SlideShare a Scribd company logo
1 of 126
Download to read offline
สารบัญ
หน้าที่
บทนำ 1
1. e-Learning คืออะไร 1
2. ประโยชน์ของ e-Learning 2
3. ระบบ LearnSquare คืออะไร 3
4. ส่วนประกอบของระบบ LearnSquare 3
5. ขั้นตอนการเรียนด้วยระบบ LearnSquare 4
6. สรุป 5
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare สำหรับผู้เรียน 6
1. หน้าจอหลัก 7
2. การสมัครสมาชิก 8
3. การ Login เข้าใช้ระบบ 9
4. เมนูผู้เรียน 9
4.1 สมุดรายงาน 10
4.2 ส่งข้อความ 10
4.3 ตารางนัดหมาย 13
4.4 สมุดบันทึก 15
4.5 การแก้ไขข้อมูลส่วนตัว 18
4.6 ออกจากระบบ 19
5. การเรียน 19
5.1 องค์ประกอบของหลักสูตร 19
5.2 การลงทะเบียนเรียน 21
5.3 การเข้าเรียน 22
5.4 การสอบ 23
5.5 การใช้อุปกรณ์สนับสนุนการเรียน 25
5.6 การเพิกถอนวิชา 29
5.7 ใบประกาศนียบัตร 30
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare สำหรับผู้สอน 32
1. เมนูของผู้สอน 34
2. การสร้างหลักสูตรใหม่ 37
3. การเพิ่มบทเรียน 39
3.1 การเพิ่มบทเรียนแรก 39
3.2 การแทรกบทเรียนเพิ่มเติม 40
4. การแก้ไขชื่อบทเรียน 41
5. การสร้างและแก้ไขเนื้อหาบทเรียน 41
6. การนำเข้าบทเรียนจากภายนอกระบบ 44
6.1 การจัดการไฟล์ 44
6.2 การเพิ่มไฟล์จากภายนอกเข้าไปในบทเรียน 45
7. การแสดงเนื้อหาบทเรียน 46
8. การลบบทเรียน 47
9. การสร้างแบบทดสอบ 47
9.1 การสร้างข้อสอบในระบบ LearnSquare 48
9.2 สร้างข้อสอบ 49
9.2.1 การสร้างข้อสอบ “ปรนัย” 50
9.2.2 การสร้างข้อสอบ “เติมคำ” 52
9.2.3 การสร้างข้อสอบ “คำถามหลายคำถาม” 55
9.3 สร้างชุดแบบทดสอบ 58
9.4 การแก้ไข/ปรับปรุงชุดแบบทดสอบ 61
9.5 นำเข้าชุดแบบทดสอบ 62
10.การเปิดหลักสูตร 64
11.การจัดการหลักสูตร 67
12.การประเมินผลผู้เรียนและการออกใบประกาศนียบัตร 71
13.นำเข้า/ส่งออกหลักสูตร 73
13.1 การนำเข้าหลักสูตร 73
13.2 การนำเข้าหลักสูตรจากคลังบทเรียนออนไลน์ 76
13.3 ส่งออกหลักสูตร 77
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare สำหรับผู้ดูแลระบบ 78
1. การเข้าใช้งาน 80
2. จัดการระบบ 82
2.1 Site Setting 82
2.2 Blocks 84
2.3 Forums 86
2.4 Private Messages 86
2.5 ห้องสนทนา 87
2.6 Module 87
2.7 Tophit 89
2.8 RSS 89
2.9 News 89
2.10 Backup_Update 90
3. จัดการผู้ใช้ระบบ 93
3.1 Group 93
3.2 User Administration 94
3.3 Permissions 101
3.4 Logging 102
4. บริหารหลักสูตร 104
4.1 Schools 104
4.2 Courses 106
4.3 SCORM 106
4.4 Repository 108
คู่มือการติดตั้งระบบ LearnSquare 109
1. รู้จักกับ PHP 110
2. การปรับแต่ง PHP 111
3. การปรับแต่งฐานข้อมูล MySQL 112
4. การติดตั้งระบบผ่าน Browser 115
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา
บทนำำ
ในยคุ ของสงั คมเศรษฐกิจฐานความรู้ การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะอย่างยงิ่ เทคโนโลยีที่
เกีย่ วข้องกบั เครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการเพมิ่ ประสิทธิภาพของการจดั การข้อมูลและเวลาน้นั เป็นสงิ่
ทีจ่ ำาเป็น ในยคุ ต้นๆของการประยกุ ต์ใช้งาน มีการนำาระบบการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เข้ามาใช้
ในการแลกเปลีย่ นข้อมูล มีการนำาเทคโนโลยีทีเ่ กีย่ วกบั เว็บ มาเพอื่ เพมิ่ ทางเลือกในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร
เทคโนโลยีเหล่านี้ได้มีการพฒั นาอย่างต่อเนอื่ งเพอื่ ทำาให้เป็นอีกทางเลือกหนงึ่ ในการติดต่อระหว่างกนั เช่น
ระหว่างผู้ผลิตกบั ผู้ใช้ ผู้ให้บริการกบั ผู้รบั บริการ ตวั อย่างการประยกุ ต์ใช้งาน ได้แก่ e-commere e-banking
และ e-service ในภาคเอกชน หรือในรูปของ e-government ในภาครฐั บาลเป็นต้น
ในด้านการศึกษา ได้มีการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้คร้งั แรก ในช่วง คศ. 1950 ในยคุ แรกๆ
จะเป็นการใช้งานในรูปของการช่วยให้ผู้สอนท้งั ในรูปของการช่วยสอน (Computer Assisted Instruction
[CAI] ) และในรูปของการจดั การข้อมูลต่างๆทีเ่ กีย่ วกบั การเรียนการสอน ต่อมาได้มีการจดั ทำาเอกสารในรูป
สอื่ ต่างๆ เช่น CD VCD และ DVD เพอื่ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้โดยไม่จำากดั เวลาและสถานที่ แต่อย่างไร
ก็ตามการเรียนวิธีนี้ ผู้เรียนกบั ผู้สอนยงั ไม่มีการปฎิสมั พนั ธ์กนั เมอื่ เทคโนโลยีเกีย่ วกบั เครือข่ายคอมพิวเตอร์
มีการพฒั นาเพมิ่ ขี้น จึงได้มีการนำาเทคโนโลยีทางด้านนี้มาประยกุ ต์เพอื่ สนบั สนนุ แนวคิดเกีย่ วกบั การเรียนรู้
โดยไม่จำากดั เวลาและสถานที่ โดยทีผ่ ู้เรียนและผู้สอนมีการปฏิสมั พนั ธ์กนั ท้งั ในเวลาเดียวกนั และต่างเวลากนั
ขณะเดียวกนั ก็รองรบั การจดั การข้อมูลต่างๆทีเ่ กีย่ วกบั การเรียนการสอนด้วย เช่น ผู้เรียน, หลกั สูตร เป็นต้น
การพฒั นาระบบสนบั สนนุ เพอื่ ใช้ในด้านการศึกษานี้ จึงเป็นทีม่ าของการเรียนรู้ในรูปแบบของ e-Learning
1. e-Learning คืออะไร
e-Learning มาจากการรวมกนั ของ Electronic กบั Learning เป็นการนำาอปุ กรณ์, เทคนิคทีเ่ กีย่ ว
กบั การจดั การข้อมูลเข้ามาประยกุ ต์ใช้ในการเรียนรู้ ทำาให้เกิดการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ e-learning เป็นคำาที่
มีความหมายกว้าง มีนกั วิชาการหลายกลุ่มได้นิยาม คำาจำากดั ความของ e-learning ไว้ต่างๆกนั ดงั นี้
“e-learning is a means of becoming literate involving new mechanisms for
communication: computer networks, multimedia, content portals, search engines,
electronic libraries, distance learning and Web-enabled classrooms. E-learning is
characterized by speed, technological transformation and mediated human interaction. ”
by Peter J. Stokes: executive vice president of eduventures.com
หรือ
"e-learning คือการเรียนเนื้อหา หรือสารสนเทศสำาหรบั การสอนหรือการอบรมซงึ่ ใช้การนำาเสนอ
ด้วยตวั อกั ษร ภาพนงิ่ ผสมผสานกบั การใช้ภาพเคลอื่ นไหว วิดีทศั น์และเสียง โดยอาศยั เทคโนโลยี
ของเว็บ ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมท้งั ใช้เทคโนโลยีการจดั การคอร์สในการบริหารจดั การงานสอน
ต่างๆ" โดย ผศ. ดร. ถนอมพร เลาหจรสั แสง
1
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา
การเรียนแบบ e-Learning ทีจ่ ะกล่าวถึงในระบบ LearnSquare เป็นการเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์
และระบบเครือข่ายเป็นสอื่ กลาง มีการติดต่อเกีย่ วข้องกนั ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ซงึ่ เนื้อหาบทเรียนน้นั ถูก
กำาหนดจากจดุ ประสงค์ของการเรียนรู้โดยผู้สอนผ่านทางสอื่ ต่างๆมีท้งั ข้อความ ภาพ เสียง ซงึ่ ระบบมีการ
ออกแบบเพอื่ สนนั สนนุ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนตามความสนใจท้งั ทางตรงและทางอ้อม นอกจากนี้ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ร่วมกบั ผู้ทีเ่ กีย่ วข้องในการเรียนได้ และมีระบบการจดั การต่างๆเกีย่ วกบั ข้อมูลสำาหรบั การเรียน
การสอน
e-Learning เป็นการเรียนการสอนทีม่ ีลกั ษณะคล้ายกบั ระบบการเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์แบบ
อนื่ ๆ เช่น Computer Assisted Instruction, Computer Based Training และ Web Based Learning
เป็นต้น
Computer Assisted Instruction (CAI) หรือ Computer Based Training (CBT) แตกต่างจาก
e-Learning เนอื่ งจาก CAI และ CBT เป็นการเก็บสอื่ การสอนและแบบฝึกหดั อยู่ในรูปแบบของแผ่น
ดิสก์หรือแผ่นซีดี ผู้เรียนสามารถเข้าถึงบทเรียนทีม่ ี โดยไม่มีการปฎิสมั พนั ธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน CAI
หรือ CBT โดยทว่ั ไปถูกใช้เป็นการเรียนเสริมการสอนในระบบปกติ
ในอีกทางหนงึ่ e-Learning มีลกั ษณะคล้ายกบั Web Based Learning คือมีการรบั เนื้อหาการเรียน
ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหมือนกนั แต่ e-Learning มีการเก็บข้อมูลของผู้ใช้ระบบ ติดตามการใช้งาน
และการเรียนของผู้เรียนแต่ละคน ซงึ่ ใน Web Based Learning ไม่มีการจดจำาผู้เข้าเรียน เป็นเพียงการนำา
เสนอเนื้อหาผ่านทาง Web Browser เท่าน้นั
ในระบบ Learnsquare ระบบสามารถจดั การกบั ข้อมูลต่างๆเกีย่ วกบั การเรียนการสอนตามความ
หมายของ e-learning ระบบสามารถเก็บข้อมูลเกีย่ วกบั ผู้เรียนทีผ่ ู้สอนต้องการทราบ เช่น รายชอื่ ของผู้ทีล่ ง
ทะเบียนเรียนวิชาหนงึ่ จำานวนคร้งั ในการเข้าสู่ระบบเพอื่ เรียนเนื้อหาวิชาส่วนต่าง ๆ คะแนนทีไ่ ด้จากการสอบ
แต่ละคร้งั เป็นต้น นอกจากนี้ ยงั มีการจดั การข้อมูลอนื่ ๆ เกีย่ วกบั ผู้ใช้ และมีสงิ่ อำานวยความสะดวกเพอื่ ให้
การเรียนบนระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ระบบยงั สามารถจดั การสอบผ่านทางเครือข่าย เมอื่ ผู้เรียน
ทำาข้อสอบเสร็จแล้ว ระบบสามารถตรวจคำาตอบและรายงานผลคะแนนได้ทนั ที
2. ประโยชน์ของ e-Learning
เนอื่ งจาก e-Learning เป็นการจดั การเรียนการสอนทีอ่ ยู่บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาให้ลดปัญหาที่
เกิดขึ้นในการเรียนระบบปกติได้ โดยลกั ษณะทีเ่ ป็นข้อได้เปรียบของระบบมีอยู่ 2 ประการสำาคญั คือ
• ประการทีห่ นงึ่ การเรียนทาง e-Learning ไม่ต้องมีสถานทีใ่ ห้ผู้เรียนและผู้สอนมาพบปะกนั ทำา
ให้เกิดผลดีคือ
1. ประหยดั เวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เนอื่ งจากผู้เรียนและผู้สอนไม่ต้องเดินทาง
เพอื่ มาอยู่ในทีเ่ ดียวกนั อยู่
2. ผู้เรียนและผู้สอนสามารถเลือกสถานทีเ่ รียนและทำางานได้ด้วยตวั เอง
2
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา
3. มีความเป็นตวั เองสูง ความเขินอายลดน้อยลง ส่งผลทำาให้ผู้เรียนกล้าออกความคิดเห็น
และซกั ถามเพมิ่ มากขึ้นด้วย
4. สามารถรบั จำานวนผู้เรียนในระบบได้ไม่จำากดั เนอื่ งจากเป็นการเรียนผ่านทางเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ จึงไม่มีข้อจำากดั เกีย่ วกบั สถานที่
• ประการทีส่ อง สอื่ การสอนและเนื้อหาบทเรียนถูกเก็บไว้ในระบบ ทำาให้มีข้อดี คือ
1. มีความสะดวกสบาย ผู้เรียนสามารถเข้ามาเรียนไหร่ก็ได้ จึงไม่จำาเป็นต้องงดเว้นภารกิจ
อนื่
2. เนื้อหาการเรียนเป็นมาตรฐานเดียวกนั
3. ระบบ LearnSquare คืออะไร
LearnSquare เป็นโปรแกรมทีเ่ ปิดเผยรหสั การทำางาน(Open Source Software) ทีพ่ ฒั นาโดย
โปรแกรมเมอร์คนไทย ทำางานเพอื่ การจดั การการเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กล่าวคือ
LearnSquare เป็นระบบการจดั การ e-Learning นน่ั เอง
เนอื่ งจาก LearnSquare เป็นโปรแกรมทีเ่ ปิดเผย Source Code แบบ GNU General Public
License (GNU GPL) ผู้ทีส่ นใจสามารถนำาไปใช้งานได้โดยไม่ต้องซื้อ และยงั สามารถดดั แปลง แก้ไขรหสั
การทำางานของระบบให้เป็นไปตามทีต่ ้องการเองด้วย
4. ส่วนประกอบของระบบ LearnSquare
ระบบ LearnSquare สามารถแบ่งการทำางานออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ นน่ั คือ การจดั การผู้ใช้ การ
จดั การเกีย่ วกบั หลกั สูตร และ ระบบสนบั สนนุ การเรียน
1. การจดั การผู้ใช้ ระบบ LearnSquare ได้แบ่งกลุ่มผู้ใช้หลกั เป็น 4 กลุ่ม นน่ั คือ ผู้เรียน ผู้สอน ผู้
ดูแลระบบ และผู้ช่วยสอน
• ผเู้ รียน ทำาหน้าทีเ่ ข้าเรียน ซงึ่ ต้องลงทะเบียนเรียน เข้าเรียน และเข้าสอบตามวนั ที่
กำาหนด
• ผสู้ อน ทำาหน้าที่สร้างหลกั สูตรการสอน กำาหนดช่วงเวลาเรียนของวิชาทีส่ ร้างขึ้น เป็นผู้
สอนวิชาต่าง ๆ และในวิชาทีเ่ ป็นผู้สอนจะเป็นผู้ตดั สินว่าผู้เรียนคนใดสอบผ่าน
• ผดู้ ูแลระบบ ทำาหน้าที่เพมิ่ บญั ชีผู้ใช้ จดั การต้งั ค่าและรูปแบบต่าง ๆ ของระบบ และมี
ความสามารถสร้างหลกั สูตรการสอน และกำาหนดช่วงเวลาเปิดเรียนของวิชาได้เหมือน
กบั ผู้สอน แต่ไม่สามารถเป็นผู้สอนได้
• ผชู้ ่วยสอน ทำาหน้าทีเ่ ข้ามาในระบบเพอื่ ให้ความช่วยเหลือผู้สอน เช่น อาจตอบคำาถาม
ทีผ่ ู้เรียนสงสยั ได้ หรือเป็นทีป่ รึกษาของผู้เรียน เป็นต้น สำาหรบั ลกั ษณะการใช้งาน
ระบบทีไ่ ม่ต้องการผู้ช่วยสอน ก็ไม่จำาเป็นต้องมีผู้ใช้ในกลุ่มนี้ได้
3
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา
2. การจดั การหลกั สูตร ระบบจะแบ่งวิชาทีเ่ ปิดสอนออกเป็นกลุ่มของวิชา (Schools) มีผู้สอนและผู้
ดูแลระบบเป็นผู้สร้างหลกั สูตร โดยเนื้อหาการสอน และข้อสอบของแต่ละวิชาจะถูกเก็บไว้ใน
ระบบ สร้างหลกั สูตรและกำาหนดช่วงเวลาเรียนของวิชาน้นั ผู้เรียนจะเข้ามาลงทะเบียนและเข้า
เรียนได้
3. ระบบสนบั สนนุ การเรียน ได้แก่ หอ้ งสนทนา กระดานข่าว การรบั -ส่งขอ้ ความ สมุดบนั ทึก และ
ตารางนดั หมาย
• หอ้ งสนทนา มีลกั ษณะเป็นการคยุ กนั ระหว่างผู้เรียนวิชาหนงึ่ ทีก่ ำาลงั online ขณะน้นั
• กระดานข่าว ทำาให้ผู้เรียนสามารถทิ้งข้อความหรือประกาศไว้ ซงึ่ ทกุ คนสามารถเข้าไปดู
ข้อความของวิชาทีเ่ รียนได้
• รบั -ส่งขอ้ ความ เป็นการส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ (e-mail) ระหว่างผู้ใช้ระบบ
• สมุดบนั ทึก ผู้ใช้สามารถทำาการจดบนั ทึกข้อความเก็บในแฟ้มและสามารถจดั ข้อความให้
เป็นหมวดหมู่ได้ตามทีต่ ้องการ
• ตารางนดั หมาย เป็นส่วนทีร่ ะบบให้ผู้ใช้ได้จดั การนดั หมายต่าง ๆ ได้ด้วยตวั เอง
5. ขั้นตอนกำรเรียนด้วยระบบ LearnSquare
ด้วยคณุ สมบตั ิและความสามารถของ LearnSquare ทำาให้การเรียนการสอนบนระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ดำาเนินไปได้คล้ายกบั ระบบการเรียนการสอนแบบปกติ ในรายละเอียดของแต่ละลำาดบั ข้นั จะมี
ความแตกต่างกนั อยู่บ้าง การเรียนการสอนปกติในวิชาหนงึ่ เรมิ่ ต้นด้วยการเปิดสอนวิชาน้นั ก่อนการสอนผู้
สอนต้องเตรียมการสอนและสอื่ การสอนสำาหรบั การสอนแต่ละคร้งั เมอื่ ถึงวนั เข้าเรียน ผู้สอนจะต้องเข้าสอน
หน้าห้องเรียน เมอื่ มีการทดสอบ ก็ต้องตรวจให้คะแนนสลบั กบั การเข้าสอนไปจนจบหลกั สูตร ถ้าต้องการ
เปิดสอนวิชานี้อีกคร้งั การทำางานจะเป็นขบวนการเดิม และผู้สอนยงั คงต้องเข้าสอนอยู่ทกุ คร้งั
ผู้สอนในระบบ LearnSquare ต้องเตรียมสอื่ การสอนและข้อสอบไว้ก่อนการเปิดเรียน เสร็จแล้วจึง
เปิดการสอนวิชาน้นั เมอื่ ถึงกำาหนดเปิดเรียนผู้สอนไม่ต้องเข้าสอนเหมือนในการเรียนปกติ เพียงแต่เข้าระบบ
มาให้ผู้เรียนได้ซกั ถาม ให้คำาแนะนำา และให้การบ้านแก่นกั เรียนได้ โดยใช้อปุ กรณ์ทีร่ ะบบเตรียมไว้ให้
การเข้าเรียนของผู้เรียนในระบบการเรียนปกติกบั การเรียนใน LearnSquare อาจมีข้อแตกต่างของ
ลำาดบั ข้นั ไม่มากนกั แต่จะแตกต่างกนั ในลกั ษณะของการเข้าเรียนในระบบ LearnSquare ผู้เรียนและผู้สอน
จะเข้ามาเจอกนั ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แต่ในระบบปกติผู้เรียนและผู้สอนจะต้องมาเจอกนั ในห้องเรียนจริง
ในเวลาเดียวกนั
ใน LearnSquare ก่อนเข้าเรียนผู้เรียนต้องลงทะเบียนวิชาทีส่ นใจ ในระหว่างทีเ่ รียนอาจมีการบ้านที่
ผู้สอนมอบหมายให้ หรืออาจมีการสอบ ผู้เรียนสามารถเพิกถอนวิชาทีไ่ ม่ต้องการเรียนต่อไปได้ เมอื่ เรียนจบ
วิชาจะได้รบั การประเมินผลการเรียนจากผู้สอน
4
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา
6. สรุป
ระบบ LearnSquare เป็นระบบจดั การการเรียนการสอนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทีแ่ บ่งผู้ใช้
ออกเป็น 4 กลุ่ม คือ ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ดูแลระบบ และผู้ช่วยสอน เนอื่ งจากการใช้งานระบบของผู้ช่วยสอนมี
เพียงการเข้าสู่ระบบเพอื่ ตอบคำาถาม เป็นทีป่ รึกษา ให้แก่ผู้เรียนในวิชาทีไ่ ด้รบั มอบหมาย เนื้อหาในคู่มือ
ฉบบั นี้จะกล่าวในรายละเอียดแยกตามประเภทของผู้ใช้งาน โดยในบทที่ 2 จึงจะกล่าวถึงการใช้งานของผู้
เรียน ในบทที่ 3 กล่าวถึงการใช้งานของผู้สอน และในบทที่ 4 กล่าวถึงการใช้งานของผู้ดูแลระบบ สำาหรบั ผู้
ช่วยสอน ผู้ใช้ระบบสามารถดูได้จาก หวั ข้อทีเ่ กีย่ วข้อง ในการใช้งานของผู้เรียน และ การใช้งานของผู้สอน
5
รูปที่ 1.1 ข้นั ตอนการเรียนดว้ ยระบบ LearnSquare
การใช้งานระบบ LearnSquare สําหรับผู้เรียน
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
LearnSquare สำำ หรับผู้เรียน
ในบทนี้จะกล่าวถึงการใช้งานของกลุ่มผู้ใช้ทีเ่ ป็นนกั เรียนและการใช้อปุ กรณ์สนบั สนนุ การสอนทีม่ ี
ในระบบ
1. หน้ำจอหลัก
เมอื่ ผู้เรียน เข้ามาในระบบ LearnSquare จะพบหน้าจอหลกั ดงั รูปที่ 2.1 ซงึ่ ประกอบด้วยเมนูบาร์
ด้านบนและเฟรมเนื้อหาหลกั ด้านล่าง เมนูบาร์จะปรากฎทกุ หน้าในระบบ โดยมีส่วนประกอบบนเมนูบาร์ คือ
Home, Browse Courses, About us, Help Desk และ Contact us
1. Home เป็น ลิงค์ทีน่ ำาไปสู่หน้าแรกของระบบ
2. Browse Courses เป็นลิงค์ทีน่ ำาไปสู่หน้าทีร่ วบรวมหลกั สูตรทีก่ ำาลงั เปิดสอนท้งั หมด
3. About us เป็นลิงค์ทีน่ ำาไปสู่หน้าทีใ่ ห้ความรู้และแนวคิดพื้นฐานของระบบ อี
เลิร์นนงิ่ และระบบ LearnSquare
4. Help Desk เป็นลิงค์ทีน่ ำาไปสู่หน้าเกีย่ วกบั คำาถามทีพ่ บจากผู้ใช้ระบบบ่อย ๆ
5. Contact us ป็นลิงค์ทีน่ ำาไปสู่การติดต่อกบั ผู้ดูแลระบบ
7
รูปที่ 2.1 หนา้ จอหลกั
1 2 3 4 5
6
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
สำาหรบั เฟรมเนื้อหาหลกั ด้านล่างจะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ กรอบซ้ายมือ ซงึ่ เป็นส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง
กบั ข้อมูลผู้ใช้ระบบ (User Organizer) กรอบกลาง ซงึ่ เป็นเนื้อหาทว่ั ๆ ไป และกรอบขวามือ ซงึ่ เป็นสถิติ
และข้อมูลข่าวสารจากผู้ดูแลระบบ
กรอบ User Organizer เป็นกรอบสำาหรบั ให้ ผู้ใช้ทำาการ login เข้าสู่ระบบ หลงั จากทำาการ login
แล้วกรอบ นี้จะเปลีย่ นไปแสดงลิงค์ทีเ่ ชอื่ มต่อกบั หน้าสำาหรบั ให้ผู้เรียนใช้งานต่าง ๆ
ผู้เรียนสามารถตรวจสอบวิชาทีเ่ ปิดให้ลงทะเบียนเรียนได้ จาก กรอบกลาง ดงั ทีแ่ สดงในหมายเลข
6 ผู้เรียนสามารถเข้าไปลงทะเบียนเรียนได้จากส่วนนี้ รายละเอียดของการลงทะเบียนเรียนจะได้กล่าวต่อไป
ในหวั ข้อที่ 5.2
2. กำรสมัครสมำชิก
วิธีการสมคั รเข้าเป็นผู้เรียนในระบบ LearnSquare นี้สามารถทำาได้ 2 วิธี คือ สมคั รด้วยตนเอง
หรือ ให้ผู้ดูแลระบบ (System Administrator) เป็นผู้ดำาเนินการสมคั รให้
ผู้เรียนสามารถดำาเนินการสมคั รได้ด้วยตวั เองในกรณีทีผ่ ู้ดูแลระบบอนญุ าตและจะปรากฏข้อความ
"สมคั รเรียนฟรี!!!" ทีก่ รอบ User Organizer เพอื่ ให้ผู้เรียนสามารถคลิกต่อเพอื่ ดำาเนินการสมคั รเรียน
8
1
2
3
6
4
5
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
ข้นั ตอนการสมคั รสมาชิกมี ดงั นี้
1. คลิกที่ สมคั รเรียนฟรี ในกรอบ User Organizer
2. กรอกชอื่ เล่น
3. กรอกรหสั ผ่านและยืนยนั รหสั ผ่าน ซงึ่ ข้อมูลท้งั สองจะต้องเหมือนกนั
4. กรอกเลขประจำาตวั
5. ทำาเครอื่ งหมาย ✓ ในช่องสีเ่ หลีย่ ม เพอื่ สมคั รเป็นสมาชิก Mailing List เพอื่ รบั
ข่าวสารและประกาศต่าง ๆ
6. คลิกทีป่ ่มุ สมคั รสมาชิก
หลงั จากผู้เรียนได้สมคั รเป็นสมาชิกแล้วผู้เรียนสามารถใช้ชอื่ เล่น และรหสั ผ่านในการเข้าสู่ระบบได้
3. กำร Login เข้ำใช้ระบบ
วิธีการ login เข้าสู่ระบบ LearnSquare มีข้นั ตอนดงั นี้
1. กรอกชอื่ เล่นทีช่ ่อง Nickname
2. กรอกรหสั ผ่านทีช่ ่อง Password
3. คลิกทีป่ ่มุ login
4. เมนูผู้เรียน
เมอื่ ผู้เรียนเข้ามาในระบบ กรอบ User Organizer ห ล งั จ า ก
การ login จะแสดงเมนูหลกั สำาหรบั ใช้งาน 6 รายการ คือ สมุดรายงาน ส่งขอ้
ความ ตารางนดั หมาย สมุดบนั ทึก แกไ้ ขขอ้ มูลส่วนตวั และ ออกจากระบบ
9
รูปที่ 2.2 กรอบ User
Organizer หลงั จาก login
2
1
3
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
4.1 สมดุ รำยงำน
สมดุ รายงานของผู้เรียนแต่ละคนจะประกอบด้วย 3 ส่วน ตามรูปที่ 2.3
1. แสดงรายชอื่ หลกั สูตรทีผ่ ู้เรียนได้ลงทะเบียนเรียนไปแล้ว
ในภาพแสดงว่าผู้เรียนได้ลงทะเบียนเรียน 1 วิชาคือ ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกบั e-Learning
2. แสดงรายชอื่ หลกั สูตรทีผ่ ู้เรียนได้สำาเร็จการศึกษาแล้ว
ตามข้อมูลในภาพ ผู้เรียนยงั ไม่สำาเร็จการศึกษาวิชาใดเลย
3. แสดงรายชอื่ หลกั สูตรทีผ่ ู้เรียนเพิกถอน หรือเรียนไม่ผ่านเมอื่ จบหลกั สูตร
ตามภาพผู้เรียนยงั ไม่เพิกถอน หรือเรียนหลกั สูตรใดไม่ผ่าน
4.2 ส่งข้อควำม
ระบบ LearnSquare อนญุ าตให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสอื่ สารกนั ภายในระบบผ่านทาง
e-mail (ผู้เรียนไม่สามารถรบั หรือส่งข้อความนอกระบบ LearnSquare ได้)
เมอื่ ผู้เรียนเข้าสู่หน้า "ส่งขอ้ ความ"
10
รูปที่ 2.3 สมุดรายงาน
2
3
1
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
ในการส่งข้อความจะมีข้นั ตอนการใช้งานดงั นี้
1. ช่อง"ชอื่ เล่น" สำาหรบั ใส่ชอื่ ผู้รบั จะต้องเป็นชอื่ Nick Name ในระบบ LearnSquare
เท่าน้นั ซงึ่ สามารถตรวจสอบและค้นหาได้โดยการคลิกทีป่ ่มุ Find a nickname
2. ช่อง "Subject" สำาหรบั ใส่หวั ข้อของข้อความ
3. ป่มุ เลือกระดบั ความสำาคญั มี 3 ระดบั คือ High, Normal และ Low เมอื่ ผู้เรียนเลือก
ระดบั ความสำาคญั รูปภาพแสดงระดบั ความสำาคญั ทีอ่ ยู่ตรงด้านหน้าของป่มุ กำาหนด
ระดบั จะไปปรากฏในตู้รบั จดหมายของผู้รบั
4. ช่อง "Message" สำาหรบั กรอกข้อความทีต่ ้องการส่ง
5. เมอื่ ผู้เรียนกรอกข้อมูลทกุ อย่างและกดป่มุ Send message ด้านล่าง ข้อความจะถูกส่ง
ไปยงั ผู้รบั และถูกนำาไปเก็บอยู่ใน Outbox
11
1
2
4
5
3
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
e-mail ทีถ่ ูกส่งออกไป ถ้าผู้รบั ยงั ไม่ได้เปิดอ่าน จะถูกเก็บเอาไว้
ใน Outbox ถ้าผู้รบั เปิดอ่านจดหมายน้นั แล้วถูกเก็บไว้ใน Sentbox
ถ้าผู้เรียนคนหนงึ่ ได้รบั ข้อความจากผู้เรียนคนอนื่ ผู้เรียนจะได้รบั
ข้อความเตือน ในกรอบ User Organizer ผู้ใช้สามารถคลิกทีข่ ้อความ
เตือนน้นั เพอื่ เข้าไปใน Inbox และดูข้อความได้โดยคลิกทีห่ วั ข้อ
(subject) ของข้อความน้นั
ผู้เรียนสามารถจดั เก็บข้อความทีอ่ ยู่ใน Inbox และ Outbox ได้ในหน้าทีแ่ สดงข้อความตามรูป โดยมี
ข้นั ตอนดงั ต่อไปนี้
1. เลือกข้อความทีจ่ ะเก็บไว้หรือข้อความทีจ่ ะลบ โดยคลิกในช่องสีเ่ หลีย่ มหน้าข้อความที่
ต้องการ เพอื่ ทำาเครอื่ งหมาย ✓ ผู้เรียนสามารถเลือกข้อความทีต่ ้องการได้มากกว่า 1
ข้อความ
2. ถ้าต้องการเก็บข้อความ คลิกทีป่ ่มุ Save Marked ข้อความทีท่ ำาเครอื่ งหมายไว้จะถูกเก็บ
ไว้ใน Savebox แต่ถ้าต้องการลบข้อความ ให้คลิกทีป่ ่มุ Delete Marked
12
1
2
รูปที่ 2.4 การเตือนรบั e-mail
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
4.3 ตำรำงนัดหมำย
ตารางนดั หมายเป็นเครอื่ งมือช่วยจดบนั ทึกนดั หมายหรือกำาหนดการต่าง ๆ ดงั แสดงในรูปที่ 2.5 ผู้
เรียนสามารถเลือกดูตารางได้ 4 รูปแบบ คือ (1) แบบรายวนั (2) แบบรายสปั ดาห์ (3) แบบรายเดือน และ
(4) แบบรายปี
13
รูปที่ 2.5 ตารางนดั หมาย
31 2 4 5
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
ถ้าต้องการเพมิ่ การนดั หมายให้คลิกที่ (5) ในรูปที่ 2.5 และทำาตามข้นั ตอนตามรูปคือ
1. เลือกประเภทของการนดั หมายจาก dropdown menu เช่น งานที่ตอ้ งทำา เรียน ประชุม
อบรม บรรยาย วนั เกิด เป็นต้น
2. ใส่หวั ข้อของการนดั หมาย
3. ใส่รายละเอียด
4. เลือกวนั ทีท่ ีน่ ดั หมาย
5. เลือกเวลาเรมิ่ ต้นและสิ้นสดุ
6. คลิกที่ SAVE เพอื่ บนั ทึก
เมอื่ เพมิ่ การนดั หมายเข้ามาแล้ว จะปรากฏนดั หมายตามวนั ทีท่ ีเ่ พมิ่ เข้าไปตามรูปที่ 2.6
14
4
2 3
5
6
1
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
4.4 สมดุ บันทึก
ผู้เรียนสามารถทำาการจดบนั ทึกออนไลน์ รวมท้งั จดั การข้อมูลต่างๆให้เป็นหมวดหมู่ได้อย่างอิสระ
ในหน้าสมดุ บนั ทึก
การทำาบนั ทึกข้อความมีข้นั ตอนตามรูปในหน้าถดั ไป ดงั นี้
1. คลิกที่ บนั ทึกขอ้ ความ
2. ใส่ข้อมูลหวั ข้อเรอื่ งทีจ่ ะบนั ทึก
3. ใส่ข้อความทีต่ ้องการบนั ทึก
4. เลือก folder ทีต่ ้องการเก็บบนั ทึกโดยใช้ dropdown menu
5. กด SAVE
15
รูปที่ 2.6 แสดงนดั หมายแบบรายเดือน
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
16
5
2
3
4
1
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
เมอื่ จดั เก็บแล้วข้อความทีบ่ นั ทึกจะอยู่ใน folder ทีเ่ ลือกไว้ เมอื่ ต้องการดูข้อความ ให้คลิกทีช่ อื่ ข้อ
ความน้นั
ถ้าต้องการสร้าง folder ใหม่เพอื่ จดั การแฟ้มข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ ทำาได้โดย
1. คลิกที่ สรา้ งแฟ้ม เพอื่ folder ใหม่
2. ใส่ชอื่ folder ใหม่ทีต่ ้องการ
3. กำาหนด folder ทีจ่ ดั เก็บ folder ทีส่ ร้างใหม่
4. คลิกที่ create
folder ใหม่จะปรากฎดงั ทีแ่ สดงในรูปที่ 2.7 folder2 จะปรากฎอยู่ภายใต้ my folder ผู้เรียน
สามารถสร้างแฟ้มบนั ทึกข้อมูลใน folder ใหม่นี้ได้
17
4
1
2
3
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
4.5 กำรแก้ไขข้อมูลส่วนตัว
ผู้เรียนสามารถเแก้ไขข้อมูลส่วนตวั และรหสั ผ่านของตนเอง ตามข้นั ตอนดงั ต่อไปนี้
1. ถ้าต้องการแก้ไขรหสั ผ่าน ให้กรอกรหสั ผ่านใหม่ โดยต้องกรอกรหสั ให้เหมือนกนั ท้งั 2
ช่อง
2. กรอกชอื่ และนามสกลุ
3. ผู้ใช้สามารถเลือกรูปการ์ตูนแทนตวั เองได้จากรายการรูปท้งั หมด
4. กรอกหมายเลข ICQ (ถ้ามี)
5. กรอกข้อมูลเพมิ่ เติม เช่น ทีอ่ ยู่ เบอร์โทรศพั ท์
18
รูปที่ 2.7 folder ใหม่
1
2
3
4
5
6
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
6. คลิกที่ Save Changes
ผู้เรียนไม่สามารถเปลีย่ นแปลงชอื่ เล่นทีใ่ ช้สำาหรบั login และเลขประจำาตวั ได้
4.6 ออกจำกระบบ
เมอื่ เสร็จสิ้นการใช้งานของระบบ ผู้เรียนสามารถออกจากระบบโดยทำาการ logout โดย
คลิกที่ ออกจากระบบ ในกรอบ User Organizer
5. กำรเรียน
ผู้เรียนทีต่ ้องการเรียนใน LearnSquare จะต้องทราบเกีย่ วกบั หวั ข้อทีเ่ กีย่ วข้อง คือองค์ประกอบของ
หลกั สูตร วิธีการลงทะเบียน วิธีการสอบ การใช้อปุ กรณ์สนบั สนนุ การเรียน วิธีการเพิกถอนวิชา และใบ
ประกาศนียบตั ร ซงึ่ รายละเอียดมีดงั นี้
5.1 องค์ประกอบของหลักสูตร
ผู้เรียนสามารถเรียกดูรายชอื่ วิชาทีเ่ ปิดสอนใน LearnSquare ได้โดยการคลิกที่ Browse
Course ใน Menu bar ข้างบน ดงั ทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วในหวั ข้อ หนา้ จอหลกั รายชอื่ หลกั สูตรจะปรากฏดงั หน้า
จอทีแ่ สดงในรูปที่ 2.8 ผู้เรียนสามารถคลิกทีช่ อื่ ของหลกั สูตรเพอื่ เข้าไปดูรายละเอียของหลกั สูตรทีส่ นใจได้
เมอื่ คลิกทีช่ อื่ วิชาทีส่ นใจแล้วจะเห็นว่าวิชาน้นั ประกอบด้วยแท็บ 3 แท็บ คือ เนื้อหา
สารบญั และ ลงทะเบียนเรียน
19
รูปที่ 2.8 Browse Course
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
• เนื้อหา
แท็บ เนื้อหา จะแสดงรายละเอียดของวิชาน้นั เช่น ชอื่ หลกั สูตร ผู้สร้างหลกั สูตร เนื้อหา
วิชาโดยย่อ วตั ถปุ ระสงค์ เป็นต้น
• สารบญั
แท็บ สารบญั จะแสดงหวั ข้อบทเรียนและข้อสอบท้งั หมดในวิชาน้นั เรียงตามลำาดบั รวมถึง
แสดงรายละเอียดโดยย่อของเนื้อหาในแต่ละบท
20
รูปที่ 2.10 สารบญั
รูปที่ 2.9 เนื้อหา
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
• ลงทะเบียน
แท็บ ลงทะเบียน จะแสดงข้อมูลสำาหรบั การลงทะเบียน ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนได้ใน
แท็บนี้
5.2 กำรลงทะเบียนเรียน
หลงั จากผู้เรียน login เข้าสู่ระบบแล้ว ผู้เรียนสามารถเข้าไปทีห่ น้า ลงทะเบียนเรียน ตาม
รูป เพอื่ ลงทะเบียนเรียนในวิชาทีต่ นเองสนใจ
การลงทะเบียนมีข้นั ตอนดงั นี้
1. คลิกในวงกลมหน้าช่วงวนั ทีเ่ ปิดให้เรียน
2. คลิกทีช่ ่องสีเ่ หลีย่ มเพอื่ ทำาเครอื่ งหมาย ✓ ถ้าต้องการให้แสดงชอื่ เล่นในห้องเรียน และ
ต้องการมีชอื่ อยู่ใน Mailing List ของวิชา
3. คลิกทีป่ ่มุ ลงทะเบียนเรียน
เมอื่ ลงทะเบียนแล้ว ระบบจะส่ง e-mail ยืนยนั การลงทะเบียนมายงั ผู้เรียน และจะปรากฏ
ชอื่ วิชาทีล่ งทะเบียนไว้แล้วในหน้า สมุดรายงาน และ ในกรอบ User Organizer (ตามรูป 2.11)
21
1
3
2
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
5.3 กำรเข้ำเรียน
22
รูปที่ 2.11 สมุดรายงานและกรอบ User Organizer หลงั จากลงทะเบียน
1
2
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
ผู้เรียนสามารถเข้าเรียนได้เมอื่ ถึงกำาหนดเปิดเรียน โดยเข้าเรียนได้จาก link ในสมดุ รายงาน
หรือจากกรอบ User Organizer เมอื่ เข้าสู่วิชาทีต่ ้องการเรียนแล้วมีข้นั ตอนการเรียนดงั นี้
1. คลิกทีแ่ ท็บ สารบญั
2. คลิกทีห่ วั ข้อทีจ่ ะเข้าเรียน
ข้อสงั เกตอย่างหนงึ่ สำาหรบั การเข้าเรียนคือ ผู้เรียนจะเข้าเรียนในหวั ข้อในวิชาน้นั ได้ เมอื่ ถึงวนั ที่
กำาหนดเท่าน้นั และจะมีเส้นขีดใต้หวั ข้อแสดงให้ทราบว่าสามารถเข้าเรียนได้
ระหว่างทีท่ ำาการเรียน ผู้เรียนสามารถเข้าไปเรียนบทเรียนอนื่ ได้โดยการเลือกชอื่ บทเรียน ที่
หมายเลข (1)
5.4 กำรสอบ
ระหว่างทีท่ ำาการเรียนหรือหลงั จากเรียนเนื้อหาท้งั หมดเสร็จสิ้นแล้ว ในบางบทเรียนอาจมี
การกำาหนดให้ผู้เรียนต้องทำาการทดสอบ วิธีการเข้าสอบทำาได้สามารถทำาได้เช่นเดียวกบั การเข้าเรียน
23
รูปที่ 2.12 เนื้อหาบทเรียน
1
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
วิธีการสอบทำาได้โดย
1. คลิกทีช่ อื่ ของแบบทดสอบ ในหน้าของสารบญั
2. ข้อสอบทีต่ อบได้หลายข้อ จะเป็นช่องสีเ่ หลีย่ ม ให้คลิกในช่องสีเ่ หลีย่ มเพอื่ ทำาเครอื่ ง
24
2
3
4
1
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
หมาย ✓ หน้าข้อทีค่ ิดว่าเป็นคำาตอบทีถ่ ูกต้อง
3. ข้อทีม่ ีคำาตอบข้อเดียว จะเป็นช่องทำาเครอื่ งหมายรูปวงกลม เลือกคำาตอบได้เพียงข้อ
เดียว
4. เมอื่ ทำาข้อสอบเสร็จแล้ว คลิกทีป่ ่มุ ตรวจขอ้ สอบ
เมอื่ ทำาข้อสอบเสร็จแล้ว ระบบจะตรวจคำาตอบและให้คะแนนตามรูปที่ 2.13
1. เฉลยคำาตอบแต่ละข้อ
2. บอกคะแนนทีไ่ ด้ และสรปุ ผลการสอบว่าผ่านหรือไม่ผ่าน
ผู้สอบสามารถทำาข้อสอบใหม่ได้จนกว่าจะผ่านการทดสอบ โดยทีร่ ะบบจะรายงานคะแนนที่
ผู้เรียนเข้ามาสอบให้แก่ผู้สอนทกุ คร้งั
5.5 กำรใช้อปุ กรณ์สนับสนนุ กำรเรียน
หลงั จากผู้เรียนลงทะเบียนเรียนวิชาหนงึ่ แล้ว แท็บของวิชาน้นั จะเปลีย่ นไป คือจะมีแท็บของ
อปุ กรณ์สนบั สนนุ การเรียนเพมิ่ ขึ้นมา
ในระหว่างทีผ่ ู้เรียนกำาลงั เข้าเรียน ผู้เรียนสามารถใช้หน้าต่างทีร่ ะบบจดั ขึ้นไว้เพอื่ สนบั สนนุ
25
รูปที่ 2.13 ระบบตรวจขอ้ สอบ
1
2
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
การเรียน สำาหรบั วิชาน้นั ได้ อปุ กรณ์ส่งเสริมการเรียนมี 3 แบบคือ กระดานข่าว หอ้ งสนทนา และ เพื่อน
ร่วมหอ้ ง รายละเอียดการใช้งานแต่ละอย่างมีดงั นี้
 กระดานข่าว
กระดานข่าวเป็นอปุ กรณ์ทีช่ ่วยให้ผู้เรียนสามารถฝากเพอื่ ให้ผู้เรียนวิชาเดียวกนั สามารถเข้า
มาอ่านข้อความได้ วิธีการใช้กระดานข่าว ทำาตามข้นั ตอนดงั นี้
1. คลิกทีแ่ ท็บ กระดานข่าว
2. ใส่หวั ข้อคำาถาม
3. เลือกรูปไอคอนข้อความจาก dropdown menu ซงึ่ มีให้เลือก 12 ภาพ เช่น
มาตรฐาน รูปยกหวั แม่มือ รูปยกหวั แม่มือลง รูปป้ายเตือน รูปเครื่อง
หมายคำาถาม เป็นต้น
26
1
2
3
4
5
7
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
4. กรอกข้อความทีต่ ้องการ
5. ถ้าต้องการใส่รูป ให้เลือกรูปทีใ่ ส่โดยการคลิกที่ Browse
6. คลิกทีป่ ่มุ ส่งคำาถาม
 ห้องสนทนา
ห้องสนทนาเป็นอปุ กรณ์ทีช่ ่วยให้ผู้เรียนสามารถแลกเปลีย่ นความรู้กบั ผู้เรียนด้วยกนั หรือ
กบั ผู้สอนทีก่ ำาลงั online อยู่ได้ในห้องสนทนาในเวลาเดียวกนั โดยใช้ข้อความพิมพ์ส่งถึงผู้ทีอ่ ยู่ในห้อง
สนทนาทกุ คน
ผู้ดูแลระบบจะเป็นผู้กำาหนดว่าควรให้มีห้องสนทนาหรือไม่ ในทีน่ ี้จะกล่าวถึงในกรณีที่
สามารถใช้งานห้องสนทนาได้
วิธีการใช้ห้องสนทนามีข้นั ตอนดงั นี้
1. คลิกที่ หอ้ งสนทนา
2. กรอกข้อความทีต่ ้องการส่งเข้าไปในห้อง เพอื่ ให้ทกุ คนทีก่ ำาลงั สนทนาได้รบั ข้อความนี้
27
2
1
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
 เพอื่ นร่วมห้อง
ผู้เรียนสามารถเข้าไปดูว่ามีใครเข้าเรียนวิชาเดียวกนั บ้างสามารถเข้าไปดูทีแ่ ท็บ เพื่อนร่วม
หอ้ งได้
การดูข้อมูลเพอื่ นร่วมห้องมีข้นั ตอนดงั นี้
1. คลิกที่ เพื่อนร่วมหอ้ ง
2. สามารถส่งข้อความถึงเพอื่ นได้ โดยคลิกทีไ่ อคอนหลงั ชอื่ เพอื่ นทีต่ ้องการส่งข้อความ
ไปถึง
28
รูปที่ 2.14 เพื่อนร่วมหอ้ ง
1 2
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
5.6 กำรเพิกถอนวิชำ
ผู้เรียนสามารถทำาการเพิกถอนวิชาได้ในระหว่างเรียนจากหน้าต่าง สมุดรายงาน
29
1
2
3
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
การเพิกถอนวิชาสามารถทำาได้ดงั นี้
1. คลิกทีป่ ่มุ edit ท้ายบรรทดั ของวิชาทีต่ ้องการเพิกถอน
2. คลิกในช่องสีเ่ หลีย่ ม เพอื่ ทำาเครอื่ งหมาย ✓ ทีช่ ่อง ตอ้ งการพกั การเรียนหลกั สูตร
3. คลิกทีป่ ่มุ Submit
เมอื่ ผู้เรียนเพิกถอนวิชาทีต่ ้องการแล้ว จะปรากฏข้อความแสดงวิชาทีเ่ พิกถอนใน สมุดรายงาน ตาม
รูปที่ 2.15
5.7 ใบประกำศนียบัตร
เมอื่ จบการเรียนในหลกั สูตร ผู้สอนจะทำาการประเมินการสอนให้กบั ผู้เรียน ถ้าผู้เรียนผ่าน
เกณฑ์ทีผ่ ู้สอนกำาหนด วิชาทีผ่ ่านจะปรากฏให้เห็นในหน้า สมุดรายงาน ผู้เรียนสามารถคลิกทีช่ อื่ ของวิชาที่
สำาเร็จการศึกษาเพอื่ เข้าไปดูใบประกาศนียบตั รและสามารถพิมพ์ใบประกาศนียบตั รออกมาทางเครอื่ งพิมพ์ได้
30
รูปที่ 2.15 สมุดรายงานหลงั การเพิกถอนวิชาเรียน
คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน
31
รูปที่ 2.16 สมุดรายงานแสดงวิชาที่เรียนจบ
รูปที่ 2.17ตวั อย่างใบประกาศนียบตั ร
การใช้งานระบบ LearnSquare สําหรับผู้สอน
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
LearnSquare สำหรับผู้สอน
ผู้สอนในระบบ e-Learning นี้อาจมีรูปแบบที่แตกต่างจากการสอนในห้องเรียนจริงอย่างสิ้นเชิง
เนื่องจากเป็นการสอนผ่านระบบเครือข่าย ผู้สอนและผู้เรียนอาจไม่ได้อยู่ในสถานที่และเวลาเดียวกัน ผู้
สอนไม่ต้องเข้าสอนเป็นเวลา รวมทั้งไม่ต้องสอนเนื้อหาซ้ำๆกันหลายครั้ง จึงเป็นการลดภาระของผู้สอน
ลงอย่างมาก ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ในเนื้อหาหลักสูตรด้วย หากเนื้อหาบทเรียนมีความสมบูรณ์
และง่ายต่อการทำความเข้าใจมากพอ ปัญหาหรือคำถามในห้องเรียนเสมือนในระบบ e-Learning ก็จะ
ลดน้อยลงตามไปด้วย ซึ่งแน่นอนว่าการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรออนไลน์จึงอาจมีขั้นตอนยุ่งยากเพิ่ม
ขึ้นและผู้สอนยังต้องอาศัยความชำนาญในการสร้างสื่อออนไลน์ให้มีความน่าสนใจและดึงดูดความ
สนใจให้แก่นักเรียนมากเป็นพิเศษ ผู้สอนในระบบ LearnSquare มีหน้าที่หลักๆ 3 หัวข้อดังนี้คือ
1. สร้าง/พัฒนาหลักสูตร
2. เปิดสอนหลักสูตร
3. บริหารจัดการหลักสูตร
สำหรับเนื้อหาบทเรียนในหลักสูตรนั้นสามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น การสร้างเป็นเว็บเพจ,
สื่อประเภทมัลติมีเดียไม่ว่าจะเป็น flash animation ,ไฟล์วิดีโอ หรือแม้แต่ไฟล์เอกสาร PDF ผู้สอนอาจมี
ความชำนาญในการสร้างสื่อการสอนที่แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ตามมีข้อแนะนำสำหรับการสร้าง
สื่อการสอนในลักษณะออนไลน์ นั่นคือ ควรเป็นสื่อที่เข้าใจง่ายและเหมาะกับระดับของผู้เรียน อีกทั้ง
ขนาดไฟล์ของสื่อการสอนนั้นจะต้องไม่ใหญ่จนเกินไป เพราะอาจทำให้มีปัญหากับการส่งผ่านข้อมูลได้
ซึ่งจะทำให้การนำเสนอทำได้ช้าจนเป็นที่รำคาญกับผู้เรียน
ในระบบ LearnSquare สามารถทำได้ทั้งการสร้างเนื้อหาบทเรียนจากภายในระบบ ในรูปแบบ
ของเอกสารประเภท HTML หรือก็คือในแบบเว็บเพจ และการนำเข้าเนื้อหาบทเรียนซึ่งผู้สอนสร้างจาก
ภายนอกระบบ เช่น ในรูปแบบของ SCORM หรือการสร้างสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ แล้วค่อยนำ
เข้ามาใช้ในระบบต่อไป
33
Note ::
SCORM (Shareable Content Object Reference Model) เป็นมาตรฐานในการผลิตสื่อการ
เรียนการสอนในระบบ e-Learning เพื่อให้สามารถนำมาใช้ซ้ำหรือแลกเปลี่ยนกันได้มากที่สุด
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
1. เมนูของผู้สอน
เมื่อผู้สอน Login เข้าสู่ระบบในบทบาทของผู้สอน/ผู้สร้างหลักสูตรแล้วจะพบกับเมนูซึ่งมีราย
ละเอียดพอสังเขปดังนี้คือ
เมนู รายละเอียดการใช้งาน
จัดการหลักสูตร สำหรับเปิดเรียนออนไลน์ เมื่อหลักสูตร
บทเรียนนั้นเสร็จสมบูรณ์พร้อมเปิดเรียน
ออนไลน์
สร้างหลักสูตร สำหรับสร้างหลักสูตรใหม่ หรือแก้ไข
หลักสูตรเดิมเพื่อปรับปรุงบทเรียนต่างๆ
นำเข้า/ส่งออกหลักสูตร ในกรณีต้องการนำเข้า (import) หลักสูตร
บทเรียนสำเร็จรูปในรูปแบบ SCORM
ไฟล์ หรือนำหลักสูตรที่อยู่ภายในระบบ
ส่งออก (export) หลักสูตรบทเรียนในรูป
แบบ SCORM ไฟล์เช่นเดียวกันเพื่อนำ
ไฟล์ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้งานกับระบบ
อื่นๆ หรือสำรองข้อมูลไว้เพื่อป้องกัน
ความผิดพลาดก็ตาม
ส่งข้อความ สำหรับส่งข้อความถึงผู้ใช้งานที่อยู่ใน
ระบบคล้ายกับระบบ email ภายในระบบ
ตารางนัดหมาย สำหรับประยุกต์ใช้บริหารจัดการ
(organize) กำหนดการส่วนตัว
สมุดบันทึก สำหรับจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ในระบบ
แก้ไขข้อมูลส่วนตัว สำหรับแก้ไขข้อมูลส่วนตัวเช่น เปลี่ยนชื่อ,
รหัสผ่าน เป็นต้น
ออกจากระบบ สำหรับออกจากระบบ
34
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
สำหรับบทบาทหลักของผู้สอนนั้นจะมีอยู่ 2 บทบาทที่สำคัญคือการสร้างหลักสูตรและจัดการ
หลักสูตร กล่าวโดยสรุปคือ ในขั้นตอนแรกบทบาทหลักของผู้สอนคือการสร้างหลักสูตรบทเรียนออนไลน์
ด้วยเมนู “สร้างหลักสูตร” ในระบบก่อน เมื่อหลักสูตรบทเรียนถูกแก้ไขปรับปรุงจนเสร็จสมบูรณ์จึงเปิด
ใช้งาน เพื่อเปิดเรียนออนไลน์ด้วยเมนู “จัดการหลักสูตร” ต่อไป ซึ่งการเปิดเรียนออนไลน์นั้นผู้สอน
สามารถจะเปิดเรียนกี่รุ่น หรือกี่รอบก็สามารถดำเนินการได้ดังรูป หากจะมีการแก้ไข/ปรับปรุงบทเรียน
ซึ่งในระหว่างดำเนินการแก้ไขนั้นก็ควรปิดการใช้งานเพื่อป้องกันให้ผู้เรียนเข้ามาเรียนออนไลน์ใน
ระหว่างบทเรียนกำลังถูกปรับปรุงอยู่
บทบาทหลักของผู้สอนในระบบ
การสร้างหลักสูตรนั้นอาจกล่าวได้ว่าเป็นบทบาทที่สำคัญที่สุดของการได้มาซึ่งเนื้อหาบทเรียน
ซึ่งขึ้นอยู่กับประสบการณ์ในการสร้างสื่อบทเรียนของผู้สอนแต่ละท่าน ซึ่งเนื้อหาบทเรียนดังกล่าวจะดูน่า
สนใจหรือมีเทคนิคการถ่ายทอดดีอย่างไรนั้นจะมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผู้เรียนในการเรียนออนไลน์ประสบ
ความสำเร็จด้วยเช่นกัน แต่การสร้างหลักสูตรผ่านระบบนั้นสามารถจะสร้างใหม่เองโดยการเพิ่มทีละบท
เรียน หรือแบบทดสอบก็สามารถดำเนินการได้ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวอาจต้องใช้เวลาในการแก้ไข
หรือปรับปรุงบทเรียนจนกว่าจะเสร็จสมบูรณ์
ขั้นตอนการสร้างหลักสูตร
35
สร้างหลักสูตร จัดการหลักสูตร
แก้ไข/ปรับปรุง
หลักสูตรบทเรียน
เปิดเรียน
ออนไลน์
เปิดใช้งาน
Login
ปิดใช้งาน
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
การสร้างหลักสูตรอีกวิธีที่ถือเป็นวิธีลัดก็คือนำเข้าเนื้อหาจากภายนอกซึ่งไฟล์หลักสูตรบทเรียน
สำเร็จรูปนั้นถูกบรรจุอยู่ในรูปแบบไฟล์ SCORM ก็สามารถดำเนินการได้จนเปิดเรียนได้ในไม่กี่ขั้นตอน
เช่นเดียวกัน ซึ่งปัจจุบันไฟล์ SCORM มีให้ Download มากมายหรืออาจประยุกต์ใช้แนวทางนี้ในการ
สำรองข้อมูลบทเรียนจากระบบ LearnSquare หนึ่งแล้วมานำเข้าระบบ LearnSquare อีกระบบหนึ่ง
ก็ได้เช่นเดียวกัน
ขั้นตอนการจัดการหลักสูตร
ขั้นตอนที่สำคัญอีกอย่างของระบบก็คือการเรียนออนไลน์ซึ่งเมื่อหลักสูตรถูกสร้างจนเสร็จ
สมบูรณ์แล้วจนเปิดให้มีการเรียนออนไลน์เกิดขึ้น หน้าที่ของผู้สอนซึ่งในห้องเรียนปกติคือการสอนด้วย
ตนเองก็จะถูกเปลี่ยนรูปแบบเป็นการสอนผ่านสื่อมัลติมีเดียออนไลน์ ซึ่งบทบาทหลักของผู้สอนจะไม่ใช่
การสอนเป็นหลักแต่จะเป็นการให้คำปรึกษาหรือคำแนะนำ โดยการศึกษาพฤติกรรมการเรียนผ่าน
ข้อมูลที่ระบบ LearnSquare จัดเก็บข้อมูลการเข้าเรียนของนักเรียนแต่ละคนไว้ให้กับผู้สอนนำไป
วิเคราะห์ประกอบการเรียนตามแนวทางของผู้สอนแต่ละคน ซึ่งหากผู้สอนได้มีการประเมินผลการเรียน
ของผู้เรียนเสร็จสมบูรณ์แล้ว ระบบ LearnSquare จะดำเนินการสร้างใบประกาศนียบัตรออนไลน์
อัตโนมัติไปยังผู้เรียนซึ่งแสดงได้ว่าผู้เรียนนั้นจบหลักสูตรออนไลน์อย่างสมบูรณ์
36
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
2. การสร้างหลักสูตรใหม่
การสร้างหลักสูตรผ่านระบบ LearnSquare สามารถทำได้ตามขั้นตอนอย่างง่ายดังนี้
1. คลิกเมนูหลัก “สร้างหลักสูตร”
2. คลิกปุ่ม เพื่อสร้างหลักสูตรใหม่
3. เลือกกลุ่มวิชา ซึ่งค่าเริ่มต้นของระบบมีทั้งหมด 8 กลุ่มวิชาได้แก่ กลุ่มภาษาไทย กลุ่ม
คณิตศาสตร์ กลุ่มวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ซึ่งกลุ่มวิชาดังกล่าวหากต้องการเพิ่มกลุ่มวิชาต้องให้ผู้
ดูแลระบบเป็นผู้ดำเนินการก่อน
4. กรอกข้อมูลรหัสวิชา, ชื่อหลักสูตร และเนื้อหาวิชา (จำเป็นต้องกรอกให้ครบ)
37
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
5. กรอกข้อมูลรายละเอียดอื่นๆ เกี่ยวกับรายวิชา เพื่อความชัดเจนและเหมาะสมกับผู้เรียน
ได้แก่ วัตถุประสงค์, คุณสมบัติผู้เข้าอบรม, เอกสารอ้างอิง และจำนวนหน่วยกิต (เครดิต) ของ
วิชา
ในกรณีสร้างหลักสูตรบทเรียนใหม่ให้ข้ามไปยังขั้นตอนที่ 10
6. คลิกเลือก “ใช้งานห้องสนทนา” เพื่ออนุญาตให้หลักสูตรออนไลน์มีห้องสนทนาออนไลน์ซึ่ง
เปิดโอกาสให้ผู้ใช้งานระบบทุกคนเข้ามาร่วมสนทนาในห้องเรียนออนไลน์ได้
7. คลิกเลือก “อนุญาต เฉพาะสมาชิกให้ใช้งานห้องสนทนาได้” เพื่ออนุญาตให้เฉพาะผู้
เรียนที่สมัครเรียนหลักสูตรออนไลน์นี้เท่านั้นที่สามารถเข้ามาร่วมสนทนาในห้องเรียนออนไลน์
ได้
8. คลิกเลือก "เรียนได้ตลอดเวลา" เมื่อต้องการให้วิชานี้สามารถเรียนได้แม้ไม่ได้ลงทะเบียน
เรียน หากไม่คลิกเลือก จะเป็นการเปิดเรียนตลอดเวลา นักเรียนไม่จำเป็นต้องลงทะเบียนก็
สามารถเรียนได้
9. คลิกเลือก "เปิดใช้งาน" ในกรณีที่หลักสูตรที่ได้สร้าง/แก้ไขบทเรียนเสร็จสมบูรณ์จนพร้อม
เปิดเรียนออนไลน์แล้ว (ในกรณีเพิ่งเริ่มสร้างหลักสูตร ยังไม่ต้องคลิกเลือก)
10. คลิกปุ่ม "สร้างหลักสูตร"
38
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
3. การเพิ่มบทเรียน
3.1 การเพิ่มบทเรียนแรก
หลังจากสร้างรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรแล้ว ให้ทำการเพิ่มบทเรียนลงในหลักสูตร
นั้น สำหรับในหัวข้อนี้ บทเรียนที่เพิ่มลงในหลักสูตร จะทำการสร้างขึ้นใหม่จากภายในระบบเอง โดยทำ
ตามขั้นตอน ดังนี้
39
1
2
3
4
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
1. เลือกบทเรียนแล้วคลิกปุ่ม "เพิ่ม”
2. กรอกชื่อบทเรียน, เนื้อหาย่อ และระยะเวลาในการเรียนให้เรียบร้อย
3. ในช่องไฟล์บทเรียน ระบบจะเตรียมสร้างไฟล์ HTML อัตโนมัติขึ้นมา เพื่อให้ผู้สอนสร้างบท
เรียนลงใน HTML ไฟล์นี้ได้เลย
4. คลิกปุ่ม "เพิ่มบทเรียน”
3.2 การแทรกบทเรียนเพิ่มเติม
หลังจากสร้างบทเรียนแรกไปแล้ว หากต้องการเพิ่มบทเรียนอื่นๆอีก ทำได้โดย
1. วางเมาส์ที่ชื่อของบทเรียนล่าสุดที่ต้องการจะเพิ่มหรือแทรกบทเรียนใหม่ต่อท้าย จะปรากฏ
เมนูการทำงาน คลิกเลือกเมนูย่อย "เพิ่มบทเรียน"
2. จะปรากฏกรอบสำหรับเพิ่มบทเรียน ให้กรอกรายละเอียดต่างๆ
3. คลิกปุ่ม "เพิ่มบทเรียน" ระบบจะทำการเพิ่มบทเรียนใหม่ให้ทันที
40
1
2
3
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
4. การแก้ไขชื่อบทเรียน
บทเรียนที่ได้มีการสร้างไปแล้วนั้น หากต้องการแก้ไขชื่อหรือรายละเอียดทั่วไปของบทเรียน
สามารถทำได้ดังนี้
1. วางเมาส์ที่ชื่อของบทเรียนที่ต้องการแก้ไข จะปรากฏเมนูการทำงาน คลิกเลือกเมนูย่อย
"แก้ไขชื่อบทเรียน"
2. จะปรากฏกรอบสำหรับแก้ไข ให้แก้ไขรายละเอียดที่ต้องการ
3. คลิกปุ่ม "แก้ไขบทเรียน" ระบบจะทำการบันทึกข้อมูลใหม่ลงไป
5. การสร้างและแก้ไขเนื้อหาบทเรียน
ระบบ LearnSquare มีการเตรียมเครื่องมือสำหรับสร้างบทเรียนจากภายในระบบให้ด้วย ผู้สอน
สามารถสร้างและแก้ไขบทเรียนได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเข้าจากภายนอกระบบ ตามวิธีการดังนี้
41
1
2
1 2
3
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
1. วางเมาส์ที่ชื่อของบทเรียน จะปรากฎเมนูการทำงาน เลือก "สร้าง/แก้ไขบทเรียน"
2. จะปรากฏหน้าต่าง HTML Editor สำหรับสร้างและแก้ไขบทเรียนขึ้นมา โดยมีเครื่องมือพื้น
ฐานในการทำงานพร้อมทั้งเครื่องมือสำหรับตกแต่งอื่นๆ ดังนี้
3. พิมพ์เนื้อหาบทเรียน, แทรกรูป และตกแต่งเพิ่มเติมลงไป
4. คลิกปุ่ม Save
Undo/Redo หัวข้อย่อย/Bullet
สร้าง/ยกเลิกการเชื่อมโยง การแทรกรูปภาพ
แทรกสื่อ Flash Animation ขีดเส้นบรรทัด
ล้างรูปแบบ HTML เปลี่ยนรูปแบบอักษร
ปรับตำแหน่งข้อความ จัดการย่อหน้า
ปรับแต่สีตัวอักษร ตัวยก/ตัวห้อย
ชุดปรับแต่งตัวอักษร ปรับแต่งตาราง
แทรกสมการคณิตศาสตร์ แทรกตัวแบ่งหน้าการแสดงผล
แทรกไฟล์วิดีโอ แทรกลิงค์วิดีโอจาก YouTube
42
3
4
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
การแทรกสื่ออาทิเช่น ภาพ แฟลชไฟล์ หรือวิดีโอเป็นต้น ผู้สอนต้องทำการ upload ไฟล์สื่อดัง
กล่าวจากเครื่องที่ใช้งานไปยังระบบก่อน โดยการ upload ไฟล์จะดำเนินการผ่าน File Manager ดังนี้
1. เลือกไฟล์ที่ต้องการ upload เข้าสู่ระบบ
2. คลิก “Upload”
3. เมื่อขั้นตอนการ upload เสร็จสิ้น ระบบจะแสดงชื่อไฟล์ดังกล่าว ให้คลิกเลือกไฟล์
4. คลิก OK เพื่อจบขั้นตอนการแทรกไฟล์สื่อ
นอกจากการสร้างเนื้อหาวิชาโดยใช้เครื่องมือตกแต่งใน HTML Editor แล้ว ยังสามารถเขียน
หรือแก้ไข source code ด้วยตนเองได้ด้วย โดยคลิกเลือก แท็บ “HTML” ซึ่งจะ
ปรากฏอยู่บริเวณมุมล่างด้านขวามือของ HTML Editor สำหรับ source code นี้ เป็นภาษา HTML
นั่นเอง หากผู้สอนมีความรู้ในภาษานี้ สามารถดัดแปลงแก้ไข source code ได้เลย
43
1
2
4
3
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
6. การนำเข้าบทเรียนจากภายนอกระบบ
กรณีมีเนื้อหาบทเรียนซึ่งได้สร้างจากซอฟต์แวร์ภายนอกระบบไว้แล้วอาทิเช่น ไฟล์ html, pdf,
ppt, wmv, swf เป็นต้น สามารถ upload เข้ามาประยุกต์ใช้กับบทเรียนได้โดยไฟล์ดังกล่าวผู้สอนควร
คำนึงความเข้ากันได้กับการแสดงผลกับผู้เรียนที่เหมาะสมด้วย โดยระบบสามารถรองรับเนื้อหาในหลาย
รูปแบบ ได้แก่ เนื้อหาในรูปแบบเว็บเพจ (HTML), เอกสาร PDF, ไฟล์มัลติมีเดียประเภท Flash
Animation สำหรับการนำเข้ามาใช้ในระบบ มีวิธีการดังนึ้
6.1 การจัดการไฟล์
1. คลิกแท็บ "จัดการไฟล์"
2. คลิกปุ่ม "Browse...” เพื่อเลือกไฟล์ที่ต้องการนำมาใช้ (สามารถเลือก Upload ได้สูงสุด 10
ไฟล์ต่อการ Upload หนึ่งครั้ง) หรือในกรณีที่ต้องการ Upload ไฟล์จำนวนมาก ผู้สอน
สามารถเตรียมไฟล์ทั้งหมดโดยการบีบอัดในรูปแบบ zip files เมื่อ Upload ไฟล์ดังกล่าว
เสร็จสิ้น ระบบจะทำการแตกไฟล์ zip ดังกล่าวในระบบโดยอัตโนมัติ ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้
ประหยัดเวลาในการเลือกไฟล์จำนวนมากได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. คลิกปุ่ม “Upload”
4. ไฟล์ที่ถูก Upload เข้าสู่ระบบแล้วจะแสดงให้เห็นในส่วนนี้ หากต้องการลบไฟล์ใดออกจาก
ฐานข้อมูลของระบบ ให้คลิกเลือกไฟล์นั้นแล้วคลิกเลือกไฟล์ก่อนแล้วจึงคลิกปุ่ม "Delete”
44
Note ::
หากต้องการสร้างโฟลเดอร์ใหม่ ให้กรอกชื่อโฟลเดอร์ที่ช่อง New Folder แล้วคลิกปุ่ม
Create และถ้าต้องการ upload ไฟล์เข้าไปในโฟลเดอร์นี้ อย่าลืมว่าจะต้องคลิกเลือกโฟลเดอร์
เสียก่อน
1
2
3
4
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
6.2 การเพิ่มไฟล์จากภายนอกเข้าไปในบทเรียน
เมื่อ upload ข้อมูลเข้ามาเก็บไว้แล้ว ต่อไปเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลเหล่านั้นเข้ากับบท
เรียนที่สร้างขึ้นที่แท็บ “บทเรียน” โดย
1. เพิ่มบทเรียนใหม่ (ตามหัวข้อที่ 3. การเพิ่มบทเรียน)
2. กรอกชื่อบทเรียน, เนื้อหาย่อ และระยะเวลาในการเรียนให้เรียบร้อย
3. ในส่วนไฟล์บทเรียน ให้เลือกไฟล์ที่ต้องการจากรายชื่อไฟล์ทั้งหมด (รายชื่อไฟล์ทั้งหมดเหล่า
นี้คือไฟล์ที่ได้ upload ไว้ และระบบสามารถอ่านได้)
4. คลิกปุ่ม "เพิ่มบทเรียน"
45
Note ::
ตัวอย่างการใช้ไฟล์ประเภทเอกสาร PDF เป็นบทเรียน โดยเมื่อ Upload เอกสาร PDF
เข้ามาในระบบแล้ว ให้คลิกเลือกเอกสารนั้นจากช่องไฟล์บทเรียน ผลที่ได้เมื่อแสดงเนื้อหา
เป็นดังนี้
4
3
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน
7. การแสดงเนื้อหาบทเรียน
เมื่อสร้างบทเรียนไปแล้วหากต้องการแสดงบทเรียนเหล่านั้นเพื่อตรวจสอบหรือทดลองเรียน
สามารถทำได้โดย
1. วางเมาส์ที่ชื่อของบทเรียน จะปรากฏเมนูการทำงาน เลือก "แสดงเนื้อหา"
2. จะปรากฏหน้าจอแสดงเนื้อหาในบทเรียนนั้นซึ่งจะอยู่ในแท็บสารบัญ
46
2
1
Note ::
คุณสามารถเลื่อนสลับลำดับของบทเรียนได้โดยเลือกเมนู “เลื่อนขึ้น” หรือ “เลื่อนลง”
และสามารถสลับให้บทเรียนนั้นเป็นบทเรียนย่อยหรือบทเรียนหลักได้ โดยเลือกเมนู
“เลื่อนไปทางขวา” หรือ “เลื่อนไปทางซ้าย”
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare

More Related Content

What's hot

การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้jamrat
 
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆกิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆwariety
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลssuserea9dad1
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6Suwakhon Phus
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...ศรัณยวัฒน์ พลเรียงโพน
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5jamrat
 
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltvPrachoom Rangkasikorn
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์Chanya Sangsuwanlert
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Soldic Kalayanee
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Chanya Sangsuwanlert
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บLUKNONGLUK
 

What's hot (19)

การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอนแบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
 
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆกิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
กิจกรรมที่ 2 องค์ความรู้ในด้านต่างๆ
 
แผนนิเทศdlit
แผนนิเทศdlitแผนนิเทศdlit
แผนนิเทศdlit
 
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัลการจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
การจัดการเรียนรู้ทางออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพในยุคดิจิทัล
 
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหารแบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
การพัฒนาซอฟต์แวร์ทางการศึกษาตามรูปแบบ ADDIE บทที่ 5 การพัฒนา(Development)มหาว...
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5
 
1
11
1
 
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
 
Ch7 cai
Ch7 caiCh7 cai
Ch7 cai
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
ความหมายและความสำคัญของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
( Course syllabus) คอมฯม.4
( Course  syllabus) คอมฯม.4( Course  syllabus) คอมฯม.4
( Course syllabus) คอมฯม.4
 

Similar to คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare

สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6Tanatchapan Jakmanee
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2btusek53
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2parnee
 
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาการนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาbtusek53
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานdarkfoce
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8teannantika
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshoprubtumproject.com
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Rattana Wongphu-nga
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานnam pedpuai
 

Similar to คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare (20)

Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6สื่อการสอนม.6
สื่อการสอนม.6
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
 
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาการนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Pp social
Pp socialPp social
Pp social
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ ใบงานที่ 2-8
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 

More from NECTEC, NSTDA

ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงานประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงานNECTEC, NSTDA
 
Iso50001 (Energy Management System
Iso50001 (Energy Management SystemIso50001 (Energy Management System
Iso50001 (Energy Management SystemNECTEC, NSTDA
 
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001NECTEC, NSTDA
 
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์NECTEC, NSTDA
 
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmapคู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology RoadmapNECTEC, NSTDA
 
Toward the NECTEC e-Learning Roadmap
Toward the NECTEC e-Learning RoadmapToward the NECTEC e-Learning Roadmap
Toward the NECTEC e-Learning RoadmapNECTEC, NSTDA
 
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์NECTEC, NSTDA
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-LearningNECTEC, NSTDA
 
Sharable Content Object Reference Model
Sharable Content Object Reference ModelSharable Content Object Reference Model
Sharable Content Object Reference ModelNECTEC, NSTDA
 
แนะนำ Reload Editor
แนะนำ Reload Editorแนะนำ Reload Editor
แนะนำ Reload EditorNECTEC, NSTDA
 
LearnSquare Workshop
LearnSquare WorkshopLearnSquare Workshop
LearnSquare WorkshopNECTEC, NSTDA
 
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กรมาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กรNECTEC, NSTDA
 
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final versionการเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final versionNECTEC, NSTDA
 

More from NECTEC, NSTDA (14)

ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงานประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
ประกาศกระทรวงพลังงาน ที่เกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
 
Iso50001 (Energy Management System
Iso50001 (Energy Management SystemIso50001 (Energy Management System
Iso50001 (Energy Management System
 
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
ระบบมาตรฐานการจัดการพลังงาน ISO50001
 
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
แนวทางการพัฒนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์
 
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmapคู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
คู่มือแนะนำวิธีการอ่าน e-Learning Technology Roadmap
 
Toward the NECTEC e-Learning Roadmap
Toward the NECTEC e-Learning RoadmapToward the NECTEC e-Learning Roadmap
Toward the NECTEC e-Learning Roadmap
 
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
แนะนำสื่อการสอนภาษาถิ่นในรูปแบบออนไลน์
 
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learningงานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
งานวิจัยและพัฒนาด้านการเรียนออนไลน์ e-Learning
 
Sharable Content Object Reference Model
Sharable Content Object Reference ModelSharable Content Object Reference Model
Sharable Content Object Reference Model
 
แนะนำ Reload Editor
แนะนำ Reload Editorแนะนำ Reload Editor
แนะนำ Reload Editor
 
LearnSquare Workshop
LearnSquare WorkshopLearnSquare Workshop
LearnSquare Workshop
 
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กรมาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
มาตรฐานสีเขียวเพื่อองค์กร
 
Ln2 v4 show
Ln2 v4 showLn2 v4 show
Ln2 v4 show
 
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final versionการเขียนข้อเสนอโครงงาน   น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
การเขียนข้อเสนอโครงงาน น่าน 26-27 มกราคม 2555 - final version
 

คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare

  • 1.
  • 2. สารบัญ หน้าที่ บทนำ 1 1. e-Learning คืออะไร 1 2. ประโยชน์ของ e-Learning 2 3. ระบบ LearnSquare คืออะไร 3 4. ส่วนประกอบของระบบ LearnSquare 3 5. ขั้นตอนการเรียนด้วยระบบ LearnSquare 4 6. สรุป 5 คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare สำหรับผู้เรียน 6 1. หน้าจอหลัก 7 2. การสมัครสมาชิก 8 3. การ Login เข้าใช้ระบบ 9 4. เมนูผู้เรียน 9 4.1 สมุดรายงาน 10 4.2 ส่งข้อความ 10 4.3 ตารางนัดหมาย 13 4.4 สมุดบันทึก 15 4.5 การแก้ไขข้อมูลส่วนตัว 18 4.6 ออกจากระบบ 19 5. การเรียน 19 5.1 องค์ประกอบของหลักสูตร 19 5.2 การลงทะเบียนเรียน 21 5.3 การเข้าเรียน 22 5.4 การสอบ 23 5.5 การใช้อุปกรณ์สนับสนุนการเรียน 25 5.6 การเพิกถอนวิชา 29 5.7 ใบประกาศนียบัตร 30 คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare สำหรับผู้สอน 32 1. เมนูของผู้สอน 34 2. การสร้างหลักสูตรใหม่ 37 3. การเพิ่มบทเรียน 39 3.1 การเพิ่มบทเรียนแรก 39 3.2 การแทรกบทเรียนเพิ่มเติม 40
  • 3. 4. การแก้ไขชื่อบทเรียน 41 5. การสร้างและแก้ไขเนื้อหาบทเรียน 41 6. การนำเข้าบทเรียนจากภายนอกระบบ 44 6.1 การจัดการไฟล์ 44 6.2 การเพิ่มไฟล์จากภายนอกเข้าไปในบทเรียน 45 7. การแสดงเนื้อหาบทเรียน 46 8. การลบบทเรียน 47 9. การสร้างแบบทดสอบ 47 9.1 การสร้างข้อสอบในระบบ LearnSquare 48 9.2 สร้างข้อสอบ 49 9.2.1 การสร้างข้อสอบ “ปรนัย” 50 9.2.2 การสร้างข้อสอบ “เติมคำ” 52 9.2.3 การสร้างข้อสอบ “คำถามหลายคำถาม” 55 9.3 สร้างชุดแบบทดสอบ 58 9.4 การแก้ไข/ปรับปรุงชุดแบบทดสอบ 61 9.5 นำเข้าชุดแบบทดสอบ 62 10.การเปิดหลักสูตร 64 11.การจัดการหลักสูตร 67 12.การประเมินผลผู้เรียนและการออกใบประกาศนียบัตร 71 13.นำเข้า/ส่งออกหลักสูตร 73 13.1 การนำเข้าหลักสูตร 73 13.2 การนำเข้าหลักสูตรจากคลังบทเรียนออนไลน์ 76 13.3 ส่งออกหลักสูตร 77 คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare สำหรับผู้ดูแลระบบ 78 1. การเข้าใช้งาน 80 2. จัดการระบบ 82 2.1 Site Setting 82 2.2 Blocks 84 2.3 Forums 86 2.4 Private Messages 86 2.5 ห้องสนทนา 87 2.6 Module 87 2.7 Tophit 89 2.8 RSS 89 2.9 News 89 2.10 Backup_Update 90
  • 4. 3. จัดการผู้ใช้ระบบ 93 3.1 Group 93 3.2 User Administration 94 3.3 Permissions 101 3.4 Logging 102 4. บริหารหลักสูตร 104 4.1 Schools 104 4.2 Courses 106 4.3 SCORM 106 4.4 Repository 108 คู่มือการติดตั้งระบบ LearnSquare 109 1. รู้จักกับ PHP 110 2. การปรับแต่ง PHP 111 3. การปรับแต่งฐานข้อมูล MySQL 112 4. การติดตั้งระบบผ่าน Browser 115
  • 5. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา บทนำำ ในยคุ ของสงั คมเศรษฐกิจฐานความรู้ การนำาเทคโนโลยีสารสนเทศโดยเฉพาะอย่างยงิ่ เทคโนโลยีที่ เกีย่ วข้องกบั เครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการเพมิ่ ประสิทธิภาพของการจดั การข้อมูลและเวลาน้นั เป็นสงิ่ ทีจ่ ำาเป็น ในยคุ ต้นๆของการประยกุ ต์ใช้งาน มีการนำาระบบการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เข้ามาใช้ ในการแลกเปลีย่ นข้อมูล มีการนำาเทคโนโลยีทีเ่ กีย่ วกบั เว็บ มาเพอื่ เพมิ่ ทางเลือกในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร เทคโนโลยีเหล่านี้ได้มีการพฒั นาอย่างต่อเนอื่ งเพอื่ ทำาให้เป็นอีกทางเลือกหนงึ่ ในการติดต่อระหว่างกนั เช่น ระหว่างผู้ผลิตกบั ผู้ใช้ ผู้ให้บริการกบั ผู้รบั บริการ ตวั อย่างการประยกุ ต์ใช้งาน ได้แก่ e-commere e-banking และ e-service ในภาคเอกชน หรือในรูปของ e-government ในภาครฐั บาลเป็นต้น ในด้านการศึกษา ได้มีการนำาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้คร้งั แรก ในช่วง คศ. 1950 ในยคุ แรกๆ จะเป็นการใช้งานในรูปของการช่วยให้ผู้สอนท้งั ในรูปของการช่วยสอน (Computer Assisted Instruction [CAI] ) และในรูปของการจดั การข้อมูลต่างๆทีเ่ กีย่ วกบั การเรียนการสอน ต่อมาได้มีการจดั ทำาเอกสารในรูป สอื่ ต่างๆ เช่น CD VCD และ DVD เพอื่ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้โดยไม่จำากดั เวลาและสถานที่ แต่อย่างไร ก็ตามการเรียนวิธีนี้ ผู้เรียนกบั ผู้สอนยงั ไม่มีการปฎิสมั พนั ธ์กนั เมอื่ เทคโนโลยีเกีย่ วกบั เครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีการพฒั นาเพมิ่ ขี้น จึงได้มีการนำาเทคโนโลยีทางด้านนี้มาประยกุ ต์เพอื่ สนบั สนนุ แนวคิดเกีย่ วกบั การเรียนรู้ โดยไม่จำากดั เวลาและสถานที่ โดยทีผ่ ู้เรียนและผู้สอนมีการปฏิสมั พนั ธ์กนั ท้งั ในเวลาเดียวกนั และต่างเวลากนั ขณะเดียวกนั ก็รองรบั การจดั การข้อมูลต่างๆทีเ่ กีย่ วกบั การเรียนการสอนด้วย เช่น ผู้เรียน, หลกั สูตร เป็นต้น การพฒั นาระบบสนบั สนนุ เพอื่ ใช้ในด้านการศึกษานี้ จึงเป็นทีม่ าของการเรียนรู้ในรูปแบบของ e-Learning 1. e-Learning คืออะไร e-Learning มาจากการรวมกนั ของ Electronic กบั Learning เป็นการนำาอปุ กรณ์, เทคนิคทีเ่ กีย่ ว กบั การจดั การข้อมูลเข้ามาประยกุ ต์ใช้ในการเรียนรู้ ทำาให้เกิดการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ๆ e-learning เป็นคำาที่ มีความหมายกว้าง มีนกั วิชาการหลายกลุ่มได้นิยาม คำาจำากดั ความของ e-learning ไว้ต่างๆกนั ดงั นี้ “e-learning is a means of becoming literate involving new mechanisms for communication: computer networks, multimedia, content portals, search engines, electronic libraries, distance learning and Web-enabled classrooms. E-learning is characterized by speed, technological transformation and mediated human interaction. ” by Peter J. Stokes: executive vice president of eduventures.com หรือ "e-learning คือการเรียนเนื้อหา หรือสารสนเทศสำาหรบั การสอนหรือการอบรมซงึ่ ใช้การนำาเสนอ ด้วยตวั อกั ษร ภาพนงิ่ ผสมผสานกบั การใช้ภาพเคลอื่ นไหว วิดีทศั น์และเสียง โดยอาศยั เทคโนโลยี ของเว็บ ในการถ่ายทอดเนื้อหา รวมท้งั ใช้เทคโนโลยีการจดั การคอร์สในการบริหารจดั การงานสอน ต่างๆ" โดย ผศ. ดร. ถนอมพร เลาหจรสั แสง 1
  • 6. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา การเรียนแบบ e-Learning ทีจ่ ะกล่าวถึงในระบบ LearnSquare เป็นการเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์ และระบบเครือข่ายเป็นสอื่ กลาง มีการติดต่อเกีย่ วข้องกนั ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ซงึ่ เนื้อหาบทเรียนน้นั ถูก กำาหนดจากจดุ ประสงค์ของการเรียนรู้โดยผู้สอนผ่านทางสอื่ ต่างๆมีท้งั ข้อความ ภาพ เสียง ซงึ่ ระบบมีการ ออกแบบเพอื่ สนนั สนนุ ให้ผู้เรียนสามารถเรียนตามความสนใจท้งั ทางตรงและทางอ้อม นอกจากนี้ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ร่วมกบั ผู้ทีเ่ กีย่ วข้องในการเรียนได้ และมีระบบการจดั การต่างๆเกีย่ วกบั ข้อมูลสำาหรบั การเรียน การสอน e-Learning เป็นการเรียนการสอนทีม่ ีลกั ษณะคล้ายกบั ระบบการเรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์แบบ อนื่ ๆ เช่น Computer Assisted Instruction, Computer Based Training และ Web Based Learning เป็นต้น Computer Assisted Instruction (CAI) หรือ Computer Based Training (CBT) แตกต่างจาก e-Learning เนอื่ งจาก CAI และ CBT เป็นการเก็บสอื่ การสอนและแบบฝึกหดั อยู่ในรูปแบบของแผ่น ดิสก์หรือแผ่นซีดี ผู้เรียนสามารถเข้าถึงบทเรียนทีม่ ี โดยไม่มีการปฎิสมั พนั ธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน CAI หรือ CBT โดยทว่ั ไปถูกใช้เป็นการเรียนเสริมการสอนในระบบปกติ ในอีกทางหนงึ่ e-Learning มีลกั ษณะคล้ายกบั Web Based Learning คือมีการรบั เนื้อหาการเรียน ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเหมือนกนั แต่ e-Learning มีการเก็บข้อมูลของผู้ใช้ระบบ ติดตามการใช้งาน และการเรียนของผู้เรียนแต่ละคน ซงึ่ ใน Web Based Learning ไม่มีการจดจำาผู้เข้าเรียน เป็นเพียงการนำา เสนอเนื้อหาผ่านทาง Web Browser เท่าน้นั ในระบบ Learnsquare ระบบสามารถจดั การกบั ข้อมูลต่างๆเกีย่ วกบั การเรียนการสอนตามความ หมายของ e-learning ระบบสามารถเก็บข้อมูลเกีย่ วกบั ผู้เรียนทีผ่ ู้สอนต้องการทราบ เช่น รายชอื่ ของผู้ทีล่ ง ทะเบียนเรียนวิชาหนงึ่ จำานวนคร้งั ในการเข้าสู่ระบบเพอื่ เรียนเนื้อหาวิชาส่วนต่าง ๆ คะแนนทีไ่ ด้จากการสอบ แต่ละคร้งั เป็นต้น นอกจากนี้ ยงั มีการจดั การข้อมูลอนื่ ๆ เกีย่ วกบั ผู้ใช้ และมีสงิ่ อำานวยความสะดวกเพอื่ ให้ การเรียนบนระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ ระบบยงั สามารถจดั การสอบผ่านทางเครือข่าย เมอื่ ผู้เรียน ทำาข้อสอบเสร็จแล้ว ระบบสามารถตรวจคำาตอบและรายงานผลคะแนนได้ทนั ที 2. ประโยชน์ของ e-Learning เนอื่ งจาก e-Learning เป็นการจดั การเรียนการสอนทีอ่ ยู่บนเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำาให้ลดปัญหาที่ เกิดขึ้นในการเรียนระบบปกติได้ โดยลกั ษณะทีเ่ ป็นข้อได้เปรียบของระบบมีอยู่ 2 ประการสำาคญั คือ • ประการทีห่ นงึ่ การเรียนทาง e-Learning ไม่ต้องมีสถานทีใ่ ห้ผู้เรียนและผู้สอนมาพบปะกนั ทำา ให้เกิดผลดีคือ 1. ประหยดั เวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง เนอื่ งจากผู้เรียนและผู้สอนไม่ต้องเดินทาง เพอื่ มาอยู่ในทีเ่ ดียวกนั อยู่ 2. ผู้เรียนและผู้สอนสามารถเลือกสถานทีเ่ รียนและทำางานได้ด้วยตวั เอง 2
  • 7. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา 3. มีความเป็นตวั เองสูง ความเขินอายลดน้อยลง ส่งผลทำาให้ผู้เรียนกล้าออกความคิดเห็น และซกั ถามเพมิ่ มากขึ้นด้วย 4. สามารถรบั จำานวนผู้เรียนในระบบได้ไม่จำากดั เนอื่ งจากเป็นการเรียนผ่านทางเครือข่าย คอมพิวเตอร์ จึงไม่มีข้อจำากดั เกีย่ วกบั สถานที่ • ประการทีส่ อง สอื่ การสอนและเนื้อหาบทเรียนถูกเก็บไว้ในระบบ ทำาให้มีข้อดี คือ 1. มีความสะดวกสบาย ผู้เรียนสามารถเข้ามาเรียนไหร่ก็ได้ จึงไม่จำาเป็นต้องงดเว้นภารกิจ อนื่ 2. เนื้อหาการเรียนเป็นมาตรฐานเดียวกนั 3. ระบบ LearnSquare คืออะไร LearnSquare เป็นโปรแกรมทีเ่ ปิดเผยรหสั การทำางาน(Open Source Software) ทีพ่ ฒั นาโดย โปรแกรมเมอร์คนไทย ทำางานเพอื่ การจดั การการเรียนการสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต กล่าวคือ LearnSquare เป็นระบบการจดั การ e-Learning นน่ั เอง เนอื่ งจาก LearnSquare เป็นโปรแกรมทีเ่ ปิดเผย Source Code แบบ GNU General Public License (GNU GPL) ผู้ทีส่ นใจสามารถนำาไปใช้งานได้โดยไม่ต้องซื้อ และยงั สามารถดดั แปลง แก้ไขรหสั การทำางานของระบบให้เป็นไปตามทีต่ ้องการเองด้วย 4. ส่วนประกอบของระบบ LearnSquare ระบบ LearnSquare สามารถแบ่งการทำางานออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ ๆ นน่ั คือ การจดั การผู้ใช้ การ จดั การเกีย่ วกบั หลกั สูตร และ ระบบสนบั สนนุ การเรียน 1. การจดั การผู้ใช้ ระบบ LearnSquare ได้แบ่งกลุ่มผู้ใช้หลกั เป็น 4 กลุ่ม นน่ั คือ ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ ดูแลระบบ และผู้ช่วยสอน • ผเู้ รียน ทำาหน้าทีเ่ ข้าเรียน ซงึ่ ต้องลงทะเบียนเรียน เข้าเรียน และเข้าสอบตามวนั ที่ กำาหนด • ผสู้ อน ทำาหน้าที่สร้างหลกั สูตรการสอน กำาหนดช่วงเวลาเรียนของวิชาทีส่ ร้างขึ้น เป็นผู้ สอนวิชาต่าง ๆ และในวิชาทีเ่ ป็นผู้สอนจะเป็นผู้ตดั สินว่าผู้เรียนคนใดสอบผ่าน • ผดู้ ูแลระบบ ทำาหน้าที่เพมิ่ บญั ชีผู้ใช้ จดั การต้งั ค่าและรูปแบบต่าง ๆ ของระบบ และมี ความสามารถสร้างหลกั สูตรการสอน และกำาหนดช่วงเวลาเปิดเรียนของวิชาได้เหมือน กบั ผู้สอน แต่ไม่สามารถเป็นผู้สอนได้ • ผชู้ ่วยสอน ทำาหน้าทีเ่ ข้ามาในระบบเพอื่ ให้ความช่วยเหลือผู้สอน เช่น อาจตอบคำาถาม ทีผ่ ู้เรียนสงสยั ได้ หรือเป็นทีป่ รึกษาของผู้เรียน เป็นต้น สำาหรบั ลกั ษณะการใช้งาน ระบบทีไ่ ม่ต้องการผู้ช่วยสอน ก็ไม่จำาเป็นต้องมีผู้ใช้ในกลุ่มนี้ได้ 3
  • 8. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา 2. การจดั การหลกั สูตร ระบบจะแบ่งวิชาทีเ่ ปิดสอนออกเป็นกลุ่มของวิชา (Schools) มีผู้สอนและผู้ ดูแลระบบเป็นผู้สร้างหลกั สูตร โดยเนื้อหาการสอน และข้อสอบของแต่ละวิชาจะถูกเก็บไว้ใน ระบบ สร้างหลกั สูตรและกำาหนดช่วงเวลาเรียนของวิชาน้นั ผู้เรียนจะเข้ามาลงทะเบียนและเข้า เรียนได้ 3. ระบบสนบั สนนุ การเรียน ได้แก่ หอ้ งสนทนา กระดานข่าว การรบั -ส่งขอ้ ความ สมุดบนั ทึก และ ตารางนดั หมาย • หอ้ งสนทนา มีลกั ษณะเป็นการคยุ กนั ระหว่างผู้เรียนวิชาหนงึ่ ทีก่ ำาลงั online ขณะน้นั • กระดานข่าว ทำาให้ผู้เรียนสามารถทิ้งข้อความหรือประกาศไว้ ซงึ่ ทกุ คนสามารถเข้าไปดู ข้อความของวิชาทีเ่ รียนได้ • รบั -ส่งขอ้ ความ เป็นการส่งจดหมายอิเลคทรอนิกส์ (e-mail) ระหว่างผู้ใช้ระบบ • สมุดบนั ทึก ผู้ใช้สามารถทำาการจดบนั ทึกข้อความเก็บในแฟ้มและสามารถจดั ข้อความให้ เป็นหมวดหมู่ได้ตามทีต่ ้องการ • ตารางนดั หมาย เป็นส่วนทีร่ ะบบให้ผู้ใช้ได้จดั การนดั หมายต่าง ๆ ได้ด้วยตวั เอง 5. ขั้นตอนกำรเรียนด้วยระบบ LearnSquare ด้วยคณุ สมบตั ิและความสามารถของ LearnSquare ทำาให้การเรียนการสอนบนระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ดำาเนินไปได้คล้ายกบั ระบบการเรียนการสอนแบบปกติ ในรายละเอียดของแต่ละลำาดบั ข้นั จะมี ความแตกต่างกนั อยู่บ้าง การเรียนการสอนปกติในวิชาหนงึ่ เรมิ่ ต้นด้วยการเปิดสอนวิชาน้นั ก่อนการสอนผู้ สอนต้องเตรียมการสอนและสอื่ การสอนสำาหรบั การสอนแต่ละคร้งั เมอื่ ถึงวนั เข้าเรียน ผู้สอนจะต้องเข้าสอน หน้าห้องเรียน เมอื่ มีการทดสอบ ก็ต้องตรวจให้คะแนนสลบั กบั การเข้าสอนไปจนจบหลกั สูตร ถ้าต้องการ เปิดสอนวิชานี้อีกคร้งั การทำางานจะเป็นขบวนการเดิม และผู้สอนยงั คงต้องเข้าสอนอยู่ทกุ คร้งั ผู้สอนในระบบ LearnSquare ต้องเตรียมสอื่ การสอนและข้อสอบไว้ก่อนการเปิดเรียน เสร็จแล้วจึง เปิดการสอนวิชาน้นั เมอื่ ถึงกำาหนดเปิดเรียนผู้สอนไม่ต้องเข้าสอนเหมือนในการเรียนปกติ เพียงแต่เข้าระบบ มาให้ผู้เรียนได้ซกั ถาม ให้คำาแนะนำา และให้การบ้านแก่นกั เรียนได้ โดยใช้อปุ กรณ์ทีร่ ะบบเตรียมไว้ให้ การเข้าเรียนของผู้เรียนในระบบการเรียนปกติกบั การเรียนใน LearnSquare อาจมีข้อแตกต่างของ ลำาดบั ข้นั ไม่มากนกั แต่จะแตกต่างกนั ในลกั ษณะของการเข้าเรียนในระบบ LearnSquare ผู้เรียนและผู้สอน จะเข้ามาเจอกนั ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต แต่ในระบบปกติผู้เรียนและผู้สอนจะต้องมาเจอกนั ในห้องเรียนจริง ในเวลาเดียวกนั ใน LearnSquare ก่อนเข้าเรียนผู้เรียนต้องลงทะเบียนวิชาทีส่ นใจ ในระหว่างทีเ่ รียนอาจมีการบ้านที่ ผู้สอนมอบหมายให้ หรืออาจมีการสอบ ผู้เรียนสามารถเพิกถอนวิชาทีไ่ ม่ต้องการเรียนต่อไปได้ เมอื่ เรียนจบ วิชาจะได้รบั การประเมินผลการเรียนจากผู้สอน 4
  • 9. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare บทนำา 6. สรุป ระบบ LearnSquare เป็นระบบจดั การการเรียนการสอนผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทีแ่ บ่งผู้ใช้ ออกเป็น 4 กลุ่ม คือ ผู้เรียน ผู้สอน ผู้ดูแลระบบ และผู้ช่วยสอน เนอื่ งจากการใช้งานระบบของผู้ช่วยสอนมี เพียงการเข้าสู่ระบบเพอื่ ตอบคำาถาม เป็นทีป่ รึกษา ให้แก่ผู้เรียนในวิชาทีไ่ ด้รบั มอบหมาย เนื้อหาในคู่มือ ฉบบั นี้จะกล่าวในรายละเอียดแยกตามประเภทของผู้ใช้งาน โดยในบทที่ 2 จึงจะกล่าวถึงการใช้งานของผู้ เรียน ในบทที่ 3 กล่าวถึงการใช้งานของผู้สอน และในบทที่ 4 กล่าวถึงการใช้งานของผู้ดูแลระบบ สำาหรบั ผู้ ช่วยสอน ผู้ใช้ระบบสามารถดูได้จาก หวั ข้อทีเ่ กีย่ วข้อง ในการใช้งานของผู้เรียน และ การใช้งานของผู้สอน 5 รูปที่ 1.1 ข้นั ตอนการเรียนดว้ ยระบบ LearnSquare
  • 11. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน LearnSquare สำำ หรับผู้เรียน ในบทนี้จะกล่าวถึงการใช้งานของกลุ่มผู้ใช้ทีเ่ ป็นนกั เรียนและการใช้อปุ กรณ์สนบั สนนุ การสอนทีม่ ี ในระบบ 1. หน้ำจอหลัก เมอื่ ผู้เรียน เข้ามาในระบบ LearnSquare จะพบหน้าจอหลกั ดงั รูปที่ 2.1 ซงึ่ ประกอบด้วยเมนูบาร์ ด้านบนและเฟรมเนื้อหาหลกั ด้านล่าง เมนูบาร์จะปรากฎทกุ หน้าในระบบ โดยมีส่วนประกอบบนเมนูบาร์ คือ Home, Browse Courses, About us, Help Desk และ Contact us 1. Home เป็น ลิงค์ทีน่ ำาไปสู่หน้าแรกของระบบ 2. Browse Courses เป็นลิงค์ทีน่ ำาไปสู่หน้าทีร่ วบรวมหลกั สูตรทีก่ ำาลงั เปิดสอนท้งั หมด 3. About us เป็นลิงค์ทีน่ ำาไปสู่หน้าทีใ่ ห้ความรู้และแนวคิดพื้นฐานของระบบ อี เลิร์นนงิ่ และระบบ LearnSquare 4. Help Desk เป็นลิงค์ทีน่ ำาไปสู่หน้าเกีย่ วกบั คำาถามทีพ่ บจากผู้ใช้ระบบบ่อย ๆ 5. Contact us ป็นลิงค์ทีน่ ำาไปสู่การติดต่อกบั ผู้ดูแลระบบ 7 รูปที่ 2.1 หนา้ จอหลกั 1 2 3 4 5 6
  • 12. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน สำาหรบั เฟรมเนื้อหาหลกั ด้านล่างจะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ กรอบซ้ายมือ ซงึ่ เป็นส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง กบั ข้อมูลผู้ใช้ระบบ (User Organizer) กรอบกลาง ซงึ่ เป็นเนื้อหาทว่ั ๆ ไป และกรอบขวามือ ซงึ่ เป็นสถิติ และข้อมูลข่าวสารจากผู้ดูแลระบบ กรอบ User Organizer เป็นกรอบสำาหรบั ให้ ผู้ใช้ทำาการ login เข้าสู่ระบบ หลงั จากทำาการ login แล้วกรอบ นี้จะเปลีย่ นไปแสดงลิงค์ทีเ่ ชอื่ มต่อกบั หน้าสำาหรบั ให้ผู้เรียนใช้งานต่าง ๆ ผู้เรียนสามารถตรวจสอบวิชาทีเ่ ปิดให้ลงทะเบียนเรียนได้ จาก กรอบกลาง ดงั ทีแ่ สดงในหมายเลข 6 ผู้เรียนสามารถเข้าไปลงทะเบียนเรียนได้จากส่วนนี้ รายละเอียดของการลงทะเบียนเรียนจะได้กล่าวต่อไป ในหวั ข้อที่ 5.2 2. กำรสมัครสมำชิก วิธีการสมคั รเข้าเป็นผู้เรียนในระบบ LearnSquare นี้สามารถทำาได้ 2 วิธี คือ สมคั รด้วยตนเอง หรือ ให้ผู้ดูแลระบบ (System Administrator) เป็นผู้ดำาเนินการสมคั รให้ ผู้เรียนสามารถดำาเนินการสมคั รได้ด้วยตวั เองในกรณีทีผ่ ู้ดูแลระบบอนญุ าตและจะปรากฏข้อความ "สมคั รเรียนฟรี!!!" ทีก่ รอบ User Organizer เพอื่ ให้ผู้เรียนสามารถคลิกต่อเพอื่ ดำาเนินการสมคั รเรียน 8 1 2 3 6 4 5
  • 13. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน ข้นั ตอนการสมคั รสมาชิกมี ดงั นี้ 1. คลิกที่ สมคั รเรียนฟรี ในกรอบ User Organizer 2. กรอกชอื่ เล่น 3. กรอกรหสั ผ่านและยืนยนั รหสั ผ่าน ซงึ่ ข้อมูลท้งั สองจะต้องเหมือนกนั 4. กรอกเลขประจำาตวั 5. ทำาเครอื่ งหมาย ✓ ในช่องสีเ่ หลีย่ ม เพอื่ สมคั รเป็นสมาชิก Mailing List เพอื่ รบั ข่าวสารและประกาศต่าง ๆ 6. คลิกทีป่ ่มุ สมคั รสมาชิก หลงั จากผู้เรียนได้สมคั รเป็นสมาชิกแล้วผู้เรียนสามารถใช้ชอื่ เล่น และรหสั ผ่านในการเข้าสู่ระบบได้ 3. กำร Login เข้ำใช้ระบบ วิธีการ login เข้าสู่ระบบ LearnSquare มีข้นั ตอนดงั นี้ 1. กรอกชอื่ เล่นทีช่ ่อง Nickname 2. กรอกรหสั ผ่านทีช่ ่อง Password 3. คลิกทีป่ ่มุ login 4. เมนูผู้เรียน เมอื่ ผู้เรียนเข้ามาในระบบ กรอบ User Organizer ห ล งั จ า ก การ login จะแสดงเมนูหลกั สำาหรบั ใช้งาน 6 รายการ คือ สมุดรายงาน ส่งขอ้ ความ ตารางนดั หมาย สมุดบนั ทึก แกไ้ ขขอ้ มูลส่วนตวั และ ออกจากระบบ 9 รูปที่ 2.2 กรอบ User Organizer หลงั จาก login 2 1 3
  • 14. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน 4.1 สมดุ รำยงำน สมดุ รายงานของผู้เรียนแต่ละคนจะประกอบด้วย 3 ส่วน ตามรูปที่ 2.3 1. แสดงรายชอื่ หลกั สูตรทีผ่ ู้เรียนได้ลงทะเบียนเรียนไปแล้ว ในภาพแสดงว่าผู้เรียนได้ลงทะเบียนเรียน 1 วิชาคือ ความรเู้ บื้องตน้ เกี่ยวกบั e-Learning 2. แสดงรายชอื่ หลกั สูตรทีผ่ ู้เรียนได้สำาเร็จการศึกษาแล้ว ตามข้อมูลในภาพ ผู้เรียนยงั ไม่สำาเร็จการศึกษาวิชาใดเลย 3. แสดงรายชอื่ หลกั สูตรทีผ่ ู้เรียนเพิกถอน หรือเรียนไม่ผ่านเมอื่ จบหลกั สูตร ตามภาพผู้เรียนยงั ไม่เพิกถอน หรือเรียนหลกั สูตรใดไม่ผ่าน 4.2 ส่งข้อควำม ระบบ LearnSquare อนญุ าตให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสอื่ สารกนั ภายในระบบผ่านทาง e-mail (ผู้เรียนไม่สามารถรบั หรือส่งข้อความนอกระบบ LearnSquare ได้) เมอื่ ผู้เรียนเข้าสู่หน้า "ส่งขอ้ ความ" 10 รูปที่ 2.3 สมุดรายงาน 2 3 1
  • 15. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน ในการส่งข้อความจะมีข้นั ตอนการใช้งานดงั นี้ 1. ช่อง"ชอื่ เล่น" สำาหรบั ใส่ชอื่ ผู้รบั จะต้องเป็นชอื่ Nick Name ในระบบ LearnSquare เท่าน้นั ซงึ่ สามารถตรวจสอบและค้นหาได้โดยการคลิกทีป่ ่มุ Find a nickname 2. ช่อง "Subject" สำาหรบั ใส่หวั ข้อของข้อความ 3. ป่มุ เลือกระดบั ความสำาคญั มี 3 ระดบั คือ High, Normal และ Low เมอื่ ผู้เรียนเลือก ระดบั ความสำาคญั รูปภาพแสดงระดบั ความสำาคญั ทีอ่ ยู่ตรงด้านหน้าของป่มุ กำาหนด ระดบั จะไปปรากฏในตู้รบั จดหมายของผู้รบั 4. ช่อง "Message" สำาหรบั กรอกข้อความทีต่ ้องการส่ง 5. เมอื่ ผู้เรียนกรอกข้อมูลทกุ อย่างและกดป่มุ Send message ด้านล่าง ข้อความจะถูกส่ง ไปยงั ผู้รบั และถูกนำาไปเก็บอยู่ใน Outbox 11 1 2 4 5 3
  • 16. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน e-mail ทีถ่ ูกส่งออกไป ถ้าผู้รบั ยงั ไม่ได้เปิดอ่าน จะถูกเก็บเอาไว้ ใน Outbox ถ้าผู้รบั เปิดอ่านจดหมายน้นั แล้วถูกเก็บไว้ใน Sentbox ถ้าผู้เรียนคนหนงึ่ ได้รบั ข้อความจากผู้เรียนคนอนื่ ผู้เรียนจะได้รบั ข้อความเตือน ในกรอบ User Organizer ผู้ใช้สามารถคลิกทีข่ ้อความ เตือนน้นั เพอื่ เข้าไปใน Inbox และดูข้อความได้โดยคลิกทีห่ วั ข้อ (subject) ของข้อความน้นั ผู้เรียนสามารถจดั เก็บข้อความทีอ่ ยู่ใน Inbox และ Outbox ได้ในหน้าทีแ่ สดงข้อความตามรูป โดยมี ข้นั ตอนดงั ต่อไปนี้ 1. เลือกข้อความทีจ่ ะเก็บไว้หรือข้อความทีจ่ ะลบ โดยคลิกในช่องสีเ่ หลีย่ มหน้าข้อความที่ ต้องการ เพอื่ ทำาเครอื่ งหมาย ✓ ผู้เรียนสามารถเลือกข้อความทีต่ ้องการได้มากกว่า 1 ข้อความ 2. ถ้าต้องการเก็บข้อความ คลิกทีป่ ่มุ Save Marked ข้อความทีท่ ำาเครอื่ งหมายไว้จะถูกเก็บ ไว้ใน Savebox แต่ถ้าต้องการลบข้อความ ให้คลิกทีป่ ่มุ Delete Marked 12 1 2 รูปที่ 2.4 การเตือนรบั e-mail
  • 17. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน 4.3 ตำรำงนัดหมำย ตารางนดั หมายเป็นเครอื่ งมือช่วยจดบนั ทึกนดั หมายหรือกำาหนดการต่าง ๆ ดงั แสดงในรูปที่ 2.5 ผู้ เรียนสามารถเลือกดูตารางได้ 4 รูปแบบ คือ (1) แบบรายวนั (2) แบบรายสปั ดาห์ (3) แบบรายเดือน และ (4) แบบรายปี 13 รูปที่ 2.5 ตารางนดั หมาย 31 2 4 5
  • 18. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน ถ้าต้องการเพมิ่ การนดั หมายให้คลิกที่ (5) ในรูปที่ 2.5 และทำาตามข้นั ตอนตามรูปคือ 1. เลือกประเภทของการนดั หมายจาก dropdown menu เช่น งานที่ตอ้ งทำา เรียน ประชุม อบรม บรรยาย วนั เกิด เป็นต้น 2. ใส่หวั ข้อของการนดั หมาย 3. ใส่รายละเอียด 4. เลือกวนั ทีท่ ีน่ ดั หมาย 5. เลือกเวลาเรมิ่ ต้นและสิ้นสดุ 6. คลิกที่ SAVE เพอื่ บนั ทึก เมอื่ เพมิ่ การนดั หมายเข้ามาแล้ว จะปรากฏนดั หมายตามวนั ทีท่ ีเ่ พมิ่ เข้าไปตามรูปที่ 2.6 14 4 2 3 5 6 1
  • 19. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน 4.4 สมดุ บันทึก ผู้เรียนสามารถทำาการจดบนั ทึกออนไลน์ รวมท้งั จดั การข้อมูลต่างๆให้เป็นหมวดหมู่ได้อย่างอิสระ ในหน้าสมดุ บนั ทึก การทำาบนั ทึกข้อความมีข้นั ตอนตามรูปในหน้าถดั ไป ดงั นี้ 1. คลิกที่ บนั ทึกขอ้ ความ 2. ใส่ข้อมูลหวั ข้อเรอื่ งทีจ่ ะบนั ทึก 3. ใส่ข้อความทีต่ ้องการบนั ทึก 4. เลือก folder ทีต่ ้องการเก็บบนั ทึกโดยใช้ dropdown menu 5. กด SAVE 15 รูปที่ 2.6 แสดงนดั หมายแบบรายเดือน
  • 21. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน เมอื่ จดั เก็บแล้วข้อความทีบ่ นั ทึกจะอยู่ใน folder ทีเ่ ลือกไว้ เมอื่ ต้องการดูข้อความ ให้คลิกทีช่ อื่ ข้อ ความน้นั ถ้าต้องการสร้าง folder ใหม่เพอื่ จดั การแฟ้มข้อมูลให้เป็นหมวดหมู่ ทำาได้โดย 1. คลิกที่ สรา้ งแฟ้ม เพอื่ folder ใหม่ 2. ใส่ชอื่ folder ใหม่ทีต่ ้องการ 3. กำาหนด folder ทีจ่ ดั เก็บ folder ทีส่ ร้างใหม่ 4. คลิกที่ create folder ใหม่จะปรากฎดงั ทีแ่ สดงในรูปที่ 2.7 folder2 จะปรากฎอยู่ภายใต้ my folder ผู้เรียน สามารถสร้างแฟ้มบนั ทึกข้อมูลใน folder ใหม่นี้ได้ 17 4 1 2 3
  • 22. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน 4.5 กำรแก้ไขข้อมูลส่วนตัว ผู้เรียนสามารถเแก้ไขข้อมูลส่วนตวั และรหสั ผ่านของตนเอง ตามข้นั ตอนดงั ต่อไปนี้ 1. ถ้าต้องการแก้ไขรหสั ผ่าน ให้กรอกรหสั ผ่านใหม่ โดยต้องกรอกรหสั ให้เหมือนกนั ท้งั 2 ช่อง 2. กรอกชอื่ และนามสกลุ 3. ผู้ใช้สามารถเลือกรูปการ์ตูนแทนตวั เองได้จากรายการรูปท้งั หมด 4. กรอกหมายเลข ICQ (ถ้ามี) 5. กรอกข้อมูลเพมิ่ เติม เช่น ทีอ่ ยู่ เบอร์โทรศพั ท์ 18 รูปที่ 2.7 folder ใหม่ 1 2 3 4 5 6
  • 23. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน 6. คลิกที่ Save Changes ผู้เรียนไม่สามารถเปลีย่ นแปลงชอื่ เล่นทีใ่ ช้สำาหรบั login และเลขประจำาตวั ได้ 4.6 ออกจำกระบบ เมอื่ เสร็จสิ้นการใช้งานของระบบ ผู้เรียนสามารถออกจากระบบโดยทำาการ logout โดย คลิกที่ ออกจากระบบ ในกรอบ User Organizer 5. กำรเรียน ผู้เรียนทีต่ ้องการเรียนใน LearnSquare จะต้องทราบเกีย่ วกบั หวั ข้อทีเ่ กีย่ วข้อง คือองค์ประกอบของ หลกั สูตร วิธีการลงทะเบียน วิธีการสอบ การใช้อปุ กรณ์สนบั สนนุ การเรียน วิธีการเพิกถอนวิชา และใบ ประกาศนียบตั ร ซงึ่ รายละเอียดมีดงั นี้ 5.1 องค์ประกอบของหลักสูตร ผู้เรียนสามารถเรียกดูรายชอื่ วิชาทีเ่ ปิดสอนใน LearnSquare ได้โดยการคลิกที่ Browse Course ใน Menu bar ข้างบน ดงั ทีไ่ ด้กล่าวไปแล้วในหวั ข้อ หนา้ จอหลกั รายชอื่ หลกั สูตรจะปรากฏดงั หน้า จอทีแ่ สดงในรูปที่ 2.8 ผู้เรียนสามารถคลิกทีช่ อื่ ของหลกั สูตรเพอื่ เข้าไปดูรายละเอียของหลกั สูตรทีส่ นใจได้ เมอื่ คลิกทีช่ อื่ วิชาทีส่ นใจแล้วจะเห็นว่าวิชาน้นั ประกอบด้วยแท็บ 3 แท็บ คือ เนื้อหา สารบญั และ ลงทะเบียนเรียน 19 รูปที่ 2.8 Browse Course
  • 24. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน • เนื้อหา แท็บ เนื้อหา จะแสดงรายละเอียดของวิชาน้นั เช่น ชอื่ หลกั สูตร ผู้สร้างหลกั สูตร เนื้อหา วิชาโดยย่อ วตั ถปุ ระสงค์ เป็นต้น • สารบญั แท็บ สารบญั จะแสดงหวั ข้อบทเรียนและข้อสอบท้งั หมดในวิชาน้นั เรียงตามลำาดบั รวมถึง แสดงรายละเอียดโดยย่อของเนื้อหาในแต่ละบท 20 รูปที่ 2.10 สารบญั รูปที่ 2.9 เนื้อหา
  • 25. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน • ลงทะเบียน แท็บ ลงทะเบียน จะแสดงข้อมูลสำาหรบั การลงทะเบียน ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนได้ใน แท็บนี้ 5.2 กำรลงทะเบียนเรียน หลงั จากผู้เรียน login เข้าสู่ระบบแล้ว ผู้เรียนสามารถเข้าไปทีห่ น้า ลงทะเบียนเรียน ตาม รูป เพอื่ ลงทะเบียนเรียนในวิชาทีต่ นเองสนใจ การลงทะเบียนมีข้นั ตอนดงั นี้ 1. คลิกในวงกลมหน้าช่วงวนั ทีเ่ ปิดให้เรียน 2. คลิกทีช่ ่องสีเ่ หลีย่ มเพอื่ ทำาเครอื่ งหมาย ✓ ถ้าต้องการให้แสดงชอื่ เล่นในห้องเรียน และ ต้องการมีชอื่ อยู่ใน Mailing List ของวิชา 3. คลิกทีป่ ่มุ ลงทะเบียนเรียน เมอื่ ลงทะเบียนแล้ว ระบบจะส่ง e-mail ยืนยนั การลงทะเบียนมายงั ผู้เรียน และจะปรากฏ ชอื่ วิชาทีล่ งทะเบียนไว้แล้วในหน้า สมุดรายงาน และ ในกรอบ User Organizer (ตามรูป 2.11) 21 1 3 2
  • 26. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน 5.3 กำรเข้ำเรียน 22 รูปที่ 2.11 สมุดรายงานและกรอบ User Organizer หลงั จากลงทะเบียน 1 2
  • 27. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน ผู้เรียนสามารถเข้าเรียนได้เมอื่ ถึงกำาหนดเปิดเรียน โดยเข้าเรียนได้จาก link ในสมดุ รายงาน หรือจากกรอบ User Organizer เมอื่ เข้าสู่วิชาทีต่ ้องการเรียนแล้วมีข้นั ตอนการเรียนดงั นี้ 1. คลิกทีแ่ ท็บ สารบญั 2. คลิกทีห่ วั ข้อทีจ่ ะเข้าเรียน ข้อสงั เกตอย่างหนงึ่ สำาหรบั การเข้าเรียนคือ ผู้เรียนจะเข้าเรียนในหวั ข้อในวิชาน้นั ได้ เมอื่ ถึงวนั ที่ กำาหนดเท่าน้นั และจะมีเส้นขีดใต้หวั ข้อแสดงให้ทราบว่าสามารถเข้าเรียนได้ ระหว่างทีท่ ำาการเรียน ผู้เรียนสามารถเข้าไปเรียนบทเรียนอนื่ ได้โดยการเลือกชอื่ บทเรียน ที่ หมายเลข (1) 5.4 กำรสอบ ระหว่างทีท่ ำาการเรียนหรือหลงั จากเรียนเนื้อหาท้งั หมดเสร็จสิ้นแล้ว ในบางบทเรียนอาจมี การกำาหนดให้ผู้เรียนต้องทำาการทดสอบ วิธีการเข้าสอบทำาได้สามารถทำาได้เช่นเดียวกบั การเข้าเรียน 23 รูปที่ 2.12 เนื้อหาบทเรียน 1
  • 28. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน วิธีการสอบทำาได้โดย 1. คลิกทีช่ อื่ ของแบบทดสอบ ในหน้าของสารบญั 2. ข้อสอบทีต่ อบได้หลายข้อ จะเป็นช่องสีเ่ หลีย่ ม ให้คลิกในช่องสีเ่ หลีย่ มเพอื่ ทำาเครอื่ ง 24 2 3 4 1
  • 29. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน หมาย ✓ หน้าข้อทีค่ ิดว่าเป็นคำาตอบทีถ่ ูกต้อง 3. ข้อทีม่ ีคำาตอบข้อเดียว จะเป็นช่องทำาเครอื่ งหมายรูปวงกลม เลือกคำาตอบได้เพียงข้อ เดียว 4. เมอื่ ทำาข้อสอบเสร็จแล้ว คลิกทีป่ ่มุ ตรวจขอ้ สอบ เมอื่ ทำาข้อสอบเสร็จแล้ว ระบบจะตรวจคำาตอบและให้คะแนนตามรูปที่ 2.13 1. เฉลยคำาตอบแต่ละข้อ 2. บอกคะแนนทีไ่ ด้ และสรปุ ผลการสอบว่าผ่านหรือไม่ผ่าน ผู้สอบสามารถทำาข้อสอบใหม่ได้จนกว่าจะผ่านการทดสอบ โดยทีร่ ะบบจะรายงานคะแนนที่ ผู้เรียนเข้ามาสอบให้แก่ผู้สอนทกุ คร้งั 5.5 กำรใช้อปุ กรณ์สนับสนนุ กำรเรียน หลงั จากผู้เรียนลงทะเบียนเรียนวิชาหนงึ่ แล้ว แท็บของวิชาน้นั จะเปลีย่ นไป คือจะมีแท็บของ อปุ กรณ์สนบั สนนุ การเรียนเพมิ่ ขึ้นมา ในระหว่างทีผ่ ู้เรียนกำาลงั เข้าเรียน ผู้เรียนสามารถใช้หน้าต่างทีร่ ะบบจดั ขึ้นไว้เพอื่ สนบั สนนุ 25 รูปที่ 2.13 ระบบตรวจขอ้ สอบ 1 2
  • 30. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน การเรียน สำาหรบั วิชาน้นั ได้ อปุ กรณ์ส่งเสริมการเรียนมี 3 แบบคือ กระดานข่าว หอ้ งสนทนา และ เพื่อน ร่วมหอ้ ง รายละเอียดการใช้งานแต่ละอย่างมีดงั นี้  กระดานข่าว กระดานข่าวเป็นอปุ กรณ์ทีช่ ่วยให้ผู้เรียนสามารถฝากเพอื่ ให้ผู้เรียนวิชาเดียวกนั สามารถเข้า มาอ่านข้อความได้ วิธีการใช้กระดานข่าว ทำาตามข้นั ตอนดงั นี้ 1. คลิกทีแ่ ท็บ กระดานข่าว 2. ใส่หวั ข้อคำาถาม 3. เลือกรูปไอคอนข้อความจาก dropdown menu ซงึ่ มีให้เลือก 12 ภาพ เช่น มาตรฐาน รูปยกหวั แม่มือ รูปยกหวั แม่มือลง รูปป้ายเตือน รูปเครื่อง หมายคำาถาม เป็นต้น 26 1 2 3 4 5 7
  • 31. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน 4. กรอกข้อความทีต่ ้องการ 5. ถ้าต้องการใส่รูป ให้เลือกรูปทีใ่ ส่โดยการคลิกที่ Browse 6. คลิกทีป่ ่มุ ส่งคำาถาม  ห้องสนทนา ห้องสนทนาเป็นอปุ กรณ์ทีช่ ่วยให้ผู้เรียนสามารถแลกเปลีย่ นความรู้กบั ผู้เรียนด้วยกนั หรือ กบั ผู้สอนทีก่ ำาลงั online อยู่ได้ในห้องสนทนาในเวลาเดียวกนั โดยใช้ข้อความพิมพ์ส่งถึงผู้ทีอ่ ยู่ในห้อง สนทนาทกุ คน ผู้ดูแลระบบจะเป็นผู้กำาหนดว่าควรให้มีห้องสนทนาหรือไม่ ในทีน่ ี้จะกล่าวถึงในกรณีที่ สามารถใช้งานห้องสนทนาได้ วิธีการใช้ห้องสนทนามีข้นั ตอนดงั นี้ 1. คลิกที่ หอ้ งสนทนา 2. กรอกข้อความทีต่ ้องการส่งเข้าไปในห้อง เพอื่ ให้ทกุ คนทีก่ ำาลงั สนทนาได้รบั ข้อความนี้ 27 2 1
  • 32. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน  เพอื่ นร่วมห้อง ผู้เรียนสามารถเข้าไปดูว่ามีใครเข้าเรียนวิชาเดียวกนั บ้างสามารถเข้าไปดูทีแ่ ท็บ เพื่อนร่วม หอ้ งได้ การดูข้อมูลเพอื่ นร่วมห้องมีข้นั ตอนดงั นี้ 1. คลิกที่ เพื่อนร่วมหอ้ ง 2. สามารถส่งข้อความถึงเพอื่ นได้ โดยคลิกทีไ่ อคอนหลงั ชอื่ เพอื่ นทีต่ ้องการส่งข้อความ ไปถึง 28 รูปที่ 2.14 เพื่อนร่วมหอ้ ง 1 2
  • 33. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน 5.6 กำรเพิกถอนวิชำ ผู้เรียนสามารถทำาการเพิกถอนวิชาได้ในระหว่างเรียนจากหน้าต่าง สมุดรายงาน 29 1 2 3
  • 34. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน การเพิกถอนวิชาสามารถทำาได้ดงั นี้ 1. คลิกทีป่ ่มุ edit ท้ายบรรทดั ของวิชาทีต่ ้องการเพิกถอน 2. คลิกในช่องสีเ่ หลีย่ ม เพอื่ ทำาเครอื่ งหมาย ✓ ทีช่ ่อง ตอ้ งการพกั การเรียนหลกั สูตร 3. คลิกทีป่ ่มุ Submit เมอื่ ผู้เรียนเพิกถอนวิชาทีต่ ้องการแล้ว จะปรากฏข้อความแสดงวิชาทีเ่ พิกถอนใน สมุดรายงาน ตาม รูปที่ 2.15 5.7 ใบประกำศนียบัตร เมอื่ จบการเรียนในหลกั สูตร ผู้สอนจะทำาการประเมินการสอนให้กบั ผู้เรียน ถ้าผู้เรียนผ่าน เกณฑ์ทีผ่ ู้สอนกำาหนด วิชาทีผ่ ่านจะปรากฏให้เห็นในหน้า สมุดรายงาน ผู้เรียนสามารถคลิกทีช่ อื่ ของวิชาที่ สำาเร็จการศึกษาเพอื่ เข้าไปดูใบประกาศนียบตั รและสามารถพิมพ์ใบประกาศนียบตั รออกมาทางเครอื่ งพิมพ์ได้ 30 รูปที่ 2.15 สมุดรายงานหลงั การเพิกถอนวิชาเรียน
  • 35. คู่มือการใชง้ านระบบ LearnSquare ผูเ้ รียน 31 รูปที่ 2.16 สมุดรายงานแสดงวิชาที่เรียนจบ รูปที่ 2.17ตวั อย่างใบประกาศนียบตั ร
  • 37. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน LearnSquare สำหรับผู้สอน ผู้สอนในระบบ e-Learning นี้อาจมีรูปแบบที่แตกต่างจากการสอนในห้องเรียนจริงอย่างสิ้นเชิง เนื่องจากเป็นการสอนผ่านระบบเครือข่าย ผู้สอนและผู้เรียนอาจไม่ได้อยู่ในสถานที่และเวลาเดียวกัน ผู้ สอนไม่ต้องเข้าสอนเป็นเวลา รวมทั้งไม่ต้องสอนเนื้อหาซ้ำๆกันหลายครั้ง จึงเป็นการลดภาระของผู้สอน ลงอย่างมาก ทั้งนี้จะขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ในเนื้อหาหลักสูตรด้วย หากเนื้อหาบทเรียนมีความสมบูรณ์ และง่ายต่อการทำความเข้าใจมากพอ ปัญหาหรือคำถามในห้องเรียนเสมือนในระบบ e-Learning ก็จะ ลดน้อยลงตามไปด้วย ซึ่งแน่นอนว่าการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตรออนไลน์จึงอาจมีขั้นตอนยุ่งยากเพิ่ม ขึ้นและผู้สอนยังต้องอาศัยความชำนาญในการสร้างสื่อออนไลน์ให้มีความน่าสนใจและดึงดูดความ สนใจให้แก่นักเรียนมากเป็นพิเศษ ผู้สอนในระบบ LearnSquare มีหน้าที่หลักๆ 3 หัวข้อดังนี้คือ 1. สร้าง/พัฒนาหลักสูตร 2. เปิดสอนหลักสูตร 3. บริหารจัดการหลักสูตร สำหรับเนื้อหาบทเรียนในหลักสูตรนั้นสามารถทำได้หลายรูปแบบ เช่น การสร้างเป็นเว็บเพจ, สื่อประเภทมัลติมีเดียไม่ว่าจะเป็น flash animation ,ไฟล์วิดีโอ หรือแม้แต่ไฟล์เอกสาร PDF ผู้สอนอาจมี ความชำนาญในการสร้างสื่อการสอนที่แตกต่างกันออกไป อย่างไรก็ตามมีข้อแนะนำสำหรับการสร้าง สื่อการสอนในลักษณะออนไลน์ นั่นคือ ควรเป็นสื่อที่เข้าใจง่ายและเหมาะกับระดับของผู้เรียน อีกทั้ง ขนาดไฟล์ของสื่อการสอนนั้นจะต้องไม่ใหญ่จนเกินไป เพราะอาจทำให้มีปัญหากับการส่งผ่านข้อมูลได้ ซึ่งจะทำให้การนำเสนอทำได้ช้าจนเป็นที่รำคาญกับผู้เรียน ในระบบ LearnSquare สามารถทำได้ทั้งการสร้างเนื้อหาบทเรียนจากภายในระบบ ในรูปแบบ ของเอกสารประเภท HTML หรือก็คือในแบบเว็บเพจ และการนำเข้าเนื้อหาบทเรียนซึ่งผู้สอนสร้างจาก ภายนอกระบบ เช่น ในรูปแบบของ SCORM หรือการสร้างสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ แล้วค่อยนำ เข้ามาใช้ในระบบต่อไป 33 Note :: SCORM (Shareable Content Object Reference Model) เป็นมาตรฐานในการผลิตสื่อการ เรียนการสอนในระบบ e-Learning เพื่อให้สามารถนำมาใช้ซ้ำหรือแลกเปลี่ยนกันได้มากที่สุด
  • 38. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 1. เมนูของผู้สอน เมื่อผู้สอน Login เข้าสู่ระบบในบทบาทของผู้สอน/ผู้สร้างหลักสูตรแล้วจะพบกับเมนูซึ่งมีราย ละเอียดพอสังเขปดังนี้คือ เมนู รายละเอียดการใช้งาน จัดการหลักสูตร สำหรับเปิดเรียนออนไลน์ เมื่อหลักสูตร บทเรียนนั้นเสร็จสมบูรณ์พร้อมเปิดเรียน ออนไลน์ สร้างหลักสูตร สำหรับสร้างหลักสูตรใหม่ หรือแก้ไข หลักสูตรเดิมเพื่อปรับปรุงบทเรียนต่างๆ นำเข้า/ส่งออกหลักสูตร ในกรณีต้องการนำเข้า (import) หลักสูตร บทเรียนสำเร็จรูปในรูปแบบ SCORM ไฟล์ หรือนำหลักสูตรที่อยู่ภายในระบบ ส่งออก (export) หลักสูตรบทเรียนในรูป แบบ SCORM ไฟล์เช่นเดียวกันเพื่อนำ ไฟล์ดังกล่าวไปประยุกต์ใช้งานกับระบบ อื่นๆ หรือสำรองข้อมูลไว้เพื่อป้องกัน ความผิดพลาดก็ตาม ส่งข้อความ สำหรับส่งข้อความถึงผู้ใช้งานที่อยู่ใน ระบบคล้ายกับระบบ email ภายในระบบ ตารางนัดหมาย สำหรับประยุกต์ใช้บริหารจัดการ (organize) กำหนดการส่วนตัว สมุดบันทึก สำหรับจดบันทึกข้อมูลต่างๆ ในระบบ แก้ไขข้อมูลส่วนตัว สำหรับแก้ไขข้อมูลส่วนตัวเช่น เปลี่ยนชื่อ, รหัสผ่าน เป็นต้น ออกจากระบบ สำหรับออกจากระบบ 34
  • 39. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน สำหรับบทบาทหลักของผู้สอนนั้นจะมีอยู่ 2 บทบาทที่สำคัญคือการสร้างหลักสูตรและจัดการ หลักสูตร กล่าวโดยสรุปคือ ในขั้นตอนแรกบทบาทหลักของผู้สอนคือการสร้างหลักสูตรบทเรียนออนไลน์ ด้วยเมนู “สร้างหลักสูตร” ในระบบก่อน เมื่อหลักสูตรบทเรียนถูกแก้ไขปรับปรุงจนเสร็จสมบูรณ์จึงเปิด ใช้งาน เพื่อเปิดเรียนออนไลน์ด้วยเมนู “จัดการหลักสูตร” ต่อไป ซึ่งการเปิดเรียนออนไลน์นั้นผู้สอน สามารถจะเปิดเรียนกี่รุ่น หรือกี่รอบก็สามารถดำเนินการได้ดังรูป หากจะมีการแก้ไข/ปรับปรุงบทเรียน ซึ่งในระหว่างดำเนินการแก้ไขนั้นก็ควรปิดการใช้งานเพื่อป้องกันให้ผู้เรียนเข้ามาเรียนออนไลน์ใน ระหว่างบทเรียนกำลังถูกปรับปรุงอยู่ บทบาทหลักของผู้สอนในระบบ การสร้างหลักสูตรนั้นอาจกล่าวได้ว่าเป็นบทบาทที่สำคัญที่สุดของการได้มาซึ่งเนื้อหาบทเรียน ซึ่งขึ้นอยู่กับประสบการณ์ในการสร้างสื่อบทเรียนของผู้สอนแต่ละท่าน ซึ่งเนื้อหาบทเรียนดังกล่าวจะดูน่า สนใจหรือมีเทคนิคการถ่ายทอดดีอย่างไรนั้นจะมีส่วนสำคัญที่ทำให้ผู้เรียนในการเรียนออนไลน์ประสบ ความสำเร็จด้วยเช่นกัน แต่การสร้างหลักสูตรผ่านระบบนั้นสามารถจะสร้างใหม่เองโดยการเพิ่มทีละบท เรียน หรือแบบทดสอบก็สามารถดำเนินการได้ ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวอาจต้องใช้เวลาในการแก้ไข หรือปรับปรุงบทเรียนจนกว่าจะเสร็จสมบูรณ์ ขั้นตอนการสร้างหลักสูตร 35 สร้างหลักสูตร จัดการหลักสูตร แก้ไข/ปรับปรุง หลักสูตรบทเรียน เปิดเรียน ออนไลน์ เปิดใช้งาน Login ปิดใช้งาน
  • 40. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน การสร้างหลักสูตรอีกวิธีที่ถือเป็นวิธีลัดก็คือนำเข้าเนื้อหาจากภายนอกซึ่งไฟล์หลักสูตรบทเรียน สำเร็จรูปนั้นถูกบรรจุอยู่ในรูปแบบไฟล์ SCORM ก็สามารถดำเนินการได้จนเปิดเรียนได้ในไม่กี่ขั้นตอน เช่นเดียวกัน ซึ่งปัจจุบันไฟล์ SCORM มีให้ Download มากมายหรืออาจประยุกต์ใช้แนวทางนี้ในการ สำรองข้อมูลบทเรียนจากระบบ LearnSquare หนึ่งแล้วมานำเข้าระบบ LearnSquare อีกระบบหนึ่ง ก็ได้เช่นเดียวกัน ขั้นตอนการจัดการหลักสูตร ขั้นตอนที่สำคัญอีกอย่างของระบบก็คือการเรียนออนไลน์ซึ่งเมื่อหลักสูตรถูกสร้างจนเสร็จ สมบูรณ์แล้วจนเปิดให้มีการเรียนออนไลน์เกิดขึ้น หน้าที่ของผู้สอนซึ่งในห้องเรียนปกติคือการสอนด้วย ตนเองก็จะถูกเปลี่ยนรูปแบบเป็นการสอนผ่านสื่อมัลติมีเดียออนไลน์ ซึ่งบทบาทหลักของผู้สอนจะไม่ใช่ การสอนเป็นหลักแต่จะเป็นการให้คำปรึกษาหรือคำแนะนำ โดยการศึกษาพฤติกรรมการเรียนผ่าน ข้อมูลที่ระบบ LearnSquare จัดเก็บข้อมูลการเข้าเรียนของนักเรียนแต่ละคนไว้ให้กับผู้สอนนำไป วิเคราะห์ประกอบการเรียนตามแนวทางของผู้สอนแต่ละคน ซึ่งหากผู้สอนได้มีการประเมินผลการเรียน ของผู้เรียนเสร็จสมบูรณ์แล้ว ระบบ LearnSquare จะดำเนินการสร้างใบประกาศนียบัตรออนไลน์ อัตโนมัติไปยังผู้เรียนซึ่งแสดงได้ว่าผู้เรียนนั้นจบหลักสูตรออนไลน์อย่างสมบูรณ์ 36
  • 41. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 2. การสร้างหลักสูตรใหม่ การสร้างหลักสูตรผ่านระบบ LearnSquare สามารถทำได้ตามขั้นตอนอย่างง่ายดังนี้ 1. คลิกเมนูหลัก “สร้างหลักสูตร” 2. คลิกปุ่ม เพื่อสร้างหลักสูตรใหม่ 3. เลือกกลุ่มวิชา ซึ่งค่าเริ่มต้นของระบบมีทั้งหมด 8 กลุ่มวิชาได้แก่ กลุ่มภาษาไทย กลุ่ม คณิตศาสตร์ กลุ่มวิทยาศาสตร์ เป็นต้น ซึ่งกลุ่มวิชาดังกล่าวหากต้องการเพิ่มกลุ่มวิชาต้องให้ผู้ ดูแลระบบเป็นผู้ดำเนินการก่อน 4. กรอกข้อมูลรหัสวิชา, ชื่อหลักสูตร และเนื้อหาวิชา (จำเป็นต้องกรอกให้ครบ) 37 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
  • 42. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 5. กรอกข้อมูลรายละเอียดอื่นๆ เกี่ยวกับรายวิชา เพื่อความชัดเจนและเหมาะสมกับผู้เรียน ได้แก่ วัตถุประสงค์, คุณสมบัติผู้เข้าอบรม, เอกสารอ้างอิง และจำนวนหน่วยกิต (เครดิต) ของ วิชา ในกรณีสร้างหลักสูตรบทเรียนใหม่ให้ข้ามไปยังขั้นตอนที่ 10 6. คลิกเลือก “ใช้งานห้องสนทนา” เพื่ออนุญาตให้หลักสูตรออนไลน์มีห้องสนทนาออนไลน์ซึ่ง เปิดโอกาสให้ผู้ใช้งานระบบทุกคนเข้ามาร่วมสนทนาในห้องเรียนออนไลน์ได้ 7. คลิกเลือก “อนุญาต เฉพาะสมาชิกให้ใช้งานห้องสนทนาได้” เพื่ออนุญาตให้เฉพาะผู้ เรียนที่สมัครเรียนหลักสูตรออนไลน์นี้เท่านั้นที่สามารถเข้ามาร่วมสนทนาในห้องเรียนออนไลน์ ได้ 8. คลิกเลือก "เรียนได้ตลอดเวลา" เมื่อต้องการให้วิชานี้สามารถเรียนได้แม้ไม่ได้ลงทะเบียน เรียน หากไม่คลิกเลือก จะเป็นการเปิดเรียนตลอดเวลา นักเรียนไม่จำเป็นต้องลงทะเบียนก็ สามารถเรียนได้ 9. คลิกเลือก "เปิดใช้งาน" ในกรณีที่หลักสูตรที่ได้สร้าง/แก้ไขบทเรียนเสร็จสมบูรณ์จนพร้อม เปิดเรียนออนไลน์แล้ว (ในกรณีเพิ่งเริ่มสร้างหลักสูตร ยังไม่ต้องคลิกเลือก) 10. คลิกปุ่ม "สร้างหลักสูตร" 38
  • 43. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 3. การเพิ่มบทเรียน 3.1 การเพิ่มบทเรียนแรก หลังจากสร้างรายละเอียดเกี่ยวกับหลักสูตรแล้ว ให้ทำการเพิ่มบทเรียนลงในหลักสูตร นั้น สำหรับในหัวข้อนี้ บทเรียนที่เพิ่มลงในหลักสูตร จะทำการสร้างขึ้นใหม่จากภายในระบบเอง โดยทำ ตามขั้นตอน ดังนี้ 39 1 2 3 4
  • 44. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 1. เลือกบทเรียนแล้วคลิกปุ่ม "เพิ่ม” 2. กรอกชื่อบทเรียน, เนื้อหาย่อ และระยะเวลาในการเรียนให้เรียบร้อย 3. ในช่องไฟล์บทเรียน ระบบจะเตรียมสร้างไฟล์ HTML อัตโนมัติขึ้นมา เพื่อให้ผู้สอนสร้างบท เรียนลงใน HTML ไฟล์นี้ได้เลย 4. คลิกปุ่ม "เพิ่มบทเรียน” 3.2 การแทรกบทเรียนเพิ่มเติม หลังจากสร้างบทเรียนแรกไปแล้ว หากต้องการเพิ่มบทเรียนอื่นๆอีก ทำได้โดย 1. วางเมาส์ที่ชื่อของบทเรียนล่าสุดที่ต้องการจะเพิ่มหรือแทรกบทเรียนใหม่ต่อท้าย จะปรากฏ เมนูการทำงาน คลิกเลือกเมนูย่อย "เพิ่มบทเรียน" 2. จะปรากฏกรอบสำหรับเพิ่มบทเรียน ให้กรอกรายละเอียดต่างๆ 3. คลิกปุ่ม "เพิ่มบทเรียน" ระบบจะทำการเพิ่มบทเรียนใหม่ให้ทันที 40 1 2 3
  • 45. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 4. การแก้ไขชื่อบทเรียน บทเรียนที่ได้มีการสร้างไปแล้วนั้น หากต้องการแก้ไขชื่อหรือรายละเอียดทั่วไปของบทเรียน สามารถทำได้ดังนี้ 1. วางเมาส์ที่ชื่อของบทเรียนที่ต้องการแก้ไข จะปรากฏเมนูการทำงาน คลิกเลือกเมนูย่อย "แก้ไขชื่อบทเรียน" 2. จะปรากฏกรอบสำหรับแก้ไข ให้แก้ไขรายละเอียดที่ต้องการ 3. คลิกปุ่ม "แก้ไขบทเรียน" ระบบจะทำการบันทึกข้อมูลใหม่ลงไป 5. การสร้างและแก้ไขเนื้อหาบทเรียน ระบบ LearnSquare มีการเตรียมเครื่องมือสำหรับสร้างบทเรียนจากภายในระบบให้ด้วย ผู้สอน สามารถสร้างและแก้ไขบทเรียนได้โดยไม่จำเป็นต้องนำเข้าจากภายนอกระบบ ตามวิธีการดังนี้ 41 1 2 1 2 3
  • 46. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 1. วางเมาส์ที่ชื่อของบทเรียน จะปรากฎเมนูการทำงาน เลือก "สร้าง/แก้ไขบทเรียน" 2. จะปรากฏหน้าต่าง HTML Editor สำหรับสร้างและแก้ไขบทเรียนขึ้นมา โดยมีเครื่องมือพื้น ฐานในการทำงานพร้อมทั้งเครื่องมือสำหรับตกแต่งอื่นๆ ดังนี้ 3. พิมพ์เนื้อหาบทเรียน, แทรกรูป และตกแต่งเพิ่มเติมลงไป 4. คลิกปุ่ม Save Undo/Redo หัวข้อย่อย/Bullet สร้าง/ยกเลิกการเชื่อมโยง การแทรกรูปภาพ แทรกสื่อ Flash Animation ขีดเส้นบรรทัด ล้างรูปแบบ HTML เปลี่ยนรูปแบบอักษร ปรับตำแหน่งข้อความ จัดการย่อหน้า ปรับแต่สีตัวอักษร ตัวยก/ตัวห้อย ชุดปรับแต่งตัวอักษร ปรับแต่งตาราง แทรกสมการคณิตศาสตร์ แทรกตัวแบ่งหน้าการแสดงผล แทรกไฟล์วิดีโอ แทรกลิงค์วิดีโอจาก YouTube 42 3 4
  • 47. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน การแทรกสื่ออาทิเช่น ภาพ แฟลชไฟล์ หรือวิดีโอเป็นต้น ผู้สอนต้องทำการ upload ไฟล์สื่อดัง กล่าวจากเครื่องที่ใช้งานไปยังระบบก่อน โดยการ upload ไฟล์จะดำเนินการผ่าน File Manager ดังนี้ 1. เลือกไฟล์ที่ต้องการ upload เข้าสู่ระบบ 2. คลิก “Upload” 3. เมื่อขั้นตอนการ upload เสร็จสิ้น ระบบจะแสดงชื่อไฟล์ดังกล่าว ให้คลิกเลือกไฟล์ 4. คลิก OK เพื่อจบขั้นตอนการแทรกไฟล์สื่อ นอกจากการสร้างเนื้อหาวิชาโดยใช้เครื่องมือตกแต่งใน HTML Editor แล้ว ยังสามารถเขียน หรือแก้ไข source code ด้วยตนเองได้ด้วย โดยคลิกเลือก แท็บ “HTML” ซึ่งจะ ปรากฏอยู่บริเวณมุมล่างด้านขวามือของ HTML Editor สำหรับ source code นี้ เป็นภาษา HTML นั่นเอง หากผู้สอนมีความรู้ในภาษานี้ สามารถดัดแปลงแก้ไข source code ได้เลย 43 1 2 4 3
  • 48. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 6. การนำเข้าบทเรียนจากภายนอกระบบ กรณีมีเนื้อหาบทเรียนซึ่งได้สร้างจากซอฟต์แวร์ภายนอกระบบไว้แล้วอาทิเช่น ไฟล์ html, pdf, ppt, wmv, swf เป็นต้น สามารถ upload เข้ามาประยุกต์ใช้กับบทเรียนได้โดยไฟล์ดังกล่าวผู้สอนควร คำนึงความเข้ากันได้กับการแสดงผลกับผู้เรียนที่เหมาะสมด้วย โดยระบบสามารถรองรับเนื้อหาในหลาย รูปแบบ ได้แก่ เนื้อหาในรูปแบบเว็บเพจ (HTML), เอกสาร PDF, ไฟล์มัลติมีเดียประเภท Flash Animation สำหรับการนำเข้ามาใช้ในระบบ มีวิธีการดังนึ้ 6.1 การจัดการไฟล์ 1. คลิกแท็บ "จัดการไฟล์" 2. คลิกปุ่ม "Browse...” เพื่อเลือกไฟล์ที่ต้องการนำมาใช้ (สามารถเลือก Upload ได้สูงสุด 10 ไฟล์ต่อการ Upload หนึ่งครั้ง) หรือในกรณีที่ต้องการ Upload ไฟล์จำนวนมาก ผู้สอน สามารถเตรียมไฟล์ทั้งหมดโดยการบีบอัดในรูปแบบ zip files เมื่อ Upload ไฟล์ดังกล่าว เสร็จสิ้น ระบบจะทำการแตกไฟล์ zip ดังกล่าวในระบบโดยอัตโนมัติ ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้ ประหยัดเวลาในการเลือกไฟล์จำนวนมากได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. คลิกปุ่ม “Upload” 4. ไฟล์ที่ถูก Upload เข้าสู่ระบบแล้วจะแสดงให้เห็นในส่วนนี้ หากต้องการลบไฟล์ใดออกจาก ฐานข้อมูลของระบบ ให้คลิกเลือกไฟล์นั้นแล้วคลิกเลือกไฟล์ก่อนแล้วจึงคลิกปุ่ม "Delete” 44 Note :: หากต้องการสร้างโฟลเดอร์ใหม่ ให้กรอกชื่อโฟลเดอร์ที่ช่อง New Folder แล้วคลิกปุ่ม Create และถ้าต้องการ upload ไฟล์เข้าไปในโฟลเดอร์นี้ อย่าลืมว่าจะต้องคลิกเลือกโฟลเดอร์ เสียก่อน 1 2 3 4
  • 49. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 6.2 การเพิ่มไฟล์จากภายนอกเข้าไปในบทเรียน เมื่อ upload ข้อมูลเข้ามาเก็บไว้แล้ว ต่อไปเป็นการเชื่อมโยงข้อมูลเหล่านั้นเข้ากับบท เรียนที่สร้างขึ้นที่แท็บ “บทเรียน” โดย 1. เพิ่มบทเรียนใหม่ (ตามหัวข้อที่ 3. การเพิ่มบทเรียน) 2. กรอกชื่อบทเรียน, เนื้อหาย่อ และระยะเวลาในการเรียนให้เรียบร้อย 3. ในส่วนไฟล์บทเรียน ให้เลือกไฟล์ที่ต้องการจากรายชื่อไฟล์ทั้งหมด (รายชื่อไฟล์ทั้งหมดเหล่า นี้คือไฟล์ที่ได้ upload ไว้ และระบบสามารถอ่านได้) 4. คลิกปุ่ม "เพิ่มบทเรียน" 45 Note :: ตัวอย่างการใช้ไฟล์ประเภทเอกสาร PDF เป็นบทเรียน โดยเมื่อ Upload เอกสาร PDF เข้ามาในระบบแล้ว ให้คลิกเลือกเอกสารนั้นจากช่องไฟล์บทเรียน ผลที่ได้เมื่อแสดงเนื้อหา เป็นดังนี้ 4 3
  • 50. คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare ผู้สอน 7. การแสดงเนื้อหาบทเรียน เมื่อสร้างบทเรียนไปแล้วหากต้องการแสดงบทเรียนเหล่านั้นเพื่อตรวจสอบหรือทดลองเรียน สามารถทำได้โดย 1. วางเมาส์ที่ชื่อของบทเรียน จะปรากฏเมนูการทำงาน เลือก "แสดงเนื้อหา" 2. จะปรากฏหน้าจอแสดงเนื้อหาในบทเรียนนั้นซึ่งจะอยู่ในแท็บสารบัญ 46 2 1 Note :: คุณสามารถเลื่อนสลับลำดับของบทเรียนได้โดยเลือกเมนู “เลื่อนขึ้น” หรือ “เลื่อนลง” และสามารถสลับให้บทเรียนนั้นเป็นบทเรียนย่อยหรือบทเรียนหลักได้ โดยเลือกเมนู “เลื่อนไปทางขวา” หรือ “เลื่อนไปทางซ้าย”