SlideShare a Scribd company logo
1 of 101
Download to read offline
1
การอบรมเชิงปฏิบัติการ
การใช้งานระบบ LearnSquare :Thai Open source e-Learning system
LearnSquare:
Thailand open source e-Learning system
http://www.learnsquare.com
โดย พรชัย ธรรมรัตนนนท์
ห้องปฏิบัติการวิจัยสารสนเทศสื่อประสม (Digital Media Informatics)
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC)
3
หัวข้อบรรยาย

e-Learning คืออะไร?
 Open source e-Learning
 LearnSquare Thai open source e-Learning

ผู้เรียน (Student Mode)

ผู้สอน (Instructor Mode)

การสร้างบทเรียนออนไลน์(Content Production)

คลังข้อสอบออนไลน์ (Item Banks)

ผู้ดูแลระบบ LearnSquare
4
วิวัฒนาการของเทคโนโลยีทางการศึกษา
High
Medium
Low
2004-111997-99 2000-03
Classroom-
Based
Lectures
Video-and
Audiotapes
Traditional
and
Non
network-
Based CBT
Phase 1
Phase 2 Phase 3
Intermediate Phase
Significant
Improvement in
Network Technologies
and Content Creating
Tools
No Object Orientation
and Standards
Early Phase
Little Direct Linkage
between Learning and
Enterprise
Performance
Limited Network
Capability (So Little
Use of Video)
Internet-and (Digital) Satellite-Based Learning and Training
Full Learning-on-Demand Capability
High-Quality Learning Content
Very Low Unit Cost of Delivery
Low-Cost Creation of Quality Content
Sophisticated, Low-Cost Tools
Tracked, Network Learning
Correlation of Learning to individual
and Enterprise Performance
Easy-to-Use Sophisticated Interactivity
Technologies
Wide acceptance of Object-Based Content
Standards
Easy Availability of Learning Modules on
Web
Thriving Electronic Commerce in Learning
and Training Content
Costs
กระบวนทัศน์ใหม่ของการศึกษา
•Asynchronous Learning, e-Learning, Online-Learning
• การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ตลอดเวลา โดยผู้สอนและผู้เรียนไม่
จําเป็นต้องพบในเวลาเดียวกัน
• เป็นการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (student/
learner center) ผู้สอนเป็นผู้จัดการ (facilitator) ให้เกิดการ
เรียน
• เป็นการขยายโอกาสทางการศึกษา
• เปิดโอกาสให้บุคลากรที่มีภาระงานประจําหรือมีครอบครัวที่
ต้องดูแล สามารถเรียนรู้ที่ใดเมื่อใดก็ได้โดยไม่มีอุปสรรคใน
ข้อจํากัดของสถานที่และเวลา เป็นการเรียนตามอัธยาศัยอัน
ก่อให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (lifelong learning)5
6
ข้อจํากัดของการเรียนการสอนในห้องเรียน
• การเข้าเรียนในห้องเรียน (Access to Training)
• คุณภาพของการสอนในแต่ละห้องเรียน (Variability in
Quality and Expertise)
• ข้อจํากัดเรื่องสถานที่ (Limit of regional or Capacity)
• ความทันสมัยของเนื้อหาวิชา (Training is quickly out
date)
• ความต้องการเฉพาะตัวรายบุคคล (Difficulty serve
specialized needs)
ทําไมต้อง e-Learning?
7
บริษัท จํานวนพนักงาน
ค่าใช้จ่ายก่อนใช้
e-Learning
ค่าใช้จ่ายหลังใช้
e-Learning
ประหยัดค่าใช้จ่าย
Buckman Labs 84 ล้าน 14 ล้าน
Hewlett Packard 700 engineers 245 ล้าน 52.5 ล้าน 192.5 ล้าน
Aetna 3000 105 ล้าน
MCIWorldCom 3825
196 ล้าน
(237% ROI)
Cisco
42000-63000
บาท/คน
37800-58800
บาท/คน
Novell
63000
บาท/คน
31500-38500
บาท/คน
8
e-Learning คืออะไร?
9
Education
Technology
e-Learning is the marriage of
education and technology
e-Learning ?
“การเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ e-Learning การศึกษาเรียนรู้ผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต
(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเองผู้เรียน จะได้เรียนตามความ
สามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่ง
ประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ เสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ
จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และ
เพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดย
อาศัยเครื่องมือการติดต่อ สื่อสารที่ทันสมัย
(e-mail, web-board, chatroom) จึงเป็น
การเรียนสําหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่
(Learn for all : anyone, anywhere and anytime)”
10
11
คุณลักษณะของ e-Learning

เป็นการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต/อินทราเน็ต

เรียนได้ไม่จํากัดสถานที่และเวลาทําให้เกิดความสะดวกและประหยัดค่าใช้จ่าย

นําเสนอผ่านทางเว็บไซต์ โดยเนื้อหาประกอบด้วยตัวอักษร ภาพนิ่ง ผสมผสาน
กับการใช้ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ และเสียง

มีแบบทดสอบ ก่อน/หลังการเรียน เพื่อการวัดและประเมินผล

มีระบบสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียน สําหรับตั้งคําถาม หรือแลกเปลี่ยน
แนวคิด ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน หรือกับวิทยากร

มีระบบบันทึก ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการเรียน เพื่อให้การเรียนเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด

ผู้เรียนสามารถเลือกศึกษาหลักสูตรต่างๆได้ด้วยตนเองตามศักยภาพ
12
ประโยชน์ของ e-Learning

เรียนที่ไหน เมื่อไหร่ หรือใครเรียนก็ได้

ลดค่าใช้จ่ายลงกว่าการเรียนในห้องเรียนปกติ

สามารถเข้าเรียนได้ทันที ไม่ต้องรอ

เป็นการเรียนแบบส่วนตัว

ผู้เรียนกล้าแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
กันมากขึ้น

ผู้เรียนรู้สึกอิสระลดความอึดอัดในห้องเรียน

ขยายโอกาสทางการศึกษา

เนื้อหาหลักสูตรมีมาตรฐานเดียวกัน
Learning Model
13
Collaborative
Technologies
Interactive
Technologies
Distribution
Technologies
Instructor
Centred
Learner
Centred
Learning Team
Centred
Degree of
Collaboration
Information
Transfer
Skill
Acquisition
Skill
Application
Learning Objective
Instructional
Process
Model
14
Pedagogy Andragogy
ผู้เรียนอายุอ่อนกว่า
Youth Learning
ผู้เรียนมีวุฒิภาวะ
Adult Learning
ผู้สอนเป็นศูนย์กลาง
Teacher-lead
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Learner-centered
ใช้เอกสาร, คู่มือ
Textbook-centered
ใช้โจทย์, ปัญหา
Problem-centered
15
Study Habits
Time Management
Take Notes
Effective Reading
Critical Thinking
Test Taking
Learner Success Skills
Access
Communicate
Browse
Search
Download
Compare
Synthesize
Online Success Skills
Relating online Success with Traditional Student Success Skills
(Based on the e-Learning Companion, Watkins & Corry, 2004)
Success in e-Learning
S
U
C
C
E
S
S
16
กรณีซื้อ/เช่าระบบ
เริ่มต้นอย่างไรดี ?
วิเคราะห์
You
analyze
ออกแบบ
You
design
สร้าง/พัฒนา
You
build
ประเมินผล
You
evaluate
กรณีจ้างออกแบบและพัฒนา
กรณีจ้างพัฒนา
17
e-Learning Evolution
1st Wiki developed
1993
ToolBook
200520042003200220011996 20001997
2.01.0
Wikipedia launched
18
19
20
21
22
23
24
25
http://www.learnsquare.com
26
27
LearnSquare
LearnSquare Colorful of Education
28
SquareLearn
29
e-Learning System Framework
Learning
Management
System
Learning
Content
Management
System
Learning
Tools
30
e-Learning System Framework (2)
 Learning Management system
− Student management
− Student skill assessment
− Student activity monitoring and tracking
− Activity reporting
 Learning Content Management System
− Content production
− Import/export content
− Presentation Technique
 Learning Tools
− Virtual Classroom Service, Chat, Email, Webboard
31
LearnSquare Features
Content
Management
System
Management
User Management
32
LearnSquare Features Cont.
UserInterfaceEducational
Services
Common
Service
Local
System
Web Server PHP 5.02+
Content
Creation
Quiz &
Assignment
Student
Tracking
SCORM
Compatible
MySQL
Course
Enrollment
Progress
Report Certification
Communication
Tools
Speech
Synthesis
33
LearnSquare Modules

ระบบการสมัครเรียน

ระบบการลงทะเบียน

ระบบการเรียน

ระบบการจัดการหลักสูตร

ระบบการจัดตารางสอน

ระบบการจัดการผู้ใช้งาน

ระบบสนทนา เว็บบอร์ด

ระบบจดหมายอิเลกทรอนิกส์

ระบบการกระจายเนื้อหา

ระบบปฏิทินนัดหมาย

ระบบการติดตามการเข้าเรียน

ระบบจัดการข้อมูลส่วนตัว

ระบบสร้างข้อสอบและประเมินผลอัตโนมัติ

ระบบการออกใบรับรองอัตโนมัติ

ระบบรายงานสถิติต่างๆ

ระบบสํารองข้อมูล

ระบบสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย

ฯลฯ
34
Thai Text to Speech Module
35
การปรับเปลี่ยนเว็บไซต์อย่างง่ายดาย
36
37
38
39
Theme 4: Magic
40
41
42
LearnSquare
สําหรับผู้เรียน
43
ผู้เรียนกับระบบ LearnSquare

สามารถเลือกเรียนในวิชาที่สนใจตาม
อัธยาศัย

เรียนรู้ได้เองโดยอิสระจากทุกที่ทุกเวลา

มีปฏิสัมพันธ์กับผู้สอนและผู้เรียนในกลุ่มได้

มีเครื่องมืออํานวยความสะดวกในการเรียน
เช่น ตารางนัดหมาย สมุดบันทึก ระบบแจ้ง
เตือน
44
LearnSquare: หน้าแรก
45
ก่อนการเรียนการสอน
ผู้เรียนในระบบ LearnSquare
เตรียมการสอน
Upload สื่อการ
สอนและข้อสอบ
เปิดให้ลงทะเบียน
ลงทะเบียนเรียน
สมัครสมาชิก
ผู้เรียน ผู้สอน
46
การสมัครสมาชิก
หมายเหตุ การสมัครเรียนอาจกําหนดได้โดยผู้ดูแลระบบก็ได้
47
การลงทะเบียนเรียน
48
ระหว่างการเรียนการสอน
ผู้เรียนในระบบ LearnSquare (2)
ติดตามผลการเข้า
เรียน ตอบคําถาม
พบปะผู้เรียน
ให้ความช่วยเหลือ
สอบ
เข้าเรียน
ผู้เรียน ผู้สอน
พักเรียน (drop)
49
Sample Content Page
50
Adobe Acrobat Style
51
Text Document Style
52
Flash Animation Style
53
Presentation File
54
Microsoft Producer
รูปแบบข้อสอบ
ขอสอบในระบบ LearnSquare มี 3 ประเภท คือ
•ปรนัย
•เติมคำ
•คำถามหลายคำถาม (Multi-Questions)
ปรนัย
เติมคำ
Multi-Questions
56
Test Page
57
Web board
58
Private Messages
59
หลังการเรียนการสอน
ผู้เรียนในระบบ LearnSquare (3)
ประเมินผล
การเรียน
ผ่าน ตก
ผู้เรียน ผู้สอน
60
ใบประกาศนียบัตรของผู้เรียน
61
62
LearnSquare
สําหรับผู้สอน
63
ผู้สอนกับระบบ LearnSquare

สร้างและปรับปรุงหลักสูตร

ออกแบบบทเรียนให้มีเนื้อหาน่าสนใจ

สามารถติดตามความก้าวหน้าของผู้เรียน

ให้คําปรึกษาปัญหาในบทเรียน

ตรวจสอบผลการเรียน และออกใบ certificate ได้

เก็บประวัติการเรียน และมีการรับรองผลการเรียน
64
ผู้สอนกับระบบ LearnSquare (2)
เพิ่มบทเรียน
สร้างและแก้ไขเนื้อหาบทเรียน
สร้างแบบทดสอบ
นําเข้าเนื้อหาจากภายนอก
เปิดสอนสร้างหลักสูตร
จัดการหลักสูตร ประเมินผลการเรียน
ให้คําปรึกษา
แนะนํา
ศึกษาพฤติกรรม
การเรียน
65
ก่อนการเรียนการสอน
ผู้สอนในระบบ LearnSquare
เตรียมการสอน
Upload สื่อการ
สอนและข้อสอบ
เปิดให้ลงทะเบียน
ลงทะเบียนเรียน
สมัครสมาชิก
ผู้เรียน ผู้สอน
66
การจัดทําสื่อการสอน
PDF
Document
Presentation
Video
Files
Sound
Files
Word
Processing
Flash
Animation
สื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์
LearnSquare Support
LearnSquare not Support
Webpage
เครื่องมือสร้างบทเรียนออนไลน์
67
Tool Purpose
Browser
Delivery
Authorware
Learning
applications
Macromedia
Authorware Web
Player
Director
Interactive
multimedia
Macromedia
Authorware Web
Player
Flash
Web animation and
interactivity
Macromedia Flash
Player
Dreamweaver,
Frontpage
General web
development
HTML and
JavaScript
68
Content Construction
69
HTML Editor
70
File Management
การสร้างคลังข้อสอบในระบบ LearnSquare
เริ่มต้นกับคลังข้อสอบ
•สามารถสรางขอสอบจำนวนมากๆเก็บไวในคลังเพื่อ
เลือกมาใชงานบางสวนได
•ผูสอนสามารถอนุญาตหรือไมอนุญาตใหผูอื่นใช
ขอสอบนั้นได ทำใหเกิดการใชงานรวมกัน หรือรวมกัน
สรางขอสอบ
•สามารถกำหนดระดับความยากของขอสอบ รวมถึงนำ
มาเปนเงื่อนไขในการคิดคะแนนได
•มีระบบสงออกและนำเขาขอสอบ เพื่อ back up แบบ
ทดสอบหรือถายโอนขอสอบระหวางระบบ
LearnSquare ดวยกัน
ผูสอน A
ผูสอน B
ผูสอน C
คลังขอสอบ
เริ่มต้นกับคลังข้อสอบ
สรางขอสอบ
สรางชุดแบบทดสอบ
สงออกชุดแบบทดสอบ
นำเขาชุดแบบทดสอบ ระบบอื่น
text file
Item Bank Diagram
การสร้างข้อสอบ
สามารถสรางขอสอบได 3 ประเภท คือ
•ปรนัย
•เติมคำ
•คำถามหลายคำถาม (Multi-Questions)
ปรนัย
เติมคำ
Multi-Questions
Keyword
การสร้างข้อสอบ
การสรางขอสอบแบบปรนัย
การสร้างข้อสอบ
การสรางขอสอบแบบเติมคำ
1
2
3
การสร้างข้อสอบ
การสรางขอสอบแบบ Multi-Questions
1
2
3
การสร้างชุดแบบทดสอบ
ตั้งคาชุดแบบทดสอบ
เพิ่มคำถามลงในชุดแบบทดสอบ
คนหาขอสอบ
เพิ่มชุดแบบทดสอบในรายวิชา
การสร้างชุดแบบทดสอบ
ตั้งคาชุดแบบทดสอบ
เพิ่มคำถามลงในชุดแบบทดสอบ
คนหาขอสอบ
เพิ่มชุดแบบทดสอบในรายวิชา
การสร้างชุดแบบทดสอบ
ตั้งคาชุดแบบทดสอบ
เพิ่มคำถามลงในชุดแบบทดสอบ
คนหาขอสอบ
เพิ่มชุดแบบทดสอบในรายวิชา
Keyword
การสร้างชุดแบบทดสอบ
ตั้งคาชุดแบบทดสอบ
เพิ่มคำถามลงในชุดแบบทดสอบ
คนหาขอสอบ
เพิ่มชุดแบบทดสอบในรายวิชา
การสร้างชุดแบบทดสอบ
ตั้งคาชุดแบบทดสอบ
เพิ่มคำถามลงในชุดแบบทดสอบ
คนหาขอสอบ
เพิ่มชุดแบบทดสอบในรายวิชา
การส่งออกชุดแบบทดสอบ
การนําเข้าชุดแบบทดสอบ
85
ระหว่างการเรียนการสอน
ผู้สอนในระบบ LearnSquare (2)
ติดตามผลการเข้า
เรียน ตอบคําถาม
พบปะผู้เรียน
ให้ความช่วยเหลือ
สอบ
เข้าเรียน
ผู้เรียน ผู้สอน
พักเรียน (drop)
86
กิจกรรมระหว่างเรียน
87
หลังการเรียนการสอน
ผู้สอนในระบบ LearnSquare (3)
ประเมินผล
การเรียน
ผ่าน ตก
ผู้เรียน ผู้สอน
88
ประเมินผลการเรียน
89
ประเมินผลการเรียน (2)
ประเมินผลการเรียน (3)
90
91
92
93
ใบประกาศนียบัตร

ไฟล์รูปภาพขนาด A4
(8.2 X 11.4 นิ้ว)
ความละเอียด 300 dpi

แก้ไขที่ /certificate/
instructor/
<ชื่อผู้สอน>.jpg)
94
95
Modules
96
LearnSquare Modules

ระบบการสมัครเรียน

ระบบการลงทะเบียน

ระบบการเรียน

ระบบการจัดการหลักสูตร

ระบบการจัดตารางสอน

ระบบการจัดการผู้ใช้งาน

ระบบสนทนา เว็บบอร์ด

ระบบจดหมายอิเลกทรอนิกส์

ระบบการกระจายเนื้อหา

ระบบปฏิทินนัดหมาย

ระบบการติดตามการเข้าเรียน

ระบบจัดการข้อมูลส่วนตัว

ระบบสร้างข้อสอบและประเมินผลอัตโนมัติ

ระบบการออกใบรับรองอัตโนมัติ

ระบบรายงานสถิติต่างๆ

ระบบสํารองข้อมูล

ระบบสังเคราะห์เสียงพูดภาษาไทย

ฯลฯ
97
Modules
SCORM
Sharable Content Object Reference Model
International e-Leaning Standard
98
ประโยชน์ของมาตรฐานของ e-Learning

สามารถนําหลักสูตรจาก LMS หนึ่งมาใช้ร่วมกับ LMS อื่นๆ
ได้ (Mix and Match)

ทําให้การใช้งานไม่ขึ้นอยู่กับแพลตฟอร์ม

เพิ่มประสิทธิภาพและทําให้เกิดการลงทุนที่คุ้มค่า

สร้างหลักสูตรให้เหมาะกับแต่ละบุคคล (Personalization) ได้
มากขึ้น (Put the right content to the right person on the
right time)

เพิ่มทั้งปริมาณและคุณภาพของเนื้อหา
99
Import / Export Content
100
Installation

Hardware
− Pentium III 800 MHz, RAM 256MB or More.
− HDD - software ~ 2 MB. + Content ~ 500 MB.
Software
− Open Source (LAMP) free!!

Linux SIS:School Internet Server 4.2a 2.4.9-21smp

Apache/1.3.22 (Unix)

MySQL 3.23.49

PHP 4.1.1 with GD 1.6.2 , PERL
− Freeware & Licenced Software (Optional)

Content: PDF writer, Edit Plus, MS Word

Multimedia: Camtasia, Real Producer

BIRC for chat room
101
pornchai.tummarattananont@nectec.or.th
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธSurapon Boonlue
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2Wilaiporn7
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearningpui003
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Dee Arna'
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือSudkamon Play
 
เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
 เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัชSa MiLd
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production Surapon Boonlue
 

What's hot (19)

M learning
M learningM learning
M learning
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
E learning
E learningE learning
E learning
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือ
 
E-learning
E-learningE-learning
E-learning
 
เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
 เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
เทคโนโลยรสารสนเทศ อ.ภิญญาพัช
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
241203 chapter05
241203 chapter05241203 chapter05
241203 chapter05
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Online content development and video production
Online content development and video production  Online content development and video production
Online content development and video production
 

Similar to LearnSquare Workshop

คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareNECTEC, NSTDA
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)guest082d95
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2btusek53
 
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธีหน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธีOh Aeey
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2parnee
 
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาการนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาbtusek53
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 

Similar to LearnSquare Workshop (20)

คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
 
Learnsquare manual
Learnsquare manualLearnsquare manual
Learnsquare manual
 
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์  (E-Learning)
การเรียนการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning)
 
Introduction to e-Learning
Introduction to e-LearningIntroduction to e-Learning
Introduction to e-Learning
 
easy e-learning msu
easy e-learning msueasy e-learning msu
easy e-learning msu
 
Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)Cyber Education(Pongsak)
Cyber Education(Pongsak)
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing l...
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
e-Learning : SRRT
e-Learning : SRRTe-Learning : SRRT
e-Learning : SRRT
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธีหน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
หน่วยที่ 1 เบื้องต้นกับคอมพิวเตอร์และขั้นตอนวิธี
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
 
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาการนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
Ch5 e-learning
Ch5 e-learningCh5 e-learning
Ch5 e-learning
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 

More from NECTEC, NSTDA

ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงานประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงานNECTEC, NSTDA
 
Iso50001 (Energy Management System
Iso50001 (Energy Management SystemIso50001 (Energy Management System
Iso50001 (Energy Management SystemNECTEC, NSTDA
 
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001NECTEC, NSTDA
 
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์NECTEC, NSTDA
 
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmapคู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology RoadmapNECTEC, NSTDA
 
Toward the NECTEC e-Learning Roadmap
Toward the NECTEC e-Learning RoadmapToward the NECTEC e-Learning Roadmap
Toward the NECTEC e-Learning RoadmapNECTEC, NSTDA
 
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์NECTEC, NSTDA
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-LearningNECTEC, NSTDA
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorNECTEC, NSTDA
 
Sharable Content Object Reference Model
Sharable Content Object Reference ModelSharable Content Object Reference Model
Sharable Content Object Reference ModelNECTEC, NSTDA
 
แนะนำ Reload Editor
แนะนำ Reload Editorแนะนำ Reload Editor
แนะนำ Reload EditorNECTEC, NSTDA
 
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กรมาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กรNECTEC, NSTDA
 
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final versionการเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final versionNECTEC, NSTDA
 

More from NECTEC, NSTDA (14)

ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงานประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
 
Iso50001 (Energy Management System
Iso50001 (Energy Management SystemIso50001 (Energy Management System
Iso50001 (Energy Management System
 
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
 
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
 
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmapคู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
 
Toward the NECTEC e-Learning Roadmap
Toward the NECTEC e-Learning RoadmapToward the NECTEC e-Learning Roadmap
Toward the NECTEC e-Learning Roadmap
 
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare Administrator
 
Sharable Content Object Reference Model
Sharable Content Object Reference ModelSharable Content Object Reference Model
Sharable Content Object Reference Model
 
แนะนำ Reload Editor
แนะนำ Reload Editorแนะนำ Reload Editor
แนะนำ Reload Editor
 
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กรมาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
 
Ln2 v4 show
Ln2 v4 showLn2 v4 show
Ln2 v4 show
 
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final versionการเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
 

LearnSquare Workshop