SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
ทฤษฎีว่าด้วย
พฤติกรรมของผู้บริโภค
เมือราคาสูงขึน ผู้ซือสินค้าลดลง
เมือราคาลดลง ผู้ซือสินค้าเพิมขึน
ต้องการศึกษาเหตุผลเบืองหลัง
"กฎของอุปสงค์"
ทฤษฎีจะศึกษาว่าผู้บริโภคจะตัดสินใจเลือก
สินค้าอย่างไร(ด้วยงบประมาณทีมีจํากัด)
เพือให้ได้รับความพอใจสูงสุด
ทฤษฎีพฤติกรรมของผู้บริโภค
1.ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (utillity) = ความพอใจทีผู้บริโภคได้รับจากการ
บริโภคสินค้าและบริการ
2.ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (lndifference curve) = เส้นแสดงส่วนผสม
ต่างๆกันของสินค้า 2 ชนิดทีทําให้ได้ความพอใจเท่ากัน
ทฤษฎีทีใช้ศึกษา
มีทังหมด 2 ทฤษฎีน้าาาาา
นา 1 แก้วให้ความพอใจ 20 util
ข้าว 1 จานให้ความพอใจ 140 util
ความพอใจทีผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าหรือบริการ
ข้อสมมุติ
1.บุคคลสามารถวัดค่าความพอใจเปนหน่วยนับ (ตัวเลข)ได้
(โดยสมมุติให้ความพอใจมีหน่วยเปน util) เช่น
อรรถประโยชน์ (utility)
2.ความพอใจในการบริโภคสินค้าต่างชนิดกันจะไม่สัมพันธ์กัน การบริโภคสินค้า
ชนิดหนึงจึงไม่มีผลต่อการบริโภคสินค้าอืน เช่นการดืมนา 3 แก้วมาก่อน ไม่มีผลต่อ
การรับประทานอาหาร
3.ผู้บริโภคมีความรู้โดยสมบูรณ์ เกียวกับข้อมูลทีต้องใช้ประกอบการตัดสินใจ เช่นรู้
เปนอย่างดีว่าสินค้าแต่ละอย่างทีจะเลือกซือนันให้ความพอใจวัดค่าเปนตัวเลขได้
เท่าใด
อรรถประโยชน์รวม (Total Utility: TU) = ความพอใจทังหมดทีผู้บริโภคได้รับ
จากการบริโภคสินค้า n หน่วย (n=จํานวนสินค้าทังหมดทีบริโภค เช่นถ้าดืม
กาแฟทังหมด 3 แก้ว n=3
อรรถประโยชน์เพิม หรืออรรถประโยชน์หน่วยสุดท้าย (Marginal Utility:
MU) = ความพอใจทีเพิมขึนเมือบริโภคสินค้า/บริการเพิมขึน 1 หน่วย
ความหมายทีสําคัญ
การลดน้อยถอยลงของอรรถประโยชน์เพิม (mu)
“เมือบุคคลใดบริโภคสินค้า/บริการชนิดหนึงเพิมขึน
อรรถประโยชน์เพิม (MU)ของสินค้า/บริการนันจะลดลงเปน
ลําดับ”
Law of Diminishing Marginal Utility
กฎการลดน้อยถอยลงของอรถถประโยชน์เพิม (MU)
จากตัวอย่างตามตารางอรรถประโยชน์
นายแดงกําลังหิวมาก ขนมครกคู่แรกทีรับประทานให้ความพอใจเพิมขึน
(Mu)ถึง 12 util แต่ขนมครกคูู่ที2 จะให้ความพอใจเพิมเพียง 10 util เพราะ
ความหิวลดลงไปแล้วด้วยเหตุนีขนมครกคู่ต่อไปจะให้ความพอใจเพิมเลย
(MU=0) และคู่ที7 จะให้ความพอใจลดลง(MUติดลบ) เพราะอิมเต็มทีแล้ว(จะ
ให้นับประทานต้องบังคับ)
หมายถึง สถานการณ์ทีผู้บริโภคได้รับความพอใจสูงสุดจากการเลือก
ซือสินค้าด้วยงบประมาณทีมีจํากัด
ถ้าอยู่ในภาวะดุลยภาพแล้ว ผู้บริโภคจะไม่เปลียนแปลงการบริโภคอีก
คือไม่บริโภคเพิมขึนหรือลดลง ตราบใดทีปจจัยกําหนดการบริโภค
(ราคา รายได้ รสนิยม ฯลฯ) ยังไม่มีการเปลียนแปลง
ดุลยภาพของผู้บริโภค
ข้อสมมุติ
สินค้าทุกหน่วยราคาเดียวกัน
MU ของเงิน 1 บาท= 1 util เช่น ได้รับเงิน 20 บาท ให้ความพอใจ
เพิม (MU) = 20 util แต่ถ้าจ่ายเงินออกไป 20 บาท ก็จะทําให้ความ
พอใจลดลง = 20 util
กรณีเลือกซือสินค้าชนิดเดียว
กรณีเลือกซือสินค้าชนิดเดียว
หลักการตัดสินใจ ผู้บริโภคจะเปรียบเทียบระหว่างผลได้กับผล
เสียจากการซือสินค้าเพิมแต่ละหน่วย
ผลได้ =ความพอใจเพิม = MU สินค้า
ผลเสีย = เสียเงิน ความพอใจ(จากเงิน)ลดน้อยลง
ตราบใดทีผลได้มากกว่าผลเสียก็จะซือเพิม
ขึน(ทีละ1หน่วย)ไปเรือยๆ
ซือสินค้าหน่วยที1 เพราะ
ได้ความพอใจเพิม = 18 (MU สินค้า)
เสียความพอใจ = 9 (MU เงิน)
ซือสินค้าหน่ยที2 เพราะ
ได้ความพอใจเพิม = 15 (MU สินค้า)
เสียความพอใจ = 9 (MU เงิน)
ซือสินค้าหน่วยที3 เพราะ
ได้รับความพอใจเพิม 12 (MU
สินค้า)
ี ิ
ซือสินค้าหน่วยที4 เพราะ
ได้รับความพอใจเพิม = 9 (MU
สินค้า)
เสียความพอใจ = 9 (MU เงิน)
ไม่ซือสินค้าหน่วยที5 เพราะ
ได้ความพอใจเพิม = 6 (MU สินค้า)
เสียความพอใจ = 9 (MU เงิน)
ไม่ซือสินค้าหน่วยที6 เพราะ
ได้รับความพอใจเพิม = 3 (MU
ิ ้
เหตุผลในการตัดสินใจ
สรุป ผู้บริโภคจะได้รับความพอใจสูงสุด เมือเลือกซือสินค้าจน
MU ของสินค้า = ราคาสินค้า (P) พอดี
ข้อสังเกต สินค้าหน่วยที 1 ถึง 3 ในตัวอย่าง ผู้บริโภคได้รับความ
พอใจเพิม(MU) จากสินค้ามากกว่าความพอใจทีเสียไปจากการ
จ่างเงินซือสินค้า (MU ของเงิน) จึงเกิดสิงทีเรียกว่า “ส่วนเกินผู้
บริโภค” (consumer surplus)
เหตุผลในการตัดสินใจ
หมายถึง ส่วนต่างระหว่างราคาทีผู้บริโภคยินดีจ่าย กับ ราคาทีจ่าย
จริง
เช่น สินค้าหน่วยที 1 ให้ MU=18 แสดงว่าผู้บริโภคยินดีจ่ายไม่เกิน
18 บาทสําหรับสินค้าหน่วยนี (ความพอใจทีได้เพิม=18 จะคุ้มค่า
เงินทีเสียไปพอดี) แต่เนืองจากสินค้าราคา 9 บาท จึงมีส่วนเกิน
ของผู้บริโภค = 18 - 9 = 9 Util
ส่วนเกินของผู้บริโภค
ส่วนเกินของผู้บริโภคเมือวิเคราะห์จากเส้นอุปสงค์
จุดบนเส้นอุปสงค์แสดงราคาสูงสุดทีผู้บริโภคเต็มใจจ่ายซือสินค้า/
บริการทีกําหนด (จะไม่จ่ายเกินเส้นอุปสงค์ขึนไป แต่จ่ายตากว่านัน
ได้)
ส่วนเกินผู้บริโภคจะหาได้จากพืนทีใต้เส้นอุปสงค์ส่วนทีอยู่เหนือ
ราคาตลาด
กรณีเลือกซือสินค้าหลายชนิด ราคาเท่ากัน
ข้อสมมุติ
สินค้าแต่ละชนิด ทุกหน่วยราคาเดียวกัน
งบประมาณในการจ่ายซือมีจํากัด
เกณฑ์การตัดสินใจ จะเลือกซือสินค้าจน MU ของสินค้าทุกชนิดเท่ากันหมด หรือ
ซือจนกระทัง
MU(1) = MU(2) = MU(3) = ... = MU(n) = K และใช้งบประมาณทีมีอยู่หมดพอดี
MU(A) = MU(B) มี 2 ทีคือ = 28 และ = 24
MU(A) = MU(B) =28 ซือ A=4
B=3 รวม 7 หน่วย ใช้เงิน 70
บาท
MU(A) = MU(B) =24 ซือ A=5 B=7รวม
12หน่วย ใช้เงิน120บาท
ตัดสินใจ ซือ A = 5หน่วย และซือ B = 7หน่วย
อรรถประโยชน์รวมจากซือ A=5 คือ
อรรถประโยชน์รวมจากซือ B =7 คือ
อรรถประโยชน์รวมจากการซือ A และ B
TU(5) = MU(1) + MU(2) + MU(3) + MU(4) + MU(5) =40 + 36
+32 +28 + 24 = 160 util
TU(7) =MU(1) +MU(2) + MU(3) + MU(4) + MU(5) + MU(6) +
MU(7) = 30 +29 + 28 +27 + 26 + 25 + 24 = 189 util
=160 + 189 = 349 util
ข้อสมมุติ
สินค้าแต่ละชนิด ทุกหน่วยราคาเดียวกัน
งบประมาณในการจ่ายซือมีจํากัด
เกณฑ์การตัดสินใจ จะเลือกซือสินค้าจน MU ของสินค้า
แต่ละชนิด หารด้วยราคาสินค้านันเท่ากันหมด และใช้
งบประมาณทีมีอยู่หมดพอดี
กรณีเลือกซือสินค้าหลายชนิด ราคาต่างกัน
การใช้ทฤษฎีอรรถประโยชน์สร้างเส้นอุปสงค์
เส้นอุปสงค์ แสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคากับปริมาณซือ
โดยสมมุติให้ปจจัยอืนคงที (เช่นราคาสินค้าอืน,รายได้ ฯลฯ
จากตัวอย่างเดิม ราคา A = 10บาท ราคา B = 20 บาท รายได้
(งบประมาณซือ) = 100 บาท
ถ้าให้ราคา A และรายได้คงที จะสามารถสร้างเส้นอุปสงค์ต่อ
สินค้า B ได้ โดยสมมุติให้ราคา B เปลียนไปเปน 10 บาท
การวิเคราะห์ด้วยเส้นความพอใจเท่ากัน
และเส้นงบประมาณ
สมมุติว่าสินค้า 2 ชนิด และสามารถใช้ทดแทนกัน
ได้ในระดับหนึง
ความพอใจวัดค่าเปนตัเลขไม่ได้ แต่บอกได้ว่าพอใจ
เท่ากัน มากกว่า หรือน้อยกว่า
เส้นความพอใจเท่ากัน
(Indifference Curve : IC)
หมายถึง เส้นแสดงส่วนผสมต่างๆกันของสินค้า 2 ชนิดที
ทําให้ผู้บริโภคได้รับความพอใจเท่ากัน
เช่น ในการบริโภคให้ได้ความพอใจระดับหนึง มีทาง
เลือกบริโภคสินค้าX ผสกับ Y ได้หลายทางเลือก ดังนี
ลักษณะของเส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve)
ทอดลงจากซ้ายไปขวาและโค้งเว้าเข้าหาจุด origin มีข้อ
ยกเว้นอยู่ 2 กรณีทีเส้นความพอใจเท่ากันจะไม่เปนเส้น
ทอดลงจากซ้ายไปขวาและโค้งเว้าเข้าหาจุด Origin คือ
ถ้าสินค้า 2 ชนิดนันทดแทนกันได้สมบูรณ์
ถ้าสินค้า 2 ชนิดนันทดแทนกันไม่ได้เลย
1.
กรณีทีสินค้า ทดแทนกันได้สมบูรณ์
กรณีทีสินค้า ทดแทนกันไม่ได้
เส้น IC มีได้หลายเส้น (รวมเรียกว่า indifference map)
แต่ละเส้นแสดงความพอใจระดะหนึง เส้นทีสูงกว่าแสดง
ถึงระดับความพอใจทีมากกว่าเสมอ
ลักษณะของเส้นความพอใจเท่ากัน
(Indifference Curve)
หมายถึง เส้นแสดงส่วนผสมต่างๆกัน ของสินค้า 2 ชนิด
ทีสามารถซือได้ด้วยเงินจํานวนเท่ากัน
เส้นงบประมาณ(Budget Line)
หรือ เส้นราคา(Price Line)
ราคาสินค้าX
ราคาสินค้าY
ลักษณะของเส้นงบประมาณ
เปนเส้นตรง
Slope ของเส้นงบประมาณ =
Px
Py
=
สร้างขึนได้โดยการหาจุดตัดแกนตังและจุดตัดแกนนอนสร้างขึนได้โดยการหาจุดตัดแกนตังและจุดตัดแกนนอนสร้างขึนได้โดยการหาจุดตัดแกนตังและจุดตัดแกนนอน
แล้วลากเส้ นต่อจุดทังสองแล้วลากเส้ นต่อจุดทังสองแล้วลากเส้ นต่อจุดทังสอง
ลักษณะของเส้นงบประมาณ
จุด A อยู่บนเส้นงบประมาณ การซือสินค้าทีจุดนีจะใช้เงิน = 200 พอดี
จุด B อยู่สูงกว่าเส้นงบประมาณ การซือสินค้าทีจุดนีใช้เงินเกิน 200
จุด C อยู่ใต้เส้นงบประมาณ การซือสินค้าทีจุดนีจะใช้เงินตากว่า 200
การเปลียนแปลงของเส้นงบประมาณ มี 3 กรณี
งบประมาณรายจ่ายเปลียน(ราคาสินค้า X Y คงที)
ราคาสินค้า Y เปลียน(งบประมาณรายจ่ายและราคาสินค้า X คงที)
ราคาสินค้า X เปลียน(งบประมาณรายจ่ายและราคาสินค้า Y คงที)
ความหมาย คือสถานการณ์ทีผู้บริโภคได้รับความพอใจสูงสุดจากการ
บริโภคสินค้า / บริการภายใต้เงือนไขงบประมาณการใช้จ่ายทีมีจํากัด
จุดดุลยภาพ อยู่ ณ จุดเส้นความพอใจเท่ากันสัมผัสกับเส้นงบประมาณ
ดุลยภาพ
เส้นแนวทางการบริโภคตามรายได้
( Incom Consumption Curve : ICC )
หมายถึง เส้นแนวทางบริโภคทีได้ดุลยภาพ เมือรายได้ของผู้
บริโภค (งบประมาณการใช้จ่าย) เปลียนไป
หมายถึง เส้นแนวทางการบริโภคทีได้ดุลยภาพ เมือราคาสินค้า
ชนิดหนึงเปลียนไป (รายได้และราคาสินค้าอีกชนิดหนึงคงที)
เส้นแนวทางการบริโภคตามราคา
(Price Consumption Curve : PCC)

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดtumetr1
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์Orawonya Wbac
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณOrnkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนOrnkapat Bualom
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมple2516
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพtumetr1
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีPa'rig Prig
 
Unit3 elasticity
Unit3 elasticityUnit3 elasticity
Unit3 elasticitysavinee
 

What's hot (20)

บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
5.สูตรการหาความน่าจะเป็น
 
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติMacro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
Macro Economics c2 รายได้ประชาชาติ
 
03 ma
03 ma03 ma
03 ma
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
04 ma
04 ma04 ma
04 ma
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
 
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
 
Unit3 elasticity
Unit3 elasticityUnit3 elasticity
Unit3 elasticity
 

ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค