SlideShare a Scribd company logo
1นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537
สรุป
ตำแหน่งกำรเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่ำงๆ (Place and Manner of Articulation)
ในการแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆในภาษานั้น การแปรเสียง
หรือกล่อมเกลาเสียงจะเกิดขึ้น ณ จุดต่างๆ (Place of Articulation) ภายในช่องออกเสียง (Vocal Tract) ของเรา ในบทนี้จะ
กล่าวถึงบริเวณต่างๆ ที่มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นตาแหน่งที่เกิดของเสียงในภาษาต่างๆ ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง
(Manner of Articulation) แบบต่างๆ ที่สามารถจะเกิดขึ้นได้ในภาษาต่างๆ โดยละเอียด โดยจะยกตัวอย่างเสียงต่างใน
ภาษาประกอบด้วย
ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ (Place of Articulation)
คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงโดยรวม แต่ถ้าจะ
แยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐำนซึ่งได้แก่ อวัยวะ
ต่อไปนี้
- ริมฝีปากบน (upper lip)
- ฟันบน (upper teeth)
- ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge)
- เพดานแข็ง (hard palate)
- เพดานอ่อน (soft palate หรือ velum)
- ลิ้นไก่ (uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของช่องปาก
หรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้
2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่งได้แก่ อวัยวะ
ต่อไปนี้คือ
- ริมฝีปากล่าง (Lower lip)
- ลิ้น (tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแก
เสียง ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น กระแสอากาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal
tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่
2นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537
ได้ (Active Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้าไปใกล้, หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator)
เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของ
การกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่าลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation)ณ จุดเกิดเสียงต่างๆกัน และคาที่ใช้
สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่
1.Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียงแรกของคาว่า“my” ใน
ภาษอังกฤษ เสียงแรกของคาว่า “ปู” ในภาษาไทย
2.Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรก
ของคาว่า “เฝ้า” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “van” ในภาษาอังกฤษ
3.Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้า
ไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ
4.Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้น
เคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่น เสียงแรกของคาว่า “นก” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ
5.Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง) เกิดจากปลาย
ลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface) หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง
เช่น เสียงตัว “ร” หรือ “ส” ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียง และเสียง “r” ในภาษาอังกฤษสาเนียง
อเมริกันบางสาเนียง
6.Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจากการใช้ส่วนถัดปลายลิ้น
เคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาว่า “show” ในภาษาอังกฤษ
7.Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue) เคลื่อนเข้าไปหา
เพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก” ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรกของคาว่า “nyamuk” ในภาษา
มาเลเซีย ซึ่งแปลว่า ยุง
8.Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดานอ่อน เช่น เสียงแรกของ
คาว่า “คน” ในภาษาไทย เสียงแรกของคาว่า “give” ในภาษาอังกฤษ
9.Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียงแรกของคาว่า “rouge”
ในภาษาฝรั่งเศส
10.Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลังเข้าหาผนังช่องคอ
ด้านหลัง เช่น เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง” ในภาษาอาหรับ ([?amm])
3นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537
11.Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง) เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอาจจะเคลื่อนเข้ามาติดกัน เช่น
เสียงแรกของคาว่า “home” ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่” ในภาษาไทย
ตำรำงแสดงตำแหน่งของกำรเกิดเสียง
Point of articulation Active articulators Passive articulators Examples
1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡]
2. Labiodental Lower lip Upper teeth [M,f,v,V]
3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D]
4. Alveolar Tip of the tongue Alveolar ridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë]
5. Post alveolar Tip of the tongue Post alveolar [S,!]
6. Retroflex Tip of the tongue Post alveolar [÷,ê,§,½,ñ,]
4นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537
7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z]
8. Palatal Front of the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´]
9. Velar Back of the tongue Soft palate [N,k,g,x]
10. Uvular Back of the tongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R]
11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the
pharynx
[ð,?]
12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,]
13. Labial-palatal Lower lip
Center of the tongue
Upper lip
Hard palate
[ç]
14. Labial-Velar Lower lip
Back of the tongue
Upper lip
Soft palate
[kƒp,gƒb,w]
สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล (Phonetics)
สระ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
i: see /si:/ อี
i any /'eni/ อิ
ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี)
e ten /ten/ เอะ
æ hat /hæt/ แอะ
ɑ: arm /ɑ:m/ อา
ɒ got /gɒt/ เอาะ
5นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537
ɔ: saw /sɔ:/ ออ
ʊ put /pʊt/ อู
u: too /tu:/ อู
u usual /'ju:ʒuəl/ อุ
ʌ cup /kʌp/ อะ
ɜ: fur /fɜ:/ เออ
ə ago /ə'gəʊ/ เออะ
eɪ pay /peɪ/ เอ
əʊ home /həʊm/ โอ
aɪ five /faɪv/ ไอ
aʊ now /naʊ/ เอา, อาว
ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย
ɪə near /nɪə/ เอีย
eə hair /heə/ แอ
ʊə pure /pjʊə/ อิว
6นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537
พยัญชนะ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
p pen /pen/ พ
b bad /bæd/ บ
t tea /ti:/ ท
d did /dɪd/ ด
k cat /kæt/ ค
g got /gɒt/ ก
tʃ chin /tʃɪn/ ช
dʒ June /dʒu:n/ จ
f fall /fɔ:l/ ฟ
v van /væn/ ฟ
θ thin /θɪn/ ธ
ð then /ðen/ ธ
s so /səʊ/ ส
z zoo /zu:/ ส
ʃ she /ʃi:/ ช
ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ
7นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537
h how /haʊ/ ฮ
m man /mæn/ ม
n no /nəʊ/ น
ŋ sing /sɪŋ/ ง
l leg /leg/ ล
r red /red/ ร
j yes /jes/ ย
w wet /wet/ ว
8นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537
บรรรณำนุกรม
การออกเสียงในภาษาอังกฤษ.(2557).เข้าถึงได้จาก:http://th.wiktionary.org/wiki/ วิกิพจนานุกรม: การออกเสียงใน
ภาษาอังกฤษ. (วันที่สืบค้นข้อมูล:15 กุมภาพันธ์2558).
ตาแหน่งของการออกเสียงและวิธีออกเสียง.(2557).เข้าถึงได้จาก:
http://http://grgl500phonetics.blogspot.com/2010/11/3-place-and-manner-of-articulation.html
http://th.wikipedia.org/wiki/ตาแหน่งเกิดเสียง
(วันที่สืบค้นข้อมูล:15 กุมภาพันธ์2558).

More Related Content

What's hot

เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินkrubenjamat
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Wilawun Wisanuvekin
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Satapon Yosakonkun
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
thunchanokteenzaa54
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
gueste0411f21
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติAnchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
Ponpirun Homsuwan
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
Aunop Nop
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
Nanthida Chattong
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
Aj.Mallika Phongphaew
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
Wilawun Wisanuvekin
 
ค่ายคุณธรรม
ค่ายคุณธรรมค่ายคุณธรรม
ค่ายคุณธรรมphochai
 
แผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องแผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้อง
Thanaporn choochart
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
Piyarerk Bunkoson
 

What's hot (20)

เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่นคู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
คู่มือการใช้ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติภาษาบาลี ชุดที่ ๓   นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
ภาษาบาลี ชุดที่ ๓ นามศัพท์ ลิงค์ วจนะ วิภัตติ
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษการเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
การเทียบสระภาษาไทยอังกฤษ
 
บทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุมบทที่ 10 การประชุม
บทที่ 10 การประชุม
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
ค่ายคุณธรรม
ค่ายคุณธรรมค่ายคุณธรรม
ค่ายคุณธรรม
 
แผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้องแผ่นพับคำพ้อง
แผ่นพับคำพ้อง
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 

Similar to สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
irinth
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
yoiisina
 
56030648
5603064856030648
56030648
Yuri YR
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557Sunthon Aged
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phoneticschepeach
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticschepeach
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
Palm Prachya
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
Oil Panadda'Chw
 
การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467
Wuttikorn Buajoom
 
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงสรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
Parom's Raviwong
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
Apii Apichot
 
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
yoiisina
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงyoiisina
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
yoiisina
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
สรุปสรุป

Similar to สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล (20)

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
 
56030648
5603064856030648
56030648
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phonetics
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phonetics
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467
 
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงสรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
 
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล

  • 1. 1นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537 สรุป ตำแหน่งกำรเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่ำงๆ (Place and Manner of Articulation) ในการแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆในภาษานั้น การแปรเสียง หรือกล่อมเกลาเสียงจะเกิดขึ้น ณ จุดต่างๆ (Place of Articulation) ภายในช่องออกเสียง (Vocal Tract) ของเรา ในบทนี้จะ กล่าวถึงบริเวณต่างๆ ที่มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นตาแหน่งที่เกิดของเสียงในภาษาต่างๆ ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation) แบบต่างๆ ที่สามารถจะเกิดขึ้นได้ในภาษาต่างๆ โดยละเอียด โดยจะยกตัวอย่างเสียงต่างใน ภาษาประกอบด้วย ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ (Place of Articulation) คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงโดยรวม แต่ถ้าจะ แยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐำนซึ่งได้แก่ อวัยวะ ต่อไปนี้ - ริมฝีปากบน (upper lip) - ฟันบน (upper teeth) - ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge) - เพดานแข็ง (hard palate) - เพดานอ่อน (soft palate หรือ velum) - ลิ้นไก่ (uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของช่องปาก หรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้ 2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่งได้แก่ อวัยวะ ต่อไปนี้คือ - ริมฝีปากล่าง (Lower lip) - ลิ้น (tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแก เสียง ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น กระแสอากาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่
  • 2. 2นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537 ได้ (Active Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้าไปใกล้, หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator) เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของ การกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่าลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation)ณ จุดเกิดเสียงต่างๆกัน และคาที่ใช้ สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่ 1.Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียงแรกของคาว่า“my” ใน ภาษอังกฤษ เสียงแรกของคาว่า “ปู” ในภาษาไทย 2.Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรก ของคาว่า “เฝ้า” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “van” ในภาษาอังกฤษ 3.Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้า ไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ 4.Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้น เคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่น เสียงแรกของคาว่า “นก” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ 5.Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง) เกิดจากปลาย ลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface) หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงตัว “ร” หรือ “ส” ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียง และเสียง “r” ในภาษาอังกฤษสาเนียง อเมริกันบางสาเนียง 6.Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจากการใช้ส่วนถัดปลายลิ้น เคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาว่า “show” ในภาษาอังกฤษ 7.Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue) เคลื่อนเข้าไปหา เพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก” ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรกของคาว่า “nyamuk” ในภาษา มาเลเซีย ซึ่งแปลว่า ยุง 8.Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดานอ่อน เช่น เสียงแรกของ คาว่า “คน” ในภาษาไทย เสียงแรกของคาว่า “give” ในภาษาอังกฤษ 9.Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียงแรกของคาว่า “rouge” ในภาษาฝรั่งเศส 10.Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลังเข้าหาผนังช่องคอ ด้านหลัง เช่น เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง” ในภาษาอาหรับ ([?amm])
  • 3. 3นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537 11.Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง) เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอาจจะเคลื่อนเข้ามาติดกัน เช่น เสียงแรกของคาว่า “home” ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่” ในภาษาไทย ตำรำงแสดงตำแหน่งของกำรเกิดเสียง Point of articulation Active articulators Passive articulators Examples 1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡] 2. Labiodental Lower lip Upper teeth [M,f,v,V] 3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D] 4. Alveolar Tip of the tongue Alveolar ridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë] 5. Post alveolar Tip of the tongue Post alveolar [S,!] 6. Retroflex Tip of the tongue Post alveolar [÷,ê,§,½,ñ,]
  • 4. 4นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537 7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z] 8. Palatal Front of the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´] 9. Velar Back of the tongue Soft palate [N,k,g,x] 10. Uvular Back of the tongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R] 11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the pharynx [ð,?] 12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,] 13. Labial-palatal Lower lip Center of the tongue Upper lip Hard palate [ç] 14. Labial-Velar Lower lip Back of the tongue Upper lip Soft palate [kƒp,gƒb,w] สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล (Phonetics) สระ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย i: see /si:/ อี i any /'eni/ อิ ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี) e ten /ten/ เอะ æ hat /hæt/ แอะ ɑ: arm /ɑ:m/ อา ɒ got /gɒt/ เอาะ
  • 5. 5นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537 ɔ: saw /sɔ:/ ออ ʊ put /pʊt/ อู u: too /tu:/ อู u usual /'ju:ʒuəl/ อุ ʌ cup /kʌp/ อะ ɜ: fur /fɜ:/ เออ ə ago /ə'gəʊ/ เออะ eɪ pay /peɪ/ เอ əʊ home /həʊm/ โอ aɪ five /faɪv/ ไอ aʊ now /naʊ/ เอา, อาว ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย ɪə near /nɪə/ เอีย eə hair /heə/ แอ ʊə pure /pjʊə/ อิว
  • 6. 6นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537 พยัญชนะ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย p pen /pen/ พ b bad /bæd/ บ t tea /ti:/ ท d did /dɪd/ ด k cat /kæt/ ค g got /gɒt/ ก tʃ chin /tʃɪn/ ช dʒ June /dʒu:n/ จ f fall /fɔ:l/ ฟ v van /væn/ ฟ θ thin /θɪn/ ธ ð then /ðen/ ธ s so /səʊ/ ส z zoo /zu:/ ส ʃ she /ʃi:/ ช ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ
  • 7. 7นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537 h how /haʊ/ ฮ m man /mæn/ ม n no /nəʊ/ น ŋ sing /sɪŋ/ ง l leg /leg/ ล r red /red/ ร j yes /jes/ ย w wet /wet/ ว
  • 8. 8นายรณภพ ทองนา รหัส:56030537 บรรรณำนุกรม การออกเสียงในภาษาอังกฤษ.(2557).เข้าถึงได้จาก:http://th.wiktionary.org/wiki/ วิกิพจนานุกรม: การออกเสียงใน ภาษาอังกฤษ. (วันที่สืบค้นข้อมูล:15 กุมภาพันธ์2558). ตาแหน่งของการออกเสียงและวิธีออกเสียง.(2557).เข้าถึงได้จาก: http://http://grgl500phonetics.blogspot.com/2010/11/3-place-and-manner-of-articulation.html http://th.wikipedia.org/wiki/ตาแหน่งเกิดเสียง (วันที่สืบค้นข้อมูล:15 กุมภาพันธ์2558).