ำงกับผู้ใหญ่
หรือไม่?
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
แพทย์จะเริ่มจำกกำรถำมประวัติทำงกำรแพทย์ที่จำเป็ น เช่น
อำกำรที่เกิดขึ้นและโรคประจำตัว หลังจำกนั้นจะตรวจ
ร่ำงกำยและอำจตรวจเพิ่มเติม เช่น ตรวจเลือด ตรวจ
สมรรถภำพปอด ตรวจคลื่นไฟฟ้ำหัวใจ และตรวจ
ปัสสำวะ เพื่อแยกโรคอื่น ๆ ที่มีอำกำรคล้ำยกับโรควิตก
กังวล เช่น ภำวะต่อมไทรอยด์ทำงำนเกิน โรคกระเพำะ
อำหำรอักเสบเฉียบพลัน โรคหืด หรือหัวใจเต้นผิดปกติ หรือ
ภำวะได้รับยำและสำรเสพติดที่ทำให้เกิดอำกำรคล้ำยโรค
วิตกกังวล
แต่หำกไม่พบโรคทำงกำยใด ๆ แพทย์จะส่งตัวไปให้จิตแพทย์
วินิจฉัยโดยกำรสัมภำษณ์ หรือใช ้เครื่องมือช่วยในกำร
ประเมินโรคทำงจิตใจ โดยกำรประเมินสุขภำพทำงจิตอย่ำง
ละเอียดจะมีประโยชน์ต่อกำรวินิจฉัยโรควิตกกังวลเป็ นอย่ำง
มำกในกำรแยกโรคทำงจิตใจ เพรำะโรควิตกกังวลมักมี
อำกำรคล้ำยกับภำวะอื่น ๆ เช่น ภำวะซึมเศร ้ำ หรือโรคย้ำคิด
ย้ำทำ (Obsessive-Compulsive Disorder: OCD)
21
การวินิจฉัยโรควิตก
กังวล
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
หำกรู้ตัวว่ำเป็นโรควิตกกังวลแน่นอน ให้รีบเข้ำรับกำรบำบัด
อย่ำงเร็วที่สุด วิธีกำรบำบัดมีหลำยแบบ สำหรับบำงท่ำนที่
บำบัดมำนำนแล้วไม่หำยสักที ให้ลองทุกวิธีหรือใช ้หลำยวิธี
ร่วมกันเพื่อให้ผลที่ดีกว่ำ
1. เริ่มจำกที่ตัวเองปรับเปลี่ยนทัศนคติ พฤติกรรม รู้จัก
แก้ไขปัญหำที่ต้นเหตุ เช่น
• พักผ่อนให้เพียงพอ เข้ำนอนให้เป็นเวลำ
• งดดื่มเครื่องดื่มที่คำเฟอีน เช่น ชำ กำแฟ น้ำอัดลม
เครื่องดื่มชูกำลัง เนื่องจำกจะกระตุ้นให้รู้สึกแย่ลงก็ได้
• ทำสมำธิ ตั้งสติ ทำจิตใจให้สงบ ผ่อนคลำย รู้จักปล่อยวำง
เรื่องที่ไม่จำเป็น ช่วยลดควำมเครียด ควำมวิตกกังวล
• ออกกำลังกำยเบำๆเดิน วิ่ง เล่นโยคะ นอกจำกช่วยให้
ควำมแข็งแรง ยืดหยุ่นกล้ำมเนื้อแล้ว กำรฝึกโยคะต้องมี
สมำธิจดจ่ออยู่ที่ลมหำยใจเข้ำ-ออกของตัวเอง ทำให้
สมองปลอดโปร่ง ไม่จมอยู่กับเรื่องเดิม ส่งผลให้
ควำมเครียดผ่อนคลำยลง
22
วิธีรักษาในเบื้องต้น
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
2. พูดคุยให้คำปรึกษำ รับฟังควำมคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชำญด้ำนสุขภำพจิต
เป็ นวิธีที่ปลอดภัยที่สุด จะให้คำแนะนำเพื่อรับมือแก้ปัญหำได้ดีและถูกวิธี
ที่สุด เพื่อให้ผู้ป่วยได้เรียนรู ้และรับมือกับปัญหำ เข้ำปรึกษำได้ที่โรงพยำบำล
หรือถ้ำอำย ไม่กล้ำ โทรปรึกษำสำยด่วนสุขภำพจิต 1323 ฟรี ตลอด24
ชม.
3. บำบัดตำมธรรมชำติ โดยมีแพทย์เป็ นผู้ควบคุม
• บำบัดด้วยกลิ่น ใช ้น้ำมันหอมระเหยที่สกัดจำกลำเวนเดอร ์งำนวิจัยระบุ
ว่ำกลิ่นของมันทำให้จิตใจสงบ ผ่อนคลำย ลดควำมเครียด แม้ว่ำลำเวน
เดอร ์จะไม่มีอันตรำย หลีกเลี่ยงใช ้สำรสกัดที่เข้มข้นเกินไปและเก็บให้
มิดชิดเด็ก
• สมุนไพรจำกต้นเซนต์จอนห์นเวิร ์ต รำกวอเลอเรียน รำกคำวำ ถูก
นำมำใช ้เพื่อชะลอควำมวิตกกังวล ปัญหำนอนไม่หลับ
• ฝังเข็มแพทย์แผนจีน เป็ นวิธีหนึ่งที่ช่วยชะลอของโรคนี้ได้ แต่ถ้ำอยำก
ได้ผลดี เร็วกว่ำเดิมให้ทำควบคู่กับวิธีบำบัดอื่นๆด้วย แต่กำรฝังเข็มก็มี
ข้อห้ำม ผู้ที่ควรหลีกเลี่ยงคือ สตรีตั้งครรภ์ ผู้ที่เพิ่งผ่ำตัด เป็ นโรคมะเร็ง
ก่อนจะใช ้วิธีกำรฝังเข็มควรศึกษำข้อห้ำมและโรงพยำบำลที่น่ำเชื่อถือ
• ยำเพื่อลดควำมวิตกกังวล รับประทำนยำที่แพทย์สั่งอย่ำงครบถ้วน
ต่อเนื่อง หำกมีควำมจำเป็ นต้องซื้อยำรักษำโรคหรือสมุนไพรต่ำงๆตำม
ร ้ำนขำยยำทั่วไปควรปรึกษำแพทย์หรือเภสัชกรก่อน
23
วิธีรักษาในเบื้องต้น
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
กำรรักษำโรควิตกกังวลขึ้นอยู่กับประเภทของโรค ซึ่งวิธีที่ใช ้ในกำร
รักษำโดยทั่วไป มีดังนี้
• จิตบาบัด (Psychotherapy) เป็ นกำรรักษำด้วยกำรให้
คำปรึกษำโดยผู้เชี่ยวชำญด้ำนสุขภำพจิต เพื่อให้ผู้ป่วยเรียนรู้
วิธีรับมือกับปัญหำของโรควิตกกังวลได้ในที่สุด
• การรักษาด้วยการเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม
(Cognitive-Behavioral Therapy) เป็ นวิธีกำรรักษำทำง
จิตที่ช่วยให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้กำรปรับเปลี่ยนวิธีคิดและพฤติกรรมที่
นำไปสู่ปัญหำทำงอำรมณ์และควำมรู้สึก เช่น ช่วยให้ผู้ป่วยที่
เป็ นโรคแพนิคเรียนรู้ว่ำอำกำรแพนิคนั้นไม่ใช่อำกำรของ
โรคหัวใจ หรือช่วยให้ผู้ที่เป็ นโรคกลัวกำรเข้ำสังคมเรียนรู้ที่จะ
เอำชนะควำมเชื่อที่คิดว่ำคนอื่นคอยจ้องมองหรือตัดสินตน เป็ น
ต้น
• การฝึ กจัดการกับความเครียด วิธีฝึกกำรจัดกำรกับ
ควำมเครียดและกำรทำสมำธิ เป็ นวิธีที่จะช่วยให้ผู้ป่วยโรควิตก
กังวลมีอำรมณ์ที่สงบลงและยังช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำร
บำบัดวิธีอื่นได้ด้วย
24
การรักษาโรควิตก
กังวล
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• กำรรักษำด้วยยำ ยำที่นำมำใช้ในกำรรักษำและ
ลดอำกำรของโรควิตกกังวล เช่น
• ยำรักษำอำกำรซึมเศร ้ำ เช่น ยำกลุ่มเอส
เอสอำร ์ไอ
• ยำระงับอำกำรวิตกกังวล เช่น ยำกลุ่มเบนโซ
ไดอะซีปีน เช่น ยำอัลปรำโซแลม และยำโคลนำ
ซีแพม
• ยำช่วยควบคุมอำกำรทำงร่ำงกำยเมื่อมีควำม
วิตกกังวล เช่น ใจสั่น มือสั่น คือ ยำเบต้ำ
บล็อกเกอร ์เช่น ยำโพรพรำโนลอล
• ยำอื่น ๆ เช่น ยำรักษำโรคลมชัก และยำระงับ
อำกำรทำงจิต
กำรใช้ยำเหล่ำนี้ต้องอยู่ภำยใต้คำแนะนำและดุลย
พินิจของแพทย์
25
การรักษาโรควิตก
กังวล
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• นอกจำกนั้น ยังพบว่ำกำรออกกำลังกำยด้วยวิธี
แอโรบิกมีผลทำให้อำกำรสงบลงได้แต่ยังไม่มี
หลักฐำนจำกกำรศึกษำค้นคว้ำที่มำกพอเพื่อ
นำมำเป็ นหนึ่งในวิธีกำรรักษำ รวมไปถึงควร
พิจำรณำที่จะหลีกเลี่ยงคำแฟอีน ยำเสพติด
และยำแก้หวัดที่ซื้อตำมร ้ำนขำยยำทั่วไป เพรำะ
มีผลทำให้อำกำรของโรควิตกกังวลแย่ลงและที่
สำคัญ คือกำรได้รับกำรสนับสนุนและกำลังใจ
จำกคนในครอบครัวเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยให้
ผู้ป่วยโรควิตกกังวลฟื้นฟูสู่สภำพปกติได้ดี
26
การรักษาโรควิตก
กังวล
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
มีกำรรักษำทำงเลือกและกำรรักษำตำมธรรมชำติที่อำจใช ้ร่วมกับกำรใช้ยำ
และกำรทำจิตบำบัดเพื่อรักษำโรควิตกกังวล ตัวอย่ำงกำรรักษำทำงเลือก
เหล่ำนี้ เช่น
-ฝึกทำสมำธิ มีหลักฐำนทำงวิทยำศำสตร ์พบว่ำกำรฝึกสมำธิโดยเฉพำะฝึก
สติเพื่อลดควำมเครียด สำมำรถช่วยได้
-ออกกำลังกำยและเล่นโยคะ กำรเล่นโยคะเป็ นกำรรวมเอำกำรจัดท่ำทำง
ของร่ำงกำยและกำรหำยใจ กำรออกกำลังกำยและกำรฝึกสมำธิด้วยกัน โดย
มีกำรวิจัยพบว่ำกำรล่นโยคะหรือกำรวิ่งหรือเดินเป็ นประจำ มีประโยชน์และ
ช่วยลดควำมเครียดและวิตกกังวลได้
-ลำเวนเดอร ์น้ำมันดอกลำเวนเดอร ์มักนำมำใช ้ในกำรบำบัดด้วยกลิ่น บำง
คนเชื่อว่ำมีกลิ่นที่ช่วยทำให้จิตใจสงบแต่งำนวิจัยที่พบว่ำช่วยได้ยังคงมีน้อย
อยู่
-สมุนไพรเซนต์จอห์นเวิร ์ต อำหำรเสริมจำกสมุนไพรชนิดนี้ถูกนำมำใช้
รักษำโรคซึมเศร ้ำและโรควิตกกังวล และปัญหำในกำรนอนหลับได้
-รำกวำเลอเรียน พืชสมุนไพรชนิดนี้ถูกนำมำรใช ้เพื่อรักษำโรควิตกกังวล
และโรคซึมเศร ้ำมำหลำยศตวรรษ อย่ำงไรก็ตำมยังไม่มีหลักฐำนที่แน่ชัดว่ำ
ช่วยให้หำยสนิทได้
27
กำรรักษำแบบ
ธรรมชำติบำบัด
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
โรควิตกกังวลเป็นภำวะที่อำจทำให้คุณภำพชีวิตแย่ลง ไม่ว่ำ
จะเป็นกำรทำงำน เรียนหนังสือ หรือกำรรักษำควำมสัมพันธ์
ให้ดี นอกจำกนั้น หำกไม่ได้รับกำรรักษำอำจเพิ่มควำมเสี่ยง
ที่รุนแรงต่ำง ๆ จนถึงขั้นเป็นอันตรำยถึงชีวิตได้ เช่น
• ภาวะซึมเศร้า โรควิตกกังวลมักจะเกิดขึ้นพร ้อมกับ
ภำวะซึมเศร้ำ ซึ่งต่ำงมีอำกำรที่คล้ำยกัน เช่น ไม่มีสมำธิ
กระสับกระส่ำย หงุดหงิด นอนไม่หลับ และรู้สึกกังวล
• การฆ่าตัวตาย โรคทำงจิตใจหรือโรควิตกกังวลเป็นหนึ่ง
ในสำเหตุของกำรฆ่ำตัวตำย โดยเฉพำะผู้ที่เป็นโรคย้ำคิด
ย้ำทำ โรคกลัวกำรเข้ำสังคม หรือผู้ที่เป็นโรควิตกกังวล
พร ้อมกับมีภำวะซึมเศร ้ำ จะยิ่งเพิ่มควำมเสี่ยงให้เกิดกำร
ฆ่ำตัวตำยได้ หำกผู้ป่วยเริ่มรู้ตัวว่ำตนเองมีควำมคิดใน
กำรฆ่ำตัวตำย ควรรีบขอรับควำมช่วยเหลือจำกแพทย์
โดยเร็ว
28
ภาวะแทรกซ้อนโรค
วิตกกังวล
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
• การใช้สารเสพติด ผู้ป่วยที่เป็ นโรคทำงจิต
หรือโรควิตกกังวล มีแนวโน้มที่จะติดสิ่งเสพติดที่
ให้โทษ เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์บุหรี่ หรือยำ
เสพติด โดยเฉพำะผู้ป่วยที่มีภำวะซึมเศร ้ำร่วม
ด้วยก็ยิ่งจะเพิ่มควำมเสี่ยงให้ติดสิ่งเสพติด
เหล่ำนี้ โดยผู้ป่วยมักใช้สิ่งเสพติดเพื่อบรรเทำ
อำกำร
• ความเจ็บป่ วยทางกาย โรควิตกกังวลอำจ
เพิ่มควำมเสี่ยงให้เกิดโรคทำงกำยได้เช่น ผู้ที่มี
ควำมเครียดเรื้อรังเกี่ยวกับควำมวิตกกังวล จะ
ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่ำงกำยต่ำลง ซึ่งส่งผล
ให้ร่ำงกำยไวต่อกำรเจ็บป่วยหรือติดเชื้อต่ำง ๆ
เช่น หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
และไวรัส
29
ภาวะแทรกซ้อนโรค
วิตกกังวล
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
บำงครั้ง โรควิตกกังวลอำจเป็ นผลข้ำงเคียงของ
โรคระบบต่อมไร ้ท่อที่เป็ นเหตุให้ระบบประสำท
ทำงำนเกิน โรคเช่น เนื้องอกแบบฟีโอโครโมไซโต
มำหรืออำกำรไฮเปอร ์ไทรอยด์
30
อาการทางแพทย์
อื่น ๆ
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
ถึงแม้ว่ำโรควิตกกังวลจะไม่สำมำรถป้องกันได้อย่ำงไรก็ตำม
มีวิธีที่จะช่วยควบคุมหรือบรรเทำอำกำรให้ทุเลำลงได้ เช่น
• หลีกเลี่ยงหรืองดกำรบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบ
ของคำเฟอีน เช่น ชำ กำแฟ น้ำอัดลม ช็อกโกแลต หรือ
เครื่องดื่มชูกำลัง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่อำจกระตุ้นให้อำกำร
ของโรควิตกกังวลแย่ลงได้
• ก่อนซื้อยำรักษำโรคหรือสมุนไพรต่ำง ๆ ตำมร ้ำนขำย
ทั่วไป ควรปรึกษำแพทย์หรือเภสัชกรก่อน เพรำะยำหรือ
สมุนไพรบำงชนิดอำจมีส่วนประกอบที่อำจกระตุ้นอำกำร
วิตกกังวลได้
• ควรฝึกทำจิตใจให้ผ่อนคลำยและรู้จักปล่อยวำงด้วยกำร
ฝึกทำสมำธิ ซึ่งจะช่วยจิตใจสงบ
• หำกรู้ตัวว่ำตนเองเริ่มมีควำมวิตกกังวลอยู่บ่อยครั้งโดยไม่
มีสำเหตุชัดเจน ควรไปพบจิตแพทย์หรือผู้ให้คำปรึกษำ
เพื่อขอควำมช่วยเหลือ ทำควำมเข้ำใจ และหำวิธีแก้ไข
ต่อไป
31
การป้ องกันโรควิตก
กังวล
Contoso
ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม
32
แหล่งอ้างอิง
1.)https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95
%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5
2.)https://www.ocare.co.th/blog/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8
%95%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5/
3.)https://www.honestdocs.co/anxiety
4.)https://today.line.me/th/pc/article/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0
%B8%95%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5+%E0%B8%AB%E0%
B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1+%E0%B8
%A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B
1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E
0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B
8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5-makJMW
5.)https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%
95%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5

More Related Content

Similar to โรควิตกกังวลคืออะไร

saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdfsaiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
60937
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
Wajana Khemawichanurat
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
KUMBELL
 
Com555
Com555Com555
April wellnesmag
April wellnesmagApril wellnesmag
April wellnesmag
R&D Computer
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararudsvuthiarpa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 
Presentation endgame
Presentation endgamePresentation endgame
Presentation endgame
ssuser9ee196
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
Utai Sukviwatsirikul
 
Schizophrenia
SchizophreniaSchizophrenia
Schizophrenia
Sunshine Friday
 
Bblรวม
BblรวมBblรวม
Bblรวมสพฐ
 
W.1
W.1W.1
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
mew46716
 
Health
HealthHealth
Health
UsableLabs
 
230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf
nakonsitammarat
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
great46540
 

Similar to โรควิตกกังวลคืออะไร (20)

saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdfsaiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
saiping,+Journal+manager,+1+สุดารัตน์vol20_no02 (1).pdf
 
Depression and suicide
Depression and suicide Depression and suicide
Depression and suicide
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
April wellnesmag
April wellnesmagApril wellnesmag
April wellnesmag
 
Basic concept sararud
Basic concept sararudBasic concept sararud
Basic concept sararud
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
Presentation endgame
Presentation endgamePresentation endgame
Presentation endgame
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้นแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาโรคสมาธิสั้น
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคสมาธิสั้น
 
Cpg ADHD
Cpg ADHDCpg ADHD
Cpg ADHD
 
Schizophrenia
SchizophreniaSchizophrenia
Schizophrenia
 
Bblรวม
BblรวมBblรวม
Bblรวม
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
Health
HealthHealth
Health
 
230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf230111167342525149 (1).pdf
230111167342525149 (1).pdf
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 

โรควิตกกังวลคืออะไร

  • 2. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม จัดทำโดย 2 นายภูบดินทร์ โชคทวีพูน ม.6/15 เลขที่9 นายกีรติกานต์ สกุลชมชื่น ม.6/15 เลขที่10
  • 3. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม คุณครูที่ปรึกษำ คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ คุณครูกลุ่มสำระวิชำเทคโนโลยีและสำรสนเทศ 3
  • 4. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม สำรบัญ 4 ประเภทของโครงงาน ระยะการดาเนินการ ที่มาและความสาคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตของโครงงาน หลักการและทฤษฎี วิธีการดาเนินงาน ผลคาดหวังที่จะได้รับ โรควิตกกังวลคืออะไร? ลักษณะทางจิต ลักษณะทางร่างกาบ สาเหตุของโรควิตกกังวล โรควิตกกังวลกับเด็กนั้นต่างกับผู้ใหญ่หรือไม่? การวินิจฉัยโรควิตกกังวล วิธีการรักษาในเบื้องต้น การรักษาแบบธรรมชาติบาบัด ภาวะแทรกซ้อนโรควิตกกังวล อาการทางแพทย์อื่น ๆ การป้องกันโรควิตกกังวล แหล่งอ้างอิง
  • 5. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม โครงงานพัฒนาเพื่อการศึกษา เป็ นโครงงำนที่นำคอมพิวเตอร ์มำใช ้ในกำรผลิตสื่อกำรเรียนรู้และ กำรศึกษำ โดยกำรสร ้ำงโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยกำรเรียน ซึ่ง อำจมีแบบฝึกหัดวัดควำมรู้ เพื่อให้ผู้เรียนสำมำรถทบทวนบทเรียนที่ ได้เรียนรู้และเกิดควำมเข้ำใจมำกขึ้นได้ ประเภทของ โครงงำน 5
  • 6. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม ระยะกำรดำเนินกำร ภำคเรียนที่2 ปี กำรศึกษำ 2562 6
  • 7. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม ในทุกวันนี้ผู้คนไม่ว่าจะเป็นทั้งเด็ก ผู้ใหญ่และผู้สูงไว้ต่างก็ต้องพบเจอเรื่อง ที่ทาให้ตนต้องกังวลทั้งสิ้น และหากพวกเขาไม่สามารถรับมือกับมันหรือ เกินการควบคุมได้”โรควิตกกังวล”นั้นคือสิ่งที่กาลังจะเกิดขึ้นกับพวกเขา ต่อมา เราสามารถเห็นผู้ป่วยที่เป็นโรคต่างๆได้ในชีวิตหรือคนใกล้ตัวของเรา เอง โดย”โรควิตกกังวล”ในจิตใจของพวกเขานั้นอาจมีมากจนเกินกว่าจะ แก้ไข ดังนั้นหากเราได้เรียนรู้อาการ วิธีการรับมือ และคาแนะนาที่ถูกวิธีใน การดูแลคนใกล้ชิดทีเรารัก เพื่อเป็นแนวทางช่วยเหลือและป้องกันเพราะเรา เชื่อว่าทุกอย่างเปลี่ยนแปลงได้ความวิตกกังวลก็เช่นกัน 7 ที่มำและควำมสำคัญ ของโครงงำน
  • 8. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • 1.เพื่อศึกษาถึงที่มาของโรควิตกกังวลได้ อย่างถูกต้อง • 2.เพื่อศึกษาอาการของโรคนี้ได้อย่างถูกต้อง • 3.เพื่อศึกษาวิธีการรับมือกับโรคนี้ • 4.เพื่อให้เข้าใจผู้คนที่มีอาการของโรคนี้ และช่วยเหลือเขาได้ 8 วัตถุประสงค์
  • 9. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • จัดทาโครงงานเรื่อง”โรควิตกกังวล” ผ่านสื่อเว็บไซต์Blogger.com 9 ขอบเขตของกำ โครงงำน
  • 10. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม 10 หลักกำรและทฤษฎี •โรควิตกกังวลเกิดได้จากหลาย ปัจจัย ซึ่งหนึ่งในนั้นอาจเป็น เรื่องของปัญหาครอบครัวด้วยก็ ได้
  • 11. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • 1.เลือกหัวข้อในการทาโครงงานที่สนใจ • 2.คุยงานและแจงแจงหน้าที่ๆต้อง รับผิดชอบ • 3.สืบค้นข้อมูลแล้วนามาสรุปเพื่อให้เข้าใจ ง่ายมากยิ่งขึ้น • 4.จัดทาโครงงานลงใน power point • 5.ตรวจสอบความสมบูรณ์ของโครงงาน 11 วิธีกำรดำเนินงำน
  • 12. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • ผู้คนที่เข้ามาศึกษาจะสามารถเรียนรู้ และเข้าใจถึงสาเหตุของโรค ที่มา อาการแต่ละประเภท และสามารถรู้ และรับมือกับผู้ที่มีโรคนี้อยู่ได้ 12 ผลที่คำดหวังว่ำจะ ได้รับ
  • 13. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม โรควิตกกังวล (Anxiety Disorder) คือโรค ทำงจิตใจที่มีควำมรุนแรงกว่ำควำมวิตกกังวลที่ เกิดขึ้นตำมธรรมชำติ ซึ่งผู้ป่วยที่เป็ นโรควิตก กังวลจะพบว่ำมีควำมวิตกกังวลและอำกำรอื่น ๆ ต่อเนื่องและอำกำรไม่หำยไป หรืออำจมีอำกำรที่แย่ ลงได้ในที่สุด โรควิตกกังวลทำให้เกิดอุปสรรคในกำรใช้ ชีวิตประจำวัน เช่น กำรทำงำน กำรเรียนหนังสือ และกำรรักษำควำมสัมพันธ์กับคนรอบข้ำง อย่ำงไร ก็ตำม หำกผู้ป่วยได้รับกำรรักษำอย่ำงเหมำะสมก็ สำมำรถจัดกำรกับอำกำรและกลับมำใช้ชีวิตปกติ ได้ 13 “โรควิตกกังวล” คืออะไร?
  • 14. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม นอกจำกนั้น ในแต่ละประเภทยังมีอำกำรเฉพำะ ดังต่อไปนี้ • อาการของโรคแพนิค (Panic Disorder) เช่น เหงื่อออก เจ็บหน้ำอก ใจสั่น รู้สึกสำลัก มีควำมรู้สึกเหมือนตนเองเป็ น โรคหัวใจหรือเหมือนจะเป็ นบ้ำ • อาการของโรคกังวลทั่วไป (Generalized Anxiety Disorder: GAD) เช่น มีควำมเครียดหรือมีควำมกังวลมำก เกินไปจำกควำมเป็ นจริง ถึงแม้ว่ำจะมีสำเหตุเพียงเล็กน้อย หรือไม่มีสำเหตุที่ไปกระตุ้นให้เกิดอำกำรกังวลได้ • อาการของโรคกลัวการเข้าสังคม (Social Anxiety Disorder) เช่น มีควำมกังวลที่รุนแรงมำกหรือมีควำม ระมัดระวังตัวเกินเหตุในสถำนกำรณ์ทำงสังคมต่ำง ๆ ที่ต้องพบ เจอตำมปกติในชีวิตประจำวัน โดยควำมกังวลที่เกิดขึ้นมักเป็ น ควำมกลัวกำรตัดสินจำกผู้อื่น หรือกลัวว่ำจะเกิดควำมอับอำย และถูกล้อเลียน • อาการของโรคกลัวแบบจาเพาะ (Specific Phobias) ผู้ป่วยจะมีควำมกลัวอย่ำงรุนแรงต่อสิ่งของหรือ สถำนกำรณ์เฉพำะ เช่น กลัวควำมสูง กลัวกำรเข้ำสังคม และ กลัวสัตว์บำงชนิด ซึ่งจะกลัวในระดับที่ต้องพยำยำมหลีกเลี่ยง สถำนกำรณ์ปกติในชีวิตประจำวัน 14
  • 15. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • ตื่นตระหนก กลัว ไม่สบำยใจ • กระวนกระวำย กระสับกระส่ำย • หวำดระแวง เครียด 15 ลักษณะทางจิต
  • 16. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • มือสั่น เขย่ำขำ นั่งงอเข่ำ • มือเท้ำเย็น หรือเหงื่อแตก • ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว เจ็บหน้ำอก • นอนไม่หลับ • ปวดหัว คลื่นไส้ • ปวดเมื่อยกล้ำมเนื้อ อ่อนเพลีย • ปัสสำวะ ท้องเสียบ่อย อำกำรข้ำงต้นเป็ นตัวสังเกตว่ำมีควำมผิดปกติเกิด ขึ้นกับตนเองหรือไม่? หำกพบว่ำมีควำมรู้สึกและ กลัวว่ำจะกลำยเป็ นโรควิตกกังวลให้รีบไปพบแพทย์ เพื่อทำกำรรักษำอย่ำงถูกวิธีให้เร็วที่สุด 16 ลักษณะทาง ร่างกาย
  • 17. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม สำเหตุของโรควิตกกังวล ไม่ได้มำจำกควำมบกพร่องทำง บุคคลิกภำพ หรือกำรเลี้ยงดูที่ไม่ดี แต่มีสำเหตุคล้ำยกับโรคทำงจิต ชนิดอื่น ๆ จำกกำรวิจัยพบว่ำโรคทำงจิตใจเหล่ำนี้เกิดจำกปัจจัย หลำยอย่ำงร่วมกัน ได้แก่ กำรทำงำนของสมองบำงส่วนที่เกิดควำม เปลี่ยนแปลง และควำมเครียดที่เกิดจำกสภำพแวดล้อม • โครงสร้างการทางานของสมอง โรควิตกกังวลอำจมีสำเหตุ มำจำกข้อบกพร่องหรือปัญหำที่เกิดขึ้นกับกำรทำงำนของสมอง ส่วนที่ทำหน้ำที่ควบคุมอำรมณ์ต่ำง ๆ หรือหำกมีควำมเครียด มำก ๆ เป็ นเวลำนำน อำจทำให้เซลล์ประสำทและสมองส่วนที่ทำ หน้ำที่ควบคุมอำรมณ์เกิดกำรเปลี่ยนแปลงได้ นอกจำกนั้น ยัง พบว่ำผู้ที่เป็ นโรควิตกกังวลบำงชนิด มีกำรเปลี่ยนแปลงของ โครงสร ้ำงสมองส่วนที่ทำหน้ำที่เกี่ยวกับควำมจำ ซึ่งมี ควำมสัมพันธ์กับอำรมณ์และควำมรู้สึก • กรรมพันธุ ์โรควิตกกังวลเกิดได้จำกกำรถ่ำยทอดทำง พันธุกรรมจำกพ่อแม่สู่ลูกทำนองเดียวกันกับกำรถ่ำยทอดทำง พันธุกรรมของโรคมะเร็งและโรคหัวใจ • ปัจจัยที่มาจากสิ่งแวดล้อม เช่น กำรได้รับบำดเจ็บ หรือ ประสบกับเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่อำจทำให้เกิดโรควิตกกังวล โดยเฉพำะผู้ป่วยเป็ นโรควิตกกังวลที่ถ่ำยทอดทำงพันธุกรรม จะ มีปฏิกิริยำที่ไวต่อกำรถูกกระตุ้นจำกปัจจัยดังกล่ำว 17 สาเหตุของโรควิตก กังวล
  • 18. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • ปัจจัยเฉพาะอื่น ๆ เช่น ควำมขี้อำยหรือไม่กล้ำแสดงอำรมณ์ ในเด็ก • มีฐำนะทำงเศรษฐกิจที่ไม่ดี • เป็ นหม้ำยหรือเคยหย่ำร้ำง • ต้องพบกับเหตุกำรณ์ในชีวิตที่มีควำมตึงเครียด ทั้งในวัยเด็กและ วัยผู้ใหญ่ • มีประวัติของคนในครอบครัวที่เป็ นโรคทำงจิตใจ • มีระดับฮอร ์โมนคอร ์ติซอลในน้ำลำยเพิ่มในช่วงบ่ำยซึ่งมำจำก ควำมเครียด โดยเฉพำะกับผู้ที่เป็ นโรคกลัวกำรเข้ำสังคม (Social Anxiety Disorder) • โรคอื่น ๆ ที่มีอำกำรคล้ำยคลึงกับอำกำรของโรควิตกกังวล เช่น ภำวะต่อมไทรอยด์ทำงำนเกิน หัวใจเต้นผิดปกติ หรือภำวะหัวใจ ล้มเหลว ซึ่งเป็ นกรณีที่ต้องได้รับกำรตรวจวินิจฉัยเพิ่มเติม 18 สาเหตุของโรควิตก กังวล
  • 19. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม เหมือนกับผู้ใหญ่ เด็กก็สำมำรถมีโรควิตกกังวล เด็กทั้งหมด ประมำณ 10-20% จะมีโรควิตกกังวลแบบเต็มตัวก่อนจะถึง อำยุ 18 ปี ซึ่งทำให้โรคเป็นปัญหำสุขภำพจิตที่สำมัญที่สุด ในเด็ก ๆ โรควิตกกังวลในเด็กบ่อยครั้งระบุได้ยำกเทียบกับในผู้ใหญ่ เพรำะยำกที่ผู้ปกครองจะจำแนกจำกควำมกลัวปกติของเด็ก โดยนัยเดียวกัน โรควิตกกังวลในเด็กบำงครั้งวินิจฉัยผิดว่ำ เป็นโรคซนสมำธิสั้น หรือเนื่องจำกเด็กมักจะตีควำมอำรมณ์ ของตนว่ำเป็นอำกำรทำงกำย (เช่น ปวดท้อง ปวดหัว เป็น ต้น) โรควิตกกังวลเบื้องต้นอำจสับสนกับโรคทำงกำยได้ ควำมวิตกกังวลในเด็กมีสำเหตุมำกมำย บำงครั้งมีมูลฐำน ทำงชีวภำพ หรืออำจเป็นผลของโรคอย่ำงอื่น เช่น โรคออทิ ซึม หรือกลุ่มอำกำรแอสเปอร ์เจอร ์เด็กที่มีพรสวรรค์ บ่อยครั้งเสี่ยงต่อควำมวิตกกังวลเกินไปมำกกว่ำเด็ก ธรรมดำ กรณีอื่น ๆ ของควำมวิตกกังวลมำจำกเด็กที่มี ประสบกำรณ์สะเทือนใจบำงอย่ำง และบำงครั้ง เหตุอำจไม่ สำมำรถระบุได้ 19 โรควิตกกังวลกับเด็ก นั้นต่ำงกับผู้ใหญ่ หรือไม่?
  • 20. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม ควำมวิตกกังวลในเด็กมักเป็ นเรื่องที่สมกับวัย เช่น กลัวไปโรงเรียน (โดยไม่เกี่ยวกับถูกเพื่อข่มเหง) หรือไม่เก่งพอที่โรงเรียน กลัวเพื่อน ไม่ยอมรับ กลัวว่ำอะไรจะเกิดขึ้นกับคนที่รัก เป็ นต้น ดังนั้น ลักษณะ ที่แยกโรควิตกกังวลจำกควำมวิตกกังวลของเด็กที่ปกติก็คือ ระยะเวลำและควำมรุนแรงที่กลัว ยกตัวอย่ำงเช่น เด็กเล็ก ๆ มักจะ กังวลเมื่อจำกคนที่รัก แต่โดยทั่วไปเมื่อถึงอำยุ 6 ขวบอำกำรก็จะ หำยเอง เทียบกับเด็กโรควิตกกังวลที่อำจจะเป็ นต่อไปเป็ นปี ๆ ซึ่ง ขัดขวำงพัฒนำกำรของเด็ก และคล้ำย ๆ กัน เด็กโดยมำกจะกลัว ควำมมืดและกลัวสูญเสียพ่อแม่ในช่วงหนึ่งในวัยเด็ก แต่ควำมกลัวนี่ จะหำยไปเองโดยไม่รบกวนกิจกรรมชีวิตประจำวันมำก แต่ในเด็กโรค วิตกกังวล ควำมกลัวควำมมืดหรือสูญเสียคนที่รักอำจจะเพิ่มจน กลำยเป็ นเรื่องหมกมุ่น ที่เด็กพยำยำมรับมือโดยคิดทำอะไรอย่ำง หมกมุ่นจนเป็ นปัญหำกับคุณภำพชีวิต กำรเริ่มมีอำกำรซึมเศร้ำ ร่วมกับโรควิตกกังวลอำจเป็ นตัวบ่งว่ำโรคกำลังรุนแรง ทำให้ เสียหำย และทำให้พิกำรมำกขึ้นทั้งในวัยก่อนโรงเรียนหรือในวัยเข้ำ โรงเรียนเด็กก็เหมือนผู้ใหญ่เพรำะสำมำรถมีโรควิตกกังวลได้หลำย ประเภท รวมทั้ง โรควิตกกังวลไปทั่ว (GAD) - เด็กจะกังวลกับ หลำย ๆ เรื่องอย่ำงคงยืน และควำมกังวลอำจปรับเข้ำกับ สถำนกำรณ์ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น หรืออำจมีมูลฐำนเพียงแค่จินตนำกำร แต่ยังไม่ได้เกิดจริง ๆ กำรปลอบโยนมักจะไม่ค่อยได้ผล 20 โรควิตกกังวลกับเด็ก นั้นต่ำงกับผู้ใหญ่ หรือไม่?
  • 21. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม แพทย์จะเริ่มจำกกำรถำมประวัติทำงกำรแพทย์ที่จำเป็ น เช่น อำกำรที่เกิดขึ้นและโรคประจำตัว หลังจำกนั้นจะตรวจ ร่ำงกำยและอำจตรวจเพิ่มเติม เช่น ตรวจเลือด ตรวจ สมรรถภำพปอด ตรวจคลื่นไฟฟ้ำหัวใจ และตรวจ ปัสสำวะ เพื่อแยกโรคอื่น ๆ ที่มีอำกำรคล้ำยกับโรควิตก กังวล เช่น ภำวะต่อมไทรอยด์ทำงำนเกิน โรคกระเพำะ อำหำรอักเสบเฉียบพลัน โรคหืด หรือหัวใจเต้นผิดปกติ หรือ ภำวะได้รับยำและสำรเสพติดที่ทำให้เกิดอำกำรคล้ำยโรค วิตกกังวล แต่หำกไม่พบโรคทำงกำยใด ๆ แพทย์จะส่งตัวไปให้จิตแพทย์ วินิจฉัยโดยกำรสัมภำษณ์ หรือใช ้เครื่องมือช่วยในกำร ประเมินโรคทำงจิตใจ โดยกำรประเมินสุขภำพทำงจิตอย่ำง ละเอียดจะมีประโยชน์ต่อกำรวินิจฉัยโรควิตกกังวลเป็ นอย่ำง มำกในกำรแยกโรคทำงจิตใจ เพรำะโรควิตกกังวลมักมี อำกำรคล้ำยกับภำวะอื่น ๆ เช่น ภำวะซึมเศร ้ำ หรือโรคย้ำคิด ย้ำทำ (Obsessive-Compulsive Disorder: OCD) 21 การวินิจฉัยโรควิตก กังวล
  • 22. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม หำกรู้ตัวว่ำเป็นโรควิตกกังวลแน่นอน ให้รีบเข้ำรับกำรบำบัด อย่ำงเร็วที่สุด วิธีกำรบำบัดมีหลำยแบบ สำหรับบำงท่ำนที่ บำบัดมำนำนแล้วไม่หำยสักที ให้ลองทุกวิธีหรือใช ้หลำยวิธี ร่วมกันเพื่อให้ผลที่ดีกว่ำ 1. เริ่มจำกที่ตัวเองปรับเปลี่ยนทัศนคติ พฤติกรรม รู้จัก แก้ไขปัญหำที่ต้นเหตุ เช่น • พักผ่อนให้เพียงพอ เข้ำนอนให้เป็นเวลำ • งดดื่มเครื่องดื่มที่คำเฟอีน เช่น ชำ กำแฟ น้ำอัดลม เครื่องดื่มชูกำลัง เนื่องจำกจะกระตุ้นให้รู้สึกแย่ลงก็ได้ • ทำสมำธิ ตั้งสติ ทำจิตใจให้สงบ ผ่อนคลำย รู้จักปล่อยวำง เรื่องที่ไม่จำเป็น ช่วยลดควำมเครียด ควำมวิตกกังวล • ออกกำลังกำยเบำๆเดิน วิ่ง เล่นโยคะ นอกจำกช่วยให้ ควำมแข็งแรง ยืดหยุ่นกล้ำมเนื้อแล้ว กำรฝึกโยคะต้องมี สมำธิจดจ่ออยู่ที่ลมหำยใจเข้ำ-ออกของตัวเอง ทำให้ สมองปลอดโปร่ง ไม่จมอยู่กับเรื่องเดิม ส่งผลให้ ควำมเครียดผ่อนคลำยลง 22 วิธีรักษาในเบื้องต้น
  • 23. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม 2. พูดคุยให้คำปรึกษำ รับฟังควำมคิดเห็นโดยผู้เชี่ยวชำญด้ำนสุขภำพจิต เป็ นวิธีที่ปลอดภัยที่สุด จะให้คำแนะนำเพื่อรับมือแก้ปัญหำได้ดีและถูกวิธี ที่สุด เพื่อให้ผู้ป่วยได้เรียนรู ้และรับมือกับปัญหำ เข้ำปรึกษำได้ที่โรงพยำบำล หรือถ้ำอำย ไม่กล้ำ โทรปรึกษำสำยด่วนสุขภำพจิต 1323 ฟรี ตลอด24 ชม. 3. บำบัดตำมธรรมชำติ โดยมีแพทย์เป็ นผู้ควบคุม • บำบัดด้วยกลิ่น ใช ้น้ำมันหอมระเหยที่สกัดจำกลำเวนเดอร ์งำนวิจัยระบุ ว่ำกลิ่นของมันทำให้จิตใจสงบ ผ่อนคลำย ลดควำมเครียด แม้ว่ำลำเวน เดอร ์จะไม่มีอันตรำย หลีกเลี่ยงใช ้สำรสกัดที่เข้มข้นเกินไปและเก็บให้ มิดชิดเด็ก • สมุนไพรจำกต้นเซนต์จอนห์นเวิร ์ต รำกวอเลอเรียน รำกคำวำ ถูก นำมำใช ้เพื่อชะลอควำมวิตกกังวล ปัญหำนอนไม่หลับ • ฝังเข็มแพทย์แผนจีน เป็ นวิธีหนึ่งที่ช่วยชะลอของโรคนี้ได้ แต่ถ้ำอยำก ได้ผลดี เร็วกว่ำเดิมให้ทำควบคู่กับวิธีบำบัดอื่นๆด้วย แต่กำรฝังเข็มก็มี ข้อห้ำม ผู้ที่ควรหลีกเลี่ยงคือ สตรีตั้งครรภ์ ผู้ที่เพิ่งผ่ำตัด เป็ นโรคมะเร็ง ก่อนจะใช ้วิธีกำรฝังเข็มควรศึกษำข้อห้ำมและโรงพยำบำลที่น่ำเชื่อถือ • ยำเพื่อลดควำมวิตกกังวล รับประทำนยำที่แพทย์สั่งอย่ำงครบถ้วน ต่อเนื่อง หำกมีควำมจำเป็ นต้องซื้อยำรักษำโรคหรือสมุนไพรต่ำงๆตำม ร ้ำนขำยยำทั่วไปควรปรึกษำแพทย์หรือเภสัชกรก่อน 23 วิธีรักษาในเบื้องต้น
  • 24. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม กำรรักษำโรควิตกกังวลขึ้นอยู่กับประเภทของโรค ซึ่งวิธีที่ใช ้ในกำร รักษำโดยทั่วไป มีดังนี้ • จิตบาบัด (Psychotherapy) เป็ นกำรรักษำด้วยกำรให้ คำปรึกษำโดยผู้เชี่ยวชำญด้ำนสุขภำพจิต เพื่อให้ผู้ป่วยเรียนรู้ วิธีรับมือกับปัญหำของโรควิตกกังวลได้ในที่สุด • การรักษาด้วยการเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม (Cognitive-Behavioral Therapy) เป็ นวิธีกำรรักษำทำง จิตที่ช่วยให้ผู้ป่วยได้เรียนรู้กำรปรับเปลี่ยนวิธีคิดและพฤติกรรมที่ นำไปสู่ปัญหำทำงอำรมณ์และควำมรู้สึก เช่น ช่วยให้ผู้ป่วยที่ เป็ นโรคแพนิคเรียนรู้ว่ำอำกำรแพนิคนั้นไม่ใช่อำกำรของ โรคหัวใจ หรือช่วยให้ผู้ที่เป็ นโรคกลัวกำรเข้ำสังคมเรียนรู้ที่จะ เอำชนะควำมเชื่อที่คิดว่ำคนอื่นคอยจ้องมองหรือตัดสินตน เป็ น ต้น • การฝึ กจัดการกับความเครียด วิธีฝึกกำรจัดกำรกับ ควำมเครียดและกำรทำสมำธิ เป็ นวิธีที่จะช่วยให้ผู้ป่วยโรควิตก กังวลมีอำรมณ์ที่สงบลงและยังช่วยเพิ่มประสิทธิภำพในกำร บำบัดวิธีอื่นได้ด้วย 24 การรักษาโรควิตก กังวล
  • 25. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • กำรรักษำด้วยยำ ยำที่นำมำใช้ในกำรรักษำและ ลดอำกำรของโรควิตกกังวล เช่น • ยำรักษำอำกำรซึมเศร ้ำ เช่น ยำกลุ่มเอส เอสอำร ์ไอ • ยำระงับอำกำรวิตกกังวล เช่น ยำกลุ่มเบนโซ ไดอะซีปีน เช่น ยำอัลปรำโซแลม และยำโคลนำ ซีแพม • ยำช่วยควบคุมอำกำรทำงร่ำงกำยเมื่อมีควำม วิตกกังวล เช่น ใจสั่น มือสั่น คือ ยำเบต้ำ บล็อกเกอร ์เช่น ยำโพรพรำโนลอล • ยำอื่น ๆ เช่น ยำรักษำโรคลมชัก และยำระงับ อำกำรทำงจิต กำรใช้ยำเหล่ำนี้ต้องอยู่ภำยใต้คำแนะนำและดุลย พินิจของแพทย์ 25 การรักษาโรควิตก กังวล
  • 26. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • นอกจำกนั้น ยังพบว่ำกำรออกกำลังกำยด้วยวิธี แอโรบิกมีผลทำให้อำกำรสงบลงได้แต่ยังไม่มี หลักฐำนจำกกำรศึกษำค้นคว้ำที่มำกพอเพื่อ นำมำเป็ นหนึ่งในวิธีกำรรักษำ รวมไปถึงควร พิจำรณำที่จะหลีกเลี่ยงคำแฟอีน ยำเสพติด และยำแก้หวัดที่ซื้อตำมร ้ำนขำยยำทั่วไป เพรำะ มีผลทำให้อำกำรของโรควิตกกังวลแย่ลงและที่ สำคัญ คือกำรได้รับกำรสนับสนุนและกำลังใจ จำกคนในครอบครัวเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยให้ ผู้ป่วยโรควิตกกังวลฟื้นฟูสู่สภำพปกติได้ดี 26 การรักษาโรควิตก กังวล
  • 27. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม มีกำรรักษำทำงเลือกและกำรรักษำตำมธรรมชำติที่อำจใช ้ร่วมกับกำรใช้ยำ และกำรทำจิตบำบัดเพื่อรักษำโรควิตกกังวล ตัวอย่ำงกำรรักษำทำงเลือก เหล่ำนี้ เช่น -ฝึกทำสมำธิ มีหลักฐำนทำงวิทยำศำสตร ์พบว่ำกำรฝึกสมำธิโดยเฉพำะฝึก สติเพื่อลดควำมเครียด สำมำรถช่วยได้ -ออกกำลังกำยและเล่นโยคะ กำรเล่นโยคะเป็ นกำรรวมเอำกำรจัดท่ำทำง ของร่ำงกำยและกำรหำยใจ กำรออกกำลังกำยและกำรฝึกสมำธิด้วยกัน โดย มีกำรวิจัยพบว่ำกำรล่นโยคะหรือกำรวิ่งหรือเดินเป็ นประจำ มีประโยชน์และ ช่วยลดควำมเครียดและวิตกกังวลได้ -ลำเวนเดอร ์น้ำมันดอกลำเวนเดอร ์มักนำมำใช ้ในกำรบำบัดด้วยกลิ่น บำง คนเชื่อว่ำมีกลิ่นที่ช่วยทำให้จิตใจสงบแต่งำนวิจัยที่พบว่ำช่วยได้ยังคงมีน้อย อยู่ -สมุนไพรเซนต์จอห์นเวิร ์ต อำหำรเสริมจำกสมุนไพรชนิดนี้ถูกนำมำใช้ รักษำโรคซึมเศร ้ำและโรควิตกกังวล และปัญหำในกำรนอนหลับได้ -รำกวำเลอเรียน พืชสมุนไพรชนิดนี้ถูกนำมำรใช ้เพื่อรักษำโรควิตกกังวล และโรคซึมเศร ้ำมำหลำยศตวรรษ อย่ำงไรก็ตำมยังไม่มีหลักฐำนที่แน่ชัดว่ำ ช่วยให้หำยสนิทได้ 27 กำรรักษำแบบ ธรรมชำติบำบัด
  • 28. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม โรควิตกกังวลเป็นภำวะที่อำจทำให้คุณภำพชีวิตแย่ลง ไม่ว่ำ จะเป็นกำรทำงำน เรียนหนังสือ หรือกำรรักษำควำมสัมพันธ์ ให้ดี นอกจำกนั้น หำกไม่ได้รับกำรรักษำอำจเพิ่มควำมเสี่ยง ที่รุนแรงต่ำง ๆ จนถึงขั้นเป็นอันตรำยถึงชีวิตได้ เช่น • ภาวะซึมเศร้า โรควิตกกังวลมักจะเกิดขึ้นพร ้อมกับ ภำวะซึมเศร้ำ ซึ่งต่ำงมีอำกำรที่คล้ำยกัน เช่น ไม่มีสมำธิ กระสับกระส่ำย หงุดหงิด นอนไม่หลับ และรู้สึกกังวล • การฆ่าตัวตาย โรคทำงจิตใจหรือโรควิตกกังวลเป็นหนึ่ง ในสำเหตุของกำรฆ่ำตัวตำย โดยเฉพำะผู้ที่เป็นโรคย้ำคิด ย้ำทำ โรคกลัวกำรเข้ำสังคม หรือผู้ที่เป็นโรควิตกกังวล พร ้อมกับมีภำวะซึมเศร ้ำ จะยิ่งเพิ่มควำมเสี่ยงให้เกิดกำร ฆ่ำตัวตำยได้ หำกผู้ป่วยเริ่มรู้ตัวว่ำตนเองมีควำมคิดใน กำรฆ่ำตัวตำย ควรรีบขอรับควำมช่วยเหลือจำกแพทย์ โดยเร็ว 28 ภาวะแทรกซ้อนโรค วิตกกังวล
  • 29. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม • การใช้สารเสพติด ผู้ป่วยที่เป็ นโรคทำงจิต หรือโรควิตกกังวล มีแนวโน้มที่จะติดสิ่งเสพติดที่ ให้โทษ เช่น เครื่องดื่มแอลกอฮอล์บุหรี่ หรือยำ เสพติด โดยเฉพำะผู้ป่วยที่มีภำวะซึมเศร ้ำร่วม ด้วยก็ยิ่งจะเพิ่มควำมเสี่ยงให้ติดสิ่งเสพติด เหล่ำนี้ โดยผู้ป่วยมักใช้สิ่งเสพติดเพื่อบรรเทำ อำกำร • ความเจ็บป่ วยทางกาย โรควิตกกังวลอำจ เพิ่มควำมเสี่ยงให้เกิดโรคทำงกำยได้เช่น ผู้ที่มี ควำมเครียดเรื้อรังเกี่ยวกับควำมวิตกกังวล จะ ทำให้ระบบภูมิคุ้มกันในร่ำงกำยต่ำลง ซึ่งส่งผล ให้ร่ำงกำยไวต่อกำรเจ็บป่วยหรือติดเชื้อต่ำง ๆ เช่น หวัด ไข้หวัดใหญ่ และโรคติดเชื้อแบคทีเรีย และไวรัส 29 ภาวะแทรกซ้อนโรค วิตกกังวล
  • 30. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม บำงครั้ง โรควิตกกังวลอำจเป็ นผลข้ำงเคียงของ โรคระบบต่อมไร ้ท่อที่เป็ นเหตุให้ระบบประสำท ทำงำนเกิน โรคเช่น เนื้องอกแบบฟีโอโครโมไซโต มำหรืออำกำรไฮเปอร ์ไทรอยด์ 30 อาการทางแพทย์ อื่น ๆ
  • 31. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม ถึงแม้ว่ำโรควิตกกังวลจะไม่สำมำรถป้องกันได้อย่ำงไรก็ตำม มีวิธีที่จะช่วยควบคุมหรือบรรเทำอำกำรให้ทุเลำลงได้ เช่น • หลีกเลี่ยงหรืองดกำรบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบ ของคำเฟอีน เช่น ชำ กำแฟ น้ำอัดลม ช็อกโกแลต หรือ เครื่องดื่มชูกำลัง ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่อำจกระตุ้นให้อำกำร ของโรควิตกกังวลแย่ลงได้ • ก่อนซื้อยำรักษำโรคหรือสมุนไพรต่ำง ๆ ตำมร ้ำนขำย ทั่วไป ควรปรึกษำแพทย์หรือเภสัชกรก่อน เพรำะยำหรือ สมุนไพรบำงชนิดอำจมีส่วนประกอบที่อำจกระตุ้นอำกำร วิตกกังวลได้ • ควรฝึกทำจิตใจให้ผ่อนคลำยและรู้จักปล่อยวำงด้วยกำร ฝึกทำสมำธิ ซึ่งจะช่วยจิตใจสงบ • หำกรู้ตัวว่ำตนเองเริ่มมีควำมวิตกกังวลอยู่บ่อยครั้งโดยไม่ มีสำเหตุชัดเจน ควรไปพบจิตแพทย์หรือผู้ให้คำปรึกษำ เพื่อขอควำมช่วยเหลือ ทำควำมเข้ำใจ และหำวิธีแก้ไข ต่อไป 31 การป้ องกันโรควิตก กังวล
  • 32. Contoso ชุ ด โ ป ร แ ก ร ม 32 แหล่งอ้างอิง 1.)https://www.pobpad.com/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95 %E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5 2.)https://www.ocare.co.th/blog/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8 %95%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5/ 3.)https://www.honestdocs.co/anxiety 4.)https://today.line.me/th/pc/article/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0 %B8%95%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5+%E0%B8%AB%E0% B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1+%E0%B8 %A3%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B 1%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E 0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%81%E0%B 8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5-makJMW 5.)https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8% 95%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%A5