SlideShare a Scribd company logo
1
ตำแหน่งของกำรออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง (Place and Manner of Articulation)
ในการแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆในภาษานั้น
การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงจะเกิดขึ้น ณ จุดต่างๆ (Place of Articulation) ภายในช่องออกเสียง
(Vocal Tract) ของเรา ในบทนี้จะกล่าวถึงบริเวณต่างๆ ที่มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นตาแหน่งที่เกิดของเสียง
ในภาษาต่างๆ ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation) แบบต่างๆ ที่สามารถจะเกิดขึ้น
ได้ในภาษาต่างๆ โดยละเอียด โดยจะยกตัวอย่างเสียงต่างในภาษาประกอบด้วย
ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ (Place of Articulation)
คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงโดยรวม
ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
1.กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐำน ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้
-ริมฝีปากบน (upper lip)
-ฟันบน (upper teeth)
-ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge)
-เพดานแข็ง (hard palate)
-เพดานอ่อน (softpalate หรือ velum)
-ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของ
ช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้
2.กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้ คือ
-ริมฝีปากล่าง (Lower lip)
-ลิ้น (tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแกเสียง
ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น กระแสอากาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal
tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active
Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้าไปใกล้, หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator)
เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ
ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่าลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation) ณ
จุดเกิดเสียงต่างๆกัน
และคาที่ใช้สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่
2
Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น
เสียงแรกของคาว่า“my” ในภาษอังกฤษ เสียงแรกของคาว่า “ปู” ในภาษาไทย
Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น
เสียงแรกของคาว่า “เฝ้า” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “van” ในภาษาอังกฤษ
Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน)
เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ
Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก)
เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่นเสียงแรกของคาว่า “นก” ในภาษาไทย,
เสียงแรกของคาว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ
Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง)
เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface)
หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่นเสียงตัว “ร” หรือ “ส”
ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียง และเสียง “r”ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง
Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก)
เกิดจากการใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น
เสียงแรกของคาว่า “show” ในภาษาอังกฤษ
Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (frontof the tongue)
เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็ง เช่นเสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก” ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรกของคาว่า “nyamuk”
ในภาษามาเลเซีย ซึ่งแปลว่า ยุง
Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดานอ่อน เช่น
เสียงแรกของคาว่า “คน” ในภาษาไทย เสียงแรกของคาว่า “give” ในภาษาอังกฤษ
Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียงแรกของคาว่า
“rouge” ในภาษาฝรั่งเศส
Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง)
เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลังเข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง เช่น เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง”
ในภาษาอาหรับ ([?amm])
Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง) เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอาจจะเคลื่อนเข้ามาติดกัน เช่น
เสียงแรกของคาว่า “home” ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่” ในภาษาไทย
3
Point of
articulation
Active articulators Passive articulators Examples
1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡]
2. Labiodental Lower lip Upper teeth [M,f,v,V]
3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D]
4. Alveolar Tip of the tongue Alveolar ridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë]
5. Postalveolar Tip of the tongue Post alveolar [S,!]
6. Retroflex Tip of the tongue Post alveolar [÷,ê,§,½,ñ,]
7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z]
8. Palatal Frontof the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´]
9. Velar Back of thetongue Softpalate [N,k,g,x]
10. Uvular Back of thetongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R]
11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the
pharynx
[ð,?]
12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,]
13. Labial-palatal Lower lip
Center of the tongue
Upper lip
Hard palate
[ç]
14. Labial-Velar Lower lip
Back of thetongue
Upper lip
Softpalate
[kƒp,gƒb,w]
4
สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล (IPA)
สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA)
คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสาหรับการแทนเสียงพูดในทุ
กภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้
โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ากัน
สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นามาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมันสัญลักษณ์บางตัวนามาจากอักษรกรีก และบ
างตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย
สัญลักษณ์แทนเสียงสระ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
i: see /si:/ อี
i any /'eni/ อิ
ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี)
e ten /ten/ เอะ
æ hat /hæt/ แอะ
ɑ: arm /ɑ:m/ อา
ɒ got /gɒt/ เอาะ
ɔ: saw /sɔ:/ ออ
ʊ put /pʊt/ อู
5
u: too /tu:/ อู
u
usual /'ju:ʒ
uəl/
อุ
ʌ cup /kʌp/ อะ
ɜ: fur /fɜ:/ เออ
ə
ago /ə'gəʊ
/
เออะ
eɪ pay /peɪ/ เอ
əʊ
home /həʊ
m/
โอ
aɪ five /faɪv/ ไอ
aʊ now /naʊ/ เอา, อาว
ɔɪ
join /dʒɔɪn
/
ออย
ɪə near /nɪə/ เอีย
eə hair /heə/ แอ
6
ʊə pure /pjʊə/ อิว
สัญลักษณ์แทนเสียงพยัญชนะ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
p pen /pen/ พ
b bad /bæd/ บ
t tea /ti:/ ท
d did /dɪd/ ด
k cat /kæt/ ค
g got /gɒt/ ก
tʃ chin /tʃɪn/ ช
dʒ June /dʒu:n/ จ
f fall /fɔ:l/ ฟ
v van /væn/ ฟ
θ thin /θɪn/ ธ
7
ð then /ðen/ ธ
s so /səʊ/ ส
z zoo /zu:/ ส
ʃ she /ʃi:/ ช
ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ
h how /haʊ/ ฮ
m man /mæn/ ม
n no /nəʊ/ น
ŋ sing /sɪŋ/ ง
l leg /leg/ ล
r red /red/ ร
j yes /jes/ ย
w wet /wet/ ว
8
นำงสำวอำรยำศรีพลำย56030570

More Related Content

What's hot

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงสรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
Parom's Raviwong
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Wilawun Wisanuvekin
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
Lilrat Witsawachatkun
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
Wilawun Wisanuvekin
 
Place of articulation consonants
Place of articulation   consonantsPlace of articulation   consonants
Place of articulation consonants
Niruba Sarath Jayasundara
 
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
Siriya Khaosri
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
Princess Mind
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ssusere4367d
 
Unit 1 about myself
Unit 1 about myselfUnit 1 about myself
Unit 1 about myself
Nontaporn Pilawut
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
Nanthida Chattong
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยKittitus Sa-admoang
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
นางอรสา บุญยาพงษ์
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
Jarinya Chaiyabin
 

What's hot (20)

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงสรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
Place of articulation consonants
Place of articulation   consonantsPlace of articulation   consonants
Place of articulation consonants
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
ระบบสัทอักษรภาษาจีน(พินอิน)
 
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสมวิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
วิธีสอนโดยใช้บทเรียนที่มีสื่อประสม
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 
Unit 1 about myself
Unit 1 about myselfUnit 1 about myself
Unit 1 about myself
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทยระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 

Similar to ตำแหน่งของการออกเสียง

56030648
5603064856030648
56030648
Yuri YR
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
irinth
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557Sunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
yoiisina
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงyoiisina
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
Oil Panadda'Chw
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phoneticschepeach
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticschepeach
 
การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467
Wuttikorn Buajoom
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
Apii Apichot
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล nuengrutaii
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
Vic Phanpaporn Saardaim
 
สรุป
สรุปสรุป
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
Phonetic 56030521
Phonetic 56030521Phonetic 56030521
Phonetic 56030521
Panrada Sanguankaew
 

Similar to ตำแหน่งของการออกเสียง (20)

56030648
5603064856030648
56030648
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของก่ารออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phonetics
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phonetics
 
การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Phonetic 56030521
Phonetic 56030521Phonetic 56030521
Phonetic 56030521
 

Recently uploaded

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 

Recently uploaded (6)

bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 

ตำแหน่งของการออกเสียง

  • 1. 1 ตำแหน่งของกำรออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง (Place and Manner of Articulation) ในการแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง (Articulation) เพื่อให้เกิดเป็นเสียงพยัญชนะต่างๆในภาษานั้น การแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงจะเกิดขึ้น ณ จุดต่างๆ (Place of Articulation) ภายในช่องออกเสียง (Vocal Tract) ของเรา ในบทนี้จะกล่าวถึงบริเวณต่างๆ ที่มีความเป็นไปได้ที่จะเป็นตาแหน่งที่เกิดของเสียง ในภาษาต่างๆ ตลอดจนลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation) แบบต่างๆ ที่สามารถจะเกิดขึ้น ได้ในภาษาต่างๆ โดยละเอียด โดยจะยกตัวอย่างเสียงต่างในภาษาประกอบด้วย ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ (Place of Articulation) คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียงโดยรวม ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1.กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐำน ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้ -ริมฝีปากบน (upper lip) -ฟันบน (upper teeth) -ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge) -เพดานแข็ง (hard palate) -เพดานอ่อน (softpalate หรือ velum) -ลิ้นไก่(uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบนของ ช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้ 2.กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่งได้แก่อวัยวะต่อไปนี้ คือ -ริมฝีปากล่าง (Lower lip) -ลิ้น (tongue) ซิงเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่องอวัยวะในการแกเสียง ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น กระแสอากาซที่เดินทางผ่านเข้ามาในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะกระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้าไปใกล้, หรือเข้าไปชิดอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้(Passive Articulator) เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่าลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation) ณ จุดเกิดเสียงต่างๆกัน และคาที่ใช้สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่
  • 2. 2 Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียงแรกของคาว่า“my” ในภาษอังกฤษ เสียงแรกของคาว่า “ปู” ในภาษาไทย Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “เฝ้า” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “van” ในภาษาอังกฤษ Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” ในภาษาอังกฤษ Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่นเสียงแรกของคาว่า “นก” ในภาษาไทย, เสียงแรกของคาว่า “tip” ในภาษาอังกฤษ Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง) เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface) หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่นเสียงตัว “ร” หรือ “ส” ในตาแหน่งพยัญชนะต้นของภาษาไทยถิ่นใต้บางสาเนียง และเสียง “r”ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจากการใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคาว่า “show” ในภาษาอังกฤษ Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (frontof the tongue) เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็ง เช่นเสียงแรกของคาที่แปลว่า “ยาก” ในภาษาไทยถิ่นอีสาน [ø] และเสียงแรกของคาว่า “nyamuk” ในภาษามาเลเซีย ซึ่งแปลว่า ยุง Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดานอ่อน เช่น เสียงแรกของคาว่า “คน” ในภาษาไทย เสียงแรกของคาว่า “give” ในภาษาอังกฤษ Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียงแรกของคาว่า “rouge” ในภาษาฝรั่งเศส Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลังเข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง เช่น เสียงแรกในคาที่แปลว่า “ลุง” ในภาษาอาหรับ ([?amm]) Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง) เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอาจจะเคลื่อนเข้ามาติดกัน เช่น เสียงแรกของคาว่า “home” ในภาษาอังกฤษ, เสียงแรกของคาว่า “อู่” ในภาษาไทย
  • 3. 3 Point of articulation Active articulators Passive articulators Examples 1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡] 2. Labiodental Lower lip Upper teeth [M,f,v,V] 3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D] 4. Alveolar Tip of the tongue Alveolar ridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë] 5. Postalveolar Tip of the tongue Post alveolar [S,!] 6. Retroflex Tip of the tongue Post alveolar [÷,ê,§,½,ñ,] 7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z] 8. Palatal Frontof the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´] 9. Velar Back of thetongue Softpalate [N,k,g,x] 10. Uvular Back of thetongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R] 11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the pharynx [ð,?] 12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,] 13. Labial-palatal Lower lip Center of the tongue Upper lip Hard palate [ç] 14. Labial-Velar Lower lip Back of thetongue Upper lip Softpalate [kƒp,gƒb,w]
  • 4. 4 สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล (IPA) สัทอักษรสากล (International Phonetic Alphabet: IPA) คือสัทอักษรชุดหนึ่งที่พัฒนาโดยสมาคมสัทศาสตร์สากล โดยมุ่งหมายให้เป็นสัญกรณ์มาตรฐานสาหรับการแทนเสียงพูดในทุ กภาษา นักภาษาศาสตร์ใช้สัทอักษรสากลเพื่อแทนหน่วยเสียงต่าง ๆที่อวัยวะออกเสียงของมนุษย์สามารถเปล่งเสียงได้ โดยแทนหน่วยเสียงแต่ละหน่วยเสียงด้วยสัญลักษณ์เฉพาะที่ไม่ซ้ากัน สัญลักษณ์ในสัทอักษรสากลนั้นส่วนใหญ่นามาจากหรือดัดแปลงจากอักษรโรมันสัญลักษณ์บางตัวนามาจากอักษรกรีก และบ างตัวประดิษฐ์ขึ้นใหม่โดยไม่สัมพันธ์กับอักษรภาษาใดเลย สัญลักษณ์แทนเสียงสระ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย i: see /si:/ อี i any /'eni/ อิ ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี) e ten /ten/ เอะ æ hat /hæt/ แอะ ɑ: arm /ɑ:m/ อา ɒ got /gɒt/ เอาะ ɔ: saw /sɔ:/ ออ ʊ put /pʊt/ อู
  • 5. 5 u: too /tu:/ อู u usual /'ju:ʒ uəl/ อุ ʌ cup /kʌp/ อะ ɜ: fur /fɜ:/ เออ ə ago /ə'gəʊ / เออะ eɪ pay /peɪ/ เอ əʊ home /həʊ m/ โอ aɪ five /faɪv/ ไอ aʊ now /naʊ/ เอา, อาว ɔɪ join /dʒɔɪn / ออย ɪə near /nɪə/ เอีย eə hair /heə/ แอ
  • 6. 6 ʊə pure /pjʊə/ อิว สัญลักษณ์แทนเสียงพยัญชนะ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย p pen /pen/ พ b bad /bæd/ บ t tea /ti:/ ท d did /dɪd/ ด k cat /kæt/ ค g got /gɒt/ ก tʃ chin /tʃɪn/ ช dʒ June /dʒu:n/ จ f fall /fɔ:l/ ฟ v van /væn/ ฟ θ thin /θɪn/ ธ
  • 7. 7 ð then /ðen/ ธ s so /səʊ/ ส z zoo /zu:/ ส ʃ she /ʃi:/ ช ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ h how /haʊ/ ฮ m man /mæn/ ม n no /nəʊ/ น ŋ sing /sɪŋ/ ง l leg /leg/ ล r red /red/ ร j yes /jes/ ย w wet /wet/ ว