SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
ความหมาย e-Learning เป็นคำที่ใช้เรียกเทคโนโลยีกำรศึกษำ
แบบใหม่ ที่ยังไม่มีชื่อภำษำไทยที่แน่ชัด และมีผู้นิยำมควำมหมำยไว้หลำย
ประกำร ผศ.ดร.ถนอมพร เลำหะจรัสแสง ให้คำนิยำม
E-Learning หรือ Electronic Learning ว่ำ หมำยถึง "กำรเรียนผ่ำนทำงสื่อ
อิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้กำร นำเสนอเนื้อหำทำงคอมพิวเตอร์ในรูปของสื่อ
มัลติมีเดียได้แก่ ข้อควำมอิเลคทรอนิกส์ ภำพนิ่ง ภำพกรำฟิก วิดีโอ
ภำพเคลื่อนไหว ภำพสำมมิติฯลฯ"เช่นเดียวกับ คุณธิดำทิตย์จันคนำ ที่ให้
ความหมายของ e-learning หมายถึงการศึกษาที่เรียนรู้ผ่าน
เครือข่ายอินเตอร์เน็ตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ ด้วยตัวเอง การเรียนรู้จะ
เป็นไปตามปัจจัยภายใต้ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้สองประการคือ เรียนตาม
ความรู้ความสามารถของผู้เรียนเอง และ การตอบสนองใน ความ
แตกต่างระหว่างบุคคล (เวลาที่แต่ละบุคคลใช้ในการเรียนรู้)การเรียนจะ
กระทาผ่านสื่อบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยผู้สอนจะนาเสนอข้อมูล
ความรู้ให้ผู้เรียนได้ทาการศึกษาผ่านบริการ World Wide
Web เว็บไซด์ โดยอาจให้มีปฏิสัมพันธ์ (สนทนา โต้ตอบ ส่ง
ข่าวสาร) ระหว่างกัน
จะที่มีกำร เรียนรู้ในสำมรูปแบบคือ ผู้สอนกับ ผู้เรียน ผู้เรียนกับ
ผู้เรียนอีกคนหนึ่ง หรือผู้เรียนหนึ่งคนกับกลุ่มของผู้เรียน ปฏิสัมพันธ์นี้
สำมำรถ กระทำ ผ่ำนเครื่องมือสองลักษณะคือ
1) แบบ Real-time ได้แก่กำรสนทนำในลักษณะของกำรพิมพ์
ข้อควำมแลกเปลี่ยนข่ำวสำรกัน หรือ ส่งในลักษณะของเสียง จำกบริกำร
ของ Chat room
2) แบบ Non real-time ได้แก่กำรส่งข้อควำมถึงกันผ่ำนทำงบริกำร
อิเลคทรอนิคเมลล์ WebBoard News-group เป็นต้น
Social and collaborative
learning
คืออีเลิร์นนิ่งที่เน้นกำรสื่อสำรกันในระหว่ำงนักเรียนด้วยกันและ
ผู้สอน โดยผู้เรียนจะทำงำนด้วยกันในกำรที่จะขยำยควำมรู้และทักษะ
ในเรื่องที่กำลังเรียนร่วมกันอยู่ เครื่องมือที่ใช้ก็เช่น chat, message
board, instant messaging เป็น หัวใจสำคัญของ collaborative learning
คือกำรร่วมมือกันแลกเปลี่ยนควำมรู้และประสบกำรณ์ รวมทั้งกำร
ร่วมกันรับผิดชอบทำให้เกิดกำรสร้ำงทีมเวิร์คที่ดี
Blended learning
เป็นการผสมผสานระหว่างการเรียนแบบเห็นหน้าเห็นตา (face-to-
face) แบบปรกติ กับการเรียนทางออนไลน์ ทั้งนี้เพื่อจะได้สิ่งที่ดี
ที่สุดจากทั้งสองรูปแบบให้กับผู้เรียน
Video learning
การเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตที่เร็วขึ้นและการใช้อุปกรณ์โมบายล์ที่
แพร่หลายขึ้น ทาให้ “วีดิโอ(คลิป)” เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการ
เรียนรู้แบบอีเลิร์นนิงได้อย่างแพร่หลายทั่วไป และปัจจุบันมีวีดิโอ
สอนสารพัดเรื่องตั้งแต่การทาเค้ก, การจัดช่อดอกไม้, จนกระทั่งการ
เดินสายไฟ ซึ่งนับว่าเป็นตัวช่วยการสอนอย่างดียิ่ง โดยเฉพาะการ
สาธิตให้เห็นถึงการทางานในเรื่องต่างๆ และตัวอย่างประกอบ
บทเรียนที่ชัดเจน
1.ยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนเนื้อหา และ สะดวกในการเรียน
2.เข้าถึงได้ง่าย ซึ่งปัจจุบันส่วนใหญ่ใช้งานผ่านอุปกรณ์โมบายล์ที่ต่อกับ
อินเตอร์เน็ตได้
3.ปรับปรุงข้อมูลให้ทันสมัยกระทาได้ง่าย ด้วยเครื่องมือมากมายให้
เลือกใช้
4.ปรับให้เหมาะสมกับความต้องการ ได้ง่ายกว่า
5.ประหยัดเวลา และค่าเดินทาง ของทั้งผู้เรียนและผู้สอน
ข้อเสีย
ในขณะเดียวกันก็มีข้อที่ควรพิจารณาก็คือ ผู้เรียนอาจมีความโดดเดี่ยว
ถ้าเรียนทางออนไลน์อย่างเดียว และถ้าใช้งานผ่านหน้าจอมากๆ อาจ
มีปัญหาด้านสุขภาพ
สภาพปัญหาต่างๆ
Login เข้าระบบไม่ได้ มีสาเหตุเบื้องต้นดังนี้คือ
ลืม Username และ Password หรืออย่างใดอย่างหนึ่ง
ไม่ได้เปลี่ยนภาษาของแป้ นพิมพ์ให้ตรงตามภาษา
ของ Username และ Password ที่สมาชิกได้ตั้งไว้
เช่น Username และ Password ที่ตั้งไว้เป็น
ภาษาอังกฤษ แต่ขณะที่พิมพ์เพื่อ Login เข้าระบบ กลับใช้เป็น
แป้ นพิมพ์ภาษาไทย
สภาพปัญหาต่างๆ
6.ไม่มีขอบเขต ไม่มี ไม่มีกฎเกณฑ์ตายตัว แล้วแต่ความเหมาะสม
7.เรียนได้สนุกสนานกว่า (ขึ้นอยู่กับคุณภาพของคนทาบทเรียนด้วย)
8.ต้นทุนถูกกว่า (ในประสิทธิภาพที่เท่ากันหรือสูงกว่า)
ความหมาย กำร เรียนกำรสอนที่จำลองแบบเสมือนจริง เป็น
นวัตกรรมทำงกำรศึกษำที่สถำบันกำรศึกษำ ต่ำงๆ ทั่วโลกกำลังให้ควำม
สนใจและจะขยำยตัวมำกขึ้นในศตวรรษที่ 21 กำรเรียนกำรสอนใน
ระบบนี้อำศัยสื่ออิเล็กทรอนิกส์โทรคมนำคม และเครือข่ำยคอมพิวเตอร์
เป็นหลัก ที่เรียกว่ำ Virtual Classroom หรือ Virtual Campus บ้ำง นับว่ำ
เป็นกำรพัฒนำกำร บริกำรทำงกำรศึกษำทำงไกลชนิดที่เรียกว่ำเคำะ
ประตูบ้ำนกันจริงๆ เป็นรูปแบบใหม่ของสถำบันกำรศึกษำในโลกยุคไร้
พรมแดนมีนักวิชำกำรหลำยท่ำนได้ให้ควำมหมำยของคำว่ำ Virtual
Classroom ไว้ดังนี้
ศ. ดร. ครรชิต มาลัยวงศ์ ได้กล่ำวถึงควำมหมำยของห้องเรียนเสมือน
(Virtual Classroom) ว่ำหมำยถึง กำรเรียนกำรสอนที่ผ่ำนระบบเครือข่ำย
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของผู้เรียน เข้ำไว้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริกำรเครือข่ำย (File Server) และเครื่อง
คอมพิวเตอร์ผู้ให้ บริกำรเว็บ (Web Server) อำจเป็นกำรเชื่อมโยง
ระยะใกล้หรือระยะไกล ผ่ำนทำงระบบกำรสื่อสำรและอินเทอร์เน็ตด้วย
กระบวนกำรสอนผู้สอนจะออกแบบระบบกำรเรียนกำรสอนไว้โดย
กำหนด กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน สื่อต่ำงๆ นำเสนอผ่ำนเว็บไซต์ประจำ
วิชำ
จัดสร้างเว็บเพ็จในแต่ละส่วนให้ สมบูรณ์ ผู้เรียนจะเข้าสู่เว็บไซต์
ประจาวิชาและดาเนินการเรียนไปตามระบบการเรียน ที่ผู้สอนออกแบบ
ไว้ในระบบเครือข่ายมีการจาลองสภาพแวดล้อมต่างๆ ในลักษณะเป็น
ห้องเรียนเสมือน (ครรชิต มาลัยวงศ์, 2540)
บุญเกื้อ ควรหาเวช ได้กล่าวถึงห้องเรียนเสมือน
ว่า (Virtual Classroom) หมายถึง การ จัดการเรียนการสอน
ที่ ผู้เรียนจะเรียนที่ไหนก็ได้ เช่น ที่บ้าน ที่ทางาน โดยไม่ต้องไปนั่งเรียน
ในห้อง เรียนจริงๆ ทาให้ประหยัดเวลา ค่าเดินทาง และค่าใช้จ่ายอื่นๆ
อีกมากมาย(บุญเกื้อ ควรหาเวช. 2543: 195)
โดยสรุป
กล่ำวได้ว่ำได้ว่ำ ห้องเรียนเสมือน (Virtual Classroom) หมำยถึง
กำรเรียนกำรสอนที่กระทำผ่ำนระบบเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยง
คอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้ำไว้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริกำร
เครือข่ำย (File Server) และคอมพิวเตอร์ผู้ให้บริกำรเว็บ (Web
sever) เป็นกำรเรียนกำรสอนที่จะมีกำรนัดเวลำหรือไม่นัดเวลำก็ได้และ
นัดสถำนที่ นัดตัวบุคคล เพื่อให้เกิด กำรเรียนกำรสอน มีกำรกำหนด
ตำรำงเวลำหรือตำรำงสอน เข้ำสู่กระบวนกำรเรียนกำรสอนพร้อมๆ กัน
หรือไม่พร้อมกัน มีการใช้สื่อการสอนทั้งภาพและเสียง ผู้เรียนสามารถ
ร่วมกิจกรรมกลุ่มหรือตอบ โต้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้สอนหรือ
กับเพื่อนร่วมชั้นได้เต็มที่ (คล้าย chat room) ส่วนผู้สอน
สามารถตั้งโปรแกรมติดตามพัฒนาการประเมินผลการเรียนรวมทั้ง
ประสิทธิภาพของหลักสูตรได้ ทั้งนี้ไม่จากัดเรื่องสถานที่ เวลา
(Any Where & Any Time) ของผู้เรียนในชั้นและผู้สอน
ข้อดี
1. ผู้เรียนผู้สอนอยู่ห่างกัน การเรียนการสอนทางไกล การติดต่อระหว่าง
ผู้เรียนและผู้สอนนอกจากจะกระทาโดยผ่านสื่อต่างๆ แล้ว การ
ติดต่อสื่อสารโดยตรง จะเป็นไปในรูปของการเขียนจดหมายโต้ตอบ
กัน มากกว่าการพบกันเฉพาะหน้า
2. เน้นผุ้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน ในระบบการเรียนการสอนทางไกล
ผู้เรียนจะมีอิสระในการเลือกเรียนวิชาและเลือกเวลาเรียนตามที่ตน
เห็นสมควร สามารถกาหนดสถานที่เรียนของตนเองพร้อมทั้งกาหนด
วิชาการเรียนและควบคุมการเรียนด้วยตัวเอง
ข้อดี
3. ดาเนินงานและควบคุมคุณภาพในรูปองค์กรคณะบุคคล การศึกษา
ทางไกลมีระบบควบคุมคุณภาพของการศึกษาอย่างเข้มงวดและ
เคร่งครัดที่สามารถตรวจสอบได้ทุกขั้นตอน
4. มีการจัดการศึกษาอย่างมีระบบ เริ่มจากการพัฒนาหลักสูตรและผลิต
เอกสาร สื่อการสอน และด้านการวัดและประเมินผล มีการควบคุม
มาตรฐานและคุณค่าอย่างแน่นอนชัดเจน
ข้อดี
5. มีการใช้สื่อประเภทต่างๆ หลากหลาย สื่อที่ใช้แตกต่างกันไปตาม
เนื้อหา การสอน และการจัดการสอน
6. ใช้การสื่อสารติดต่อแบบสองทางในการจัดการศึกษาทางไกล คือโดย
ทางจดหมายและโทรศัพท์
ข้อเสีย
1. อุปกรณ์และซอฟแวร์ในการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือน
มีราคาแพง ดังนั้น การเรียนการสอนด้วยวิธีนี้จึงมีข้อจากัดใน
กลุ่มนักเรียนและโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษาที่มีฐานะ
ค่อนข้างดี
2. มีความล่าช้าในการรอข้อมูลย้อนกลับ การเรียนการสอนแบบ
ห้องเรียนเสมือนมักจะเป็นการเรียนต่างเวลาตามความพร้อม
ของผู้เรียนและผู้สอน ดังนั้นนักเรียนจึงไม่สามารถได้รับคาตอบ
โดยทันทีเมื่อต้องการซักถามผู้สอน ซึ่งแตกต่างจากการเรียนการ
สอนในห้องเรียนแบบปกติที่สามารถโต้ตอบกันได้โดยทันที
ข้อเสีย
3. ผู้เรียนต้องมีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เป็นอย่างดี มิฉะนั้นสิ่งเหล่านี้
จะเป็นอุปสรรคสาคัญในการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือน
4. ปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนไม่มีความเป็นธรรมชาติและมีน้อยเกินไป
แม้ว่าการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนจะมีช่องทางที่เปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนอื่นๆได้ แต่มนุษย์ก็ยังต้องการ
การติดต่อสื่อสารที่เห็นหน้า เห็นตา ท่าทาง และการแสดงออกใน
ลักษณะต่างๆเพื่อให้เกิดความรู้สึก ความเข้าใจและความเชื่อมั่นทาง
ความคิด ซึ่งการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนไม่สามารถ
ตอบสนองข้อสงสัยหรือให้คาชี้แนะ โดยทันทีอย่างไม่มีอุปสรรค
ข้อเสีย
5. ผู้เรียนส่วนใหญ่ยังขาดความรับผิดชอบในการเรียนด้วยตนเองซึ่งเป็น
คุณลักษณะที่สาคัญในการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือน
สภาพปัญหาในด้านต่างๆ
ปฏิสัมพันธ์ทางการเรียนไม่มีความเป็นธรรมชาติและมีน้อยเกินไป
แม้ว่าการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนจะมีช่องทางที่เปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้เรียนอื่นๆได้ แต่มนุษย์ก็ยังต้องการ
การติดต่อสื่อสารที่เห็นหน้า เห็นตา ท่าทาง และการแสดงออกใน
ลักษณะต่างๆเพื่อให้เกิดความรู้สึก ความเข้าใจและความเชื่อมั่นทาง
ความคิด ซึ่งการเรียนการสอนแบบห้องเรียนเสมือนไม่สามารถ
ตอบสนองข้อสงสัยหรือให้คาชี้แนะ โดยทันทีอย่างไม่มีอุปสรรค
สรุปสิ่งที่ได้ศึกษา
ห้องเรียนเสมือน เป็นการจัดสิ่งแวดล้อมในความว่างเปล่า โดยอาศัย
ศักยภาพของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เป็นการจัดประสบการณ์
เสมือนจริงแก่ผู้เรียน นอกจากนั้นยังมีสิ่งสนับสนุน อื่นๆที่จะช่วยทาให้การมี
ปฏิสัมพันธ์แบบเผชิญหน้าที่บางโอกาสอาจจะเป็นไปไม่ได้หรือเป็นไปได้
ยากนั้นสามารถกระทาได้เสมือนบรรยากาศการพบกันจริงๆกระบวนการ
ทั้งหมดดังที่กล่าวมานี้มิใช่เป็นการเดินทางไปโรงเรียนหรือมหาวิทยาลัยแต่
จะเป็นการเข้าถึงทางด้านการพิมพ์การอ่านข้อความหรือข้อมูลผ่าน
คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับระบบคอมพิวเตอร์ที่มีซอฟแวร์เพื่อควบคุม
การสร้างบรรยากาศแบบห้องเรียนเสมือน การมีส่วนร่วมจะเป็นแบบภาวะ
ต่างเวลา ซึ่งทาให้มีผู้เรียน ในระบบห้องเรียนเสมือนสามารถเชื่อมต่อเข้าไป
ศึกษาได้ทุกที่ทุกเวลา
3.) การศึกษาทางไกล (Distance Learning
การศึกษาทางไกลเป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาให้แก่ผู้ใฝ่รู้
และใฝ่เรียนที่ไม่สามารถสละเวลาไปรับการศึกษาจากระบบ
การศึกษาปกติได้เนื่องจากภาระทางหน้าที่การงานหรือทางครอบครัว
และเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่ต้องการเพิ่มพูนหรือปรับปรุงความรู้ที่มี
อยู่ให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์ใน การทางาน
ความหมายของการศึกษาทางไกล (Distance Education)
กำรศึกษำทำงไกล (Distance Education) หมำยถึง ระบบ
กำรศึกษำที่ผู้เรียนและผู้สอนอยู่ ไกลกัน แต่สำมำรถทำให้เกิดกำร
เรียนรู้ได้โดยอำศัยสื่อกำรสอนในลักษณะของสื่อประสม กล่ำวคือ
กำรใช้สื่อต่ำงๆ ร่วมกัน เช่นตำรำเรียน เทปเสียง แผนภูมิ คอมพิวเตอร์
หรือโดยกำรใช้อุปกรณ์ทำง โทรคมนำคม และสื่อมวลชนประเภท
วิทยุและโทรทัศน์เข้ำมำช่วยในกำรแพร่กระจำย กำรศึกษำไปยังผู้ที่
ปรำรถนำจะเรียนรู้ได้อย่ำงกว้ำงขวำงทั่วทุกท้องถิ่น กำรศึกษำนี้มีทั้ง
ในระดับต้นจนถึงระดับสูงขั้นปริญญำ
การศึกษาทางไกลเป็นการศึกษาวิธีหนึ่งในการศึกษาทั้งใน
ระบบและนอกระบบโรงเรียน ที่ อาศัยสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อ
อิเลคทรอนิกส์ และสื่อบุคคล รวมทั้งระบบโทรคมนาคมในรูปแบบ
ต่างๆ เป็น หลักการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วย
ตนเองจากสื่อเหล่านั้น และอาจมีการสอนเสริม ควบคู่ไปด้วย
เพื่อให้ผู้เรียนซักถามปัญหาจากผู้สอนหรือผู้สอนเสริม โดย
การศึกษานี้อาจจะอยู่ใน รูปแบบของการศึกษาอิสระ การศึกษา
รายบุคคล หรือรูปแบบของมหาวิทยาลัยเปิดก็ได้ ตัวอย่างการ
ศึกษาทางไกลในประเทศไทย ได้แก่
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งในการจัดการเรียนการ
สอนของมหาวิทยาลัยแห่งนี้ใช้ สื่อสิ่งพิมพ์ เป็นหลัก โดยมี สื่อเสริม
คือรายการวิทยุกระจายเสียง และรายการโทรทัศน์บางวิชาอาจ มีเทป
คาสเซ็ท วีดิโอเทป หรือสื่อพิเศษอย่างอื่นร่วมด้วย นักศึกษาจะเรียน
ด้วยตนเอง โดยอาศัยสื่อ เหล่านี้เป็นหลัก แต่มหาวิทยาลัยก็จัดการ
สอนเสริมเป็นครั้งคราวซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้สอนและผู้เรียนได้พบกัน
เพื่อซักถามข้อสงสัยหรือขอคาอธิบายเพิ่มเติม
ข้อดี
1) ผู้เรียนได้เรียนกับผู้สอนที่มีความเชี่ยวชาญในเนื้อหานั้น ๆ
2) สามารถบันทึกคาบรรยายหรือการสอนส่งผ่านคอมพิวเตอร์ หรือ
โทรทัศน์ไปยังผู้เรียนได้โดยสะดวก
3) ผู้เรียนที่อยู่ในการศึกษานอกระบบ ไม่จาเป็นต้องเดินทางมายัง
สถานศึกษาเหมือนปกติ และยังสามารถทางานในสถานประกอบของ
ตนเองได้
4) ตอบสนองความต้องการในการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาคน และ
พัฒนางานในวิชาชีพของบุคคลได้ โดยไม่ต้องเข้ารับการศึกษาใน
สถานศึกษาในระบบปกติ
ข้อเสีย
1. การใช้โทรทัศน์เป็นการสื่อสารทางเดียวผู้เรียนผู้สอนไม่สามารถ
พูดจาโต้ตอบกันได้
2.โทรทัศน์มิใช่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แทนผู้สอนได้อย่างสิ้นเชิง ผู้เรียนจึง
จาเป็นต้องศึกษาบทเรียนเพิ่มเติมจากสื่ออื่น ๆประกอบด้วย หรือ
ผู้สอนต้องเป็นผู้ช่วยเหลือแนะแนวทางหรืออธิบายเพิ่มเติม
ประกอบการชมรายการหรือ บทเรียนทางโทรทัศน์ด้วย
3.อาจเกิดอุปสรรคในด้านการสื่อสาร เช่นกระแสไฟฟ้ าขัดข้อง หรือ
สิ่งแวดล้อมของผู้เรียนไม่เอื้ออานวย ทาให้ขาดสมาธิในการเรียน
ข้อเสีย
4. การผลิตรายการอาจไม่ดีพอ ทาให้การสอนไม่น่าสนใจเท่าที่ควร
5.จาเป็นต้องมีค่าใช้จ่ายสูงในการจัดซื้ออุปกรณ์ที่สามารถถ่ายทาและ
ใช้เทคนิควิธีการในการผลิตรายการที่มีคุณภาพ
สภาพปัญหาโทรทัศน์เพื่อการศึกษา
(Educational Television)
1. โทรทัศน์เป็นการสื่อสารทางเดียวผู้เรียนและผู้สอนไม่สามารถพูดจา
โต้ตอบกันได้
2. อาจเกิดอุปสรรคทางด้านการสื่อสาร เช่น กระแสไฟฟ้ าขัดข้อง หรือ
สิ่งแวดล้อมของผู้เรียนไม่เอื้ออานวย
3. จาเป็นต้องมีค่าใช้จ่ายสูงในการจัดซื้ออุปกรณ์ที่ผลิตรายการที่มี
คุณภาพได้
4. การผลิตรายการอาจไม่ดีพอทาให้การสอนไม่น่าสนใจเท่าที่ควร
5. โทรทัศน์มิใช่เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แทนผู้สอนอย่างสิ้นเชิงผู้เรียนจึง
จาเป็นต้องศึกษาบทเรียนเพิ่มเติมจากสื่ออื่นๆประกอบด้วย
สื่อประสม
1. สื่อประสมที่ดีนั้นบูรณาการได้มากกว่าสื่อเฉพาะอย่าง
2. สื่อประสมสาหรับการเรียนการสอนบางอย่าง มีข้อจากัดเกี่ยวกับ
สถานที่และเครื่องมือเครื่องใช้
3. ใช้งบประมาณและเวลามาก
สรุป
การศึกษาทางไกลเป็นการเปิดโอกาสทางการศึกษาให้แก่ผู้ใฝ่รู้
และใฝ่เรียนที่ไม่สามารถสละเวลาไปรับการศึกษาจากระบบ
การศึกษาปกติได้เนื่องจากภาระทางหน้าที่การงานหรือทาง
ครอบครัว และเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ที่ต้องการเพิ่มพูนหรือ
ปรับปรุงความรู้ที่มีอยู่ให้ทันสมัยเพื่อประโยชน์ใน การทางาน
อ้างอิง
https://sipaedumarket.wordpress.com/2014/0
3/07/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8
%A3%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8
%88%E0%B8%B1%E0%B8%81-e-
learning-
%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%A1
%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%B5
%E0%B8%81%E0%B8%84%E0%B8%A3
%E0%B8%B1%E0%B9%89%E0%B8%87/
http://www.thaiedunet.com/ten_content/what_
elearn.html

More Related Content

What's hot

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Chantana Papattha
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
Sutin Yotyavilai
 
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
Pop Nattakarn
 

What's hot (20)

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
คู่มือการใช้บทเรียนออนไลน์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็มความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ม
 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
โครงงาน เรื่อง คอมพิวเตอร์ จ๋า3
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
E learning start
E learning startE learning start
E learning start
 
Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)Synchronous and asynchronous (1)
Synchronous and asynchronous (1)
 
5555
55555555
5555
 
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshopตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
ตัวอย่างบทที่ 2 ระบบ e-learning สอนphotoshop
 
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพรายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
รายงาน เรื่อง โครงงานสื่อการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ (E-book) : เทคนิคการถ่ายภาพ
 
e-Learning : SRRT - 01
e-Learning : SRRT - 01e-Learning : SRRT - 01
e-Learning : SRRT - 01
 
D L M S
D L M SD L M S
D L M S
 
Ppt Moodle
Ppt MoodlePpt Moodle
Ppt Moodle
 
โครงงาน
โครงงาน โครงงาน
โครงงาน
 

Viewers also liked (10)

Company Profile
Company ProfileCompany Profile
Company Profile
 
Final report 412
Final report 412Final report 412
Final report 412
 
My publication
My publicationMy publication
My publication
 
Mona City Flats by MTPL
Mona City Flats by MTPLMona City Flats by MTPL
Mona City Flats by MTPL
 
2014 Book PDF
2014 Book PDF2014 Book PDF
2014 Book PDF
 
ON-HOLD PPT 2010
ON-HOLD PPT 2010ON-HOLD PPT 2010
ON-HOLD PPT 2010
 
DOH Presentation 2010
DOH Presentation 2010DOH Presentation 2010
DOH Presentation 2010
 
JudithABeckmeyer Resume
JudithABeckmeyer ResumeJudithABeckmeyer Resume
JudithABeckmeyer Resume
 
Materi kuliah ayat dan hadits ekonomi islam (1)
Materi kuliah ayat dan hadits ekonomi islam (1)Materi kuliah ayat dan hadits ekonomi islam (1)
Materi kuliah ayat dan hadits ekonomi islam (1)
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 

Similar to นวัตกรรมทางการศึกษา

Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
Changnoi Etc
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
pui003
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
Wilaiporn7
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
btusek53
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
parnee
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
Changnoi Etc
 

Similar to นวัตกรรมทางการศึกษา (20)

Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 
77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ77การเรียนการสอนบนเว็บ
77การเรียนการสอนบนเว็บ
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
Onlinelearning
OnlinelearningOnlinelearning
Onlinelearning
 
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
สไลด์บรรยายครั้งที่ 2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
Innovation2
Innovation2Innovation2
Innovation2
 
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
สารสนเทศและการสื่อสารบบที่ 2
 
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษาการนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
การนำนวัตกรรมมาใช้ในการบริหารจัดการศึกษา
 
Instructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-LearningInstructional Design for e-Learning
Instructional Design for e-Learning
 
LearnSquare Workshop
LearnSquare WorkshopLearnSquare Workshop
LearnSquare Workshop
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
 
Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 
Chap1
Chap1Chap1
Chap1
 

นวัตกรรมทางการศึกษา