SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
ตําแหนงการเกิดเสียง และ
สัญลักษณแทนเสียงสากล
จัดทําโดย
นายจตุรภัทร บัวสถิตย
รหัสประจําตัวนักศึกษา 56030480
สาขาวิชา ครุศาสตรเกษตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
2558
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 2
ตําแหนงการเกิดเสียง
ฐานกรณ ในทางสัทศาสตร เปนตําแหนงกําเนิดเสียงพยัญชนะ คือตําแหนงในชองเสียง (vocal tract) ที่เกิดการกีดขวาง จากการ
เคลื่อนตําแหนงของ กรณ (โดยปกติคือ สวนของลิ้น) และ ฐาน (ปกติคือ สวนของผนังในปาก) โดยเมื่อรวมกับ ลักษณะการออก
เสียง (manner of articulation) และ การเปลงเสียงพูด (phonation) ทําใหเกิดเสียงพยัญชนะที่แตกตางกัน
ชนิดของการออกเสียง
ฐานกรณนั้นแยกออกเปนการออกเสียงแบบ ฐาน และ กรณ ตัวอยางเชน
 ริมฝปากลางเปนกรณ (สวนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัส ริมฝปากบนซึ่งเปนฐาน (สวนไมเคลื่อนที่) เปนการออกเสียง
จากริมฝปากคู (bilabial) เชน เสียง [m])
 ริมฝปากลางเปนกรณ (สวนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัสกับ ฟนบน(ฐาน) เปน เสียงจากริมฝปากลาง-ฟนบน
(labiodental) เชน เสียง [f])
 การสัมผัสเพดานแข็งดวยสวนหนา และ สวนหลัง ของลิ้น โดยหากใชสวนหนาสัมผัส เรียก เสียงปลายลิ้นมวน
(retroflex)
 หากสวนหลังลิ้นสัมผัส เรียก เสียงจากหลังลิ้น-เพดานแข็ง (dorsal-palatal) หรือ โดยทั่วไปเรียกเพียง ตาลุชะ/เสียงจาก
เพดานแข็ง (palatal)
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 3
ตําแหนงเกิดเสียง (ฐาน และ กรณ)
1. ริมฝปาก ดานนอก(Exo-labial)
2. ริมฝปาก ดานใน (Endo-labial)
3. ฟน (Dental)
4. ปุมเหงือก (Alveolar)
5. หลังปุมเหงือก (Post-alveolar)
6. หนาเพดานแข็ง (Pre-palatal)
7. เพดานแข็ง (Palatal)
8. เพดานออน (Velar)
9. ลิ้นไก (Uvular)
10. ชองคอ (Pharyngeal)
11. เสนเสียง (Glottal)
12. ลิ้นปดกลองเสียง (Epiglottal)
13. โคนลิ้นในชองคอ (Radical)
14. ผนังลิ้นสวนหลัง (Postero-dorsal)
15. ผนังลิ้นสวนหนา (Antero-dorsal)
16. ปลายลิ้น (Laminal)
17. ปลายสุดลิ้น (Apical)
18. ใตปลายสุดลิ้น (Sub-apical)
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 4
เสียงแบบกรณมีทั้งหมด 5 เสียง คือ
1. เสียงพยัญชนะริมฝปาก (labial consonant) เปนเสียงจากริมฝปาก หรือ โอษฐชะ
2. เสียงพยัญชนะโพรงปาก (coronal consonant) เปนเสียงจากการใชสวนปลายออนตัวของลิ้น
3. เสียงพยัญชนะหลังลิ้น (dorsal consonant) เปนเสียงจากการใชสวนกลาง หรือ สวนหลังของลิ้น
4. เสียงพยัญชนะโคนลิ้น (radical consonant) เปนเสียงจากการใชโคนลิ้น และ ลิ้นปดกลองเสียง (epiglottis)
5. เสียงพยัญชนะเสนเสียง (laryngeal consonants) เปนเสียงจากกลองเสียง (larynx)
การออกเสียงเหลานี้สามารถเปลงแยกจากกัน หรือ สามารถออกเปนเสียงผสม เรียก การออกเสียงผสม (coarticulation)
การออกเสียงแบบฐาน เปนการออกเสียงที่ไมมีการแบงแยกชัดเจน โดยตําแหนงการออกเสียง เสียงจากลิ้น-ริมฝปากบน
(linguolabial) และ เสียงลิ้นระหวางฟน (interdental), เสียงจากลิ้นระหวางฟน และ เสียงจากฟน/ทันตชะ (dental), เสียงจาก
ฟน และ เสียงจากปุมเหงือก (alveolar), เสียงจากปุมเหงือก และ เสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (palatal), เสียงจากเพดานแข็ง
และ เสียงจากเพดานออน (velar), เสียงจากเพดานออน และ เสียงจากลิ้นไก (uvular) อาจเชื่อมโยงเหลื่อมกัน และ การออกเสียง
พยัญชนะอาจมีการออกเสียงในตําแหนงก้ํากึ่ง
นอกจากนั้นแลว ในการใชลิ้นออกเสียง สวนที่ใชสัมผัสอาจเปนสวน ผิวบนของลิ้น (blade) ที่ใชในการสัมผัส (เสียงพยัญชนะ
ใชปลายลิ้น - en:laminal consonant) ,สวนยอดของปลายลิ้น (เสียงพยัญชนะใชปลายสุดลิ้น- apical consonant), หรือ ผิวใต
ลิ้น (เสียงพยัญชนะใชใตปลายสุดลิ้น - sub-apical consonant) ซึ่งเสียงเหลานี้ก็อาจผสมผสานก้ํากึ่งไมไดแบงแยกชัดเจน
เสียงพยัญชนะที่มีตําแหนงออกเสียงเหมือนกัน เรียกวามี ฐานกรณรวม เชน เสียงจากปุมเหงือกในภาษาอังกฤษ ดังเสียงของ
อักษณตอไปนี้ n, t, d, s, z, l เปนตน
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 5
ตารางการออกเสียงและฐานกรณ
ลักษณะการออกเสียง ฐานกรณ
โอษฐชะ/เสียงจากริมฝปาก (Labial) เสียงจากริมฝปากคู (Bilabial)
เสียงจากริมฝปากลาง-ฟนบน (Labiodental)
สวนโพรงชองปาก
(Coronal)
เสียงใชปลายลิ้น (Laminal) เสียงจากลิ้น-ริมฝปากบน (Linguolabial)
เสียงลิ้นระหวางฟน (Interdental)
เสียงใชปลายลิ้น-ฟน (Laminal dental)
เสียงใชปลายลิ้น-ฟน-ปุมเหงือก (Laminal denti-alveolar)
เสียงใชปลายลิ้น-ปุมเหงือก (Laminal alveolar)
เสียงใชปลายลิ้น-หลังปุมเหงือก (Laminal postalveolar)
("เสียงปลายลิ้นมวน" (retroflex) #1)
เสียงโกงลิ้น (Domed)
(โกงกลางลิ้นโคงขึ้นเปนทรงกลม
สัมผัสเพดานแข็งบางสวน)
เสียงโกงลิ้น-หลังปุมเหงือก (Domed postalveolar)
("เสียงจากลิ้น-หลังปุมเหงือก" (palato-alveolar))
เสียงใชเพดานแข็ง
(Palatalized)
เสียงจากเพดานแข็ง-หลังปุมเหงือก (Palatalized postalveolar)
("เสียงจากปุมเหงือก-เพดานแข็ง" (alveolo-palatal))
เสียงใชปลายสุดลิ้น (Apical) เสียงจากปลายสุดลิ้น-ฟน (Apical dental)
เสียงจากปลายสุดลิ้น-ปุมเหงือก (Apical alveolar)
เสียงจากปลายสุดลิ้น-หลังปุมเหงือก (Apical postalveolar)
("เสียงปลายลิ้นมวน" (retroflex) #2)
เสียงใชใตปลายสุดลิ้น (Sub-
apical)
เสียงจากใตปลายสุดลิ้น-(หนา)เพดานแข็ง (Sub-apical
(pre)palatal)
("เสียงปลายลิ้นมวน" (retroflex) #3)
หลังลิ้น(Dorsal) หนาเพดานแข็ง (Prepalatal)
เสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (Palatal)
เสียงจากหนาเพดานออน (Prevelar or medio-palatal)
เสียงจากเพดานออน (Velar)
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 6
เสียงจากหลังเพดานออน (Postvelar)
เสียงจากลิ้นไก (Uvular)
โคนลิ้นในชองคอ (Radical) เสียงจากชองคอสวนบน (Upper pharyngeal)
เสียงจากชองคอสวนลาง (Lower pharyngeal)
เสียงพยัญชนะจากลิ้นปดกลองเสียง-ชองคอ ( Epiglotto-
pharyngeal)
เสียงพยัญชนะจากลิ้นปดกลองเสียง (Epiglottal
consonant">(Ary-)epiglottal)
กลองเสียง (Laryngeal) เสียงจากเสนเสียง (Glottal)
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 7
ตารางแสดงตําแหน่งของการเกิดเสียง
Point of articulation Active articulators Passive articulators Examples
1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡]
2. Labiodental Lower lip Upper teeth [M,f,v,V]
3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D]
4. Alveolar Tip of the tongue Alveolar ridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë]
5. Post alveolar Tip of the tongue Post alveolar [S,!]
6. Retroflex Tip of the tongue Post alveolar [÷,ê,§,½,ñ,]
7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z]
8. Palatal Front of the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´]
9. Velar Back of the tongue Soft palate [N,k,g,x]
10. Uvular Back of the tongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R]
11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the
pharynx
[ð,?]
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 8
12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,]
13. Labial-palatal Lower lip
Center of the
tongue
Upper lip
Hard palate
[ç]
14. Labial-Velar Lower lip
Back of the tongue
Upper lip
Soft palate
[kƒp,gƒb,w]
สัญลักษณแทนเสียงสากล (Phonetics)
สระ
สัญลักษณ (IPA) ตัวอยาง เทียบเสียงในภาษาไทย
i: see /si:/ อี
i any /'eni/ อิ
ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ํากึ่งระหวาง อิ และ อี)
e ten /ten/ เอะ
æ hat /hæt/ แอะ
ɑ: arm /ɑ:m/ อา
ɒ got /gɒt/ เอาะ
ɔ: saw /sɔ:/ ออ
ʊ put /pʊt/ อู
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 9
u: too /tu:/ อู
u usual /'ju:ʒuəl/ อุ
ʌ cup /kʌp/ อะ
ɜ: fur /fɜ:/ เออ
ə ago /ə'gəʊ/ เออะ
eɪ pay /peɪ/ เอ
əʊ home /həʊm/ โอ
aɪ five /faɪv/ ไอ
aʊ now /naʊ/ เอา, อาว
ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย
ɪə near /nɪə/ เอีย
eə hair /heə/ แอ
ʊə pure /pjʊə/ อิว
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 10
พยัญชนะ
สัญลักษณ (IPA) ตัวอยาง เทียบเสียงในภาษาไทย
p pen /pen/ พ
b bad /bæd/ บ
t tea /ti:/ ท
d did /dɪd/ ด
k cat /kæt/ ค
g got /gɒt/ ก
tʃ chin /tʃɪn/ ช
dʒ June /dʒu:n/ จ
f fall /fɔ:l/ ฟ
v van /væn/ ฟ
θ thin /θɪn/ ธ
ð then /ðen/ ธ
s so /səʊ/ ส
z zoo /zu:/ ส
ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 11
ʃ she /ʃi:/ ช
ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ
h how /haʊ/ ฮ
m man /mæn/ ม
n no /nəʊ/ น
ŋ sing /sɪŋ/ ง
l leg /leg/ ล
r red /red/ ร
j yes /jes/ ย
w wet /wet/ ว

More Related Content

What's hot

ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงyoiisina
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล nuengrutaii
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงWilawun Wisanuvekin
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557Sunthon Aged
 
56030648
5603064856030648
56030648Yuri YR
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticschepeach
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลOil Panadda'Chw
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514irinth
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525Vic Phanpaporn Saardaim
 

What's hot (19)

ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง
 
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
ตำแหน่งของการออกเสียง และสัญลักษณ์เสียงสากล
 
Phonetic 56030521
Phonetic 56030521Phonetic 56030521
Phonetic 56030521
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
56030648
5603064856030648
56030648
 
Place of articulation&phonetics
Place of articulation&phoneticsPlace of articulation&phonetics
Place of articulation&phonetics
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
Phonetic symbols 56030492
Phonetic symbols 56030492Phonetic symbols 56030492
Phonetic symbols 56030492
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
 
Phonetic symbols 56030492
Phonetic symbols 56030492Phonetic symbols 56030492
Phonetic symbols 56030492
 
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทยระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
 
19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)
19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)
19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)
 
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
 
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
 
13 การฝึกเป่าแคนเสียงมี
13 การฝึกเป่าแคนเสียงมี13 การฝึกเป่าแคนเสียงมี
13 การฝึกเป่าแคนเสียงมี
 
15 การฝึกเป่าเสียงโด
15 การฝึกเป่าเสียงโด15 การฝึกเป่าเสียงโด
15 การฝึกเป่าเสียงโด
 

Similar to ตำแหน่งการเกิดเสียง

ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์Rangson Sangboonruang
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phoneticschepeach
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563Apii Apichot
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 560305660884947335
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 

Similar to ตำแหน่งการเกิดเสียง (19)

สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
ฝึกออกเสียงภาษาอังกฤษยังไงให้เป๊ะชัดเวอร์
 
Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phonetics
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยายสอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
สอนเสริมหลักภาษาไทย O netขยาย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563นายอภิโชติ  มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
นายอภิโชติ มณีกาศ รหัสนักศึกษา 56030563
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
2 004
2 0042 004
2 004
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 

ตำแหน่งการเกิดเสียง

  • 1. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล จัดทําโดย นายจตุรภัทร บัวสถิตย รหัสประจําตัวนักศึกษา 56030480 สาขาวิชา ครุศาสตรเกษตร คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2558
  • 2. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 2 ตําแหนงการเกิดเสียง ฐานกรณ ในทางสัทศาสตร เปนตําแหนงกําเนิดเสียงพยัญชนะ คือตําแหนงในชองเสียง (vocal tract) ที่เกิดการกีดขวาง จากการ เคลื่อนตําแหนงของ กรณ (โดยปกติคือ สวนของลิ้น) และ ฐาน (ปกติคือ สวนของผนังในปาก) โดยเมื่อรวมกับ ลักษณะการออก เสียง (manner of articulation) และ การเปลงเสียงพูด (phonation) ทําใหเกิดเสียงพยัญชนะที่แตกตางกัน ชนิดของการออกเสียง ฐานกรณนั้นแยกออกเปนการออกเสียงแบบ ฐาน และ กรณ ตัวอยางเชน  ริมฝปากลางเปนกรณ (สวนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัส ริมฝปากบนซึ่งเปนฐาน (สวนไมเคลื่อนที่) เปนการออกเสียง จากริมฝปากคู (bilabial) เชน เสียง [m])  ริมฝปากลางเปนกรณ (สวนเคลื่อนที่) อาจเคลื่อนไปสัมผัสกับ ฟนบน(ฐาน) เปน เสียงจากริมฝปากลาง-ฟนบน (labiodental) เชน เสียง [f])  การสัมผัสเพดานแข็งดวยสวนหนา และ สวนหลัง ของลิ้น โดยหากใชสวนหนาสัมผัส เรียก เสียงปลายลิ้นมวน (retroflex)  หากสวนหลังลิ้นสัมผัส เรียก เสียงจากหลังลิ้น-เพดานแข็ง (dorsal-palatal) หรือ โดยทั่วไปเรียกเพียง ตาลุชะ/เสียงจาก เพดานแข็ง (palatal)
  • 3. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 3 ตําแหนงเกิดเสียง (ฐาน และ กรณ) 1. ริมฝปาก ดานนอก(Exo-labial) 2. ริมฝปาก ดานใน (Endo-labial) 3. ฟน (Dental) 4. ปุมเหงือก (Alveolar) 5. หลังปุมเหงือก (Post-alveolar) 6. หนาเพดานแข็ง (Pre-palatal) 7. เพดานแข็ง (Palatal) 8. เพดานออน (Velar) 9. ลิ้นไก (Uvular) 10. ชองคอ (Pharyngeal) 11. เสนเสียง (Glottal) 12. ลิ้นปดกลองเสียง (Epiglottal) 13. โคนลิ้นในชองคอ (Radical) 14. ผนังลิ้นสวนหลัง (Postero-dorsal) 15. ผนังลิ้นสวนหนา (Antero-dorsal) 16. ปลายลิ้น (Laminal) 17. ปลายสุดลิ้น (Apical) 18. ใตปลายสุดลิ้น (Sub-apical)
  • 4. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 4 เสียงแบบกรณมีทั้งหมด 5 เสียง คือ 1. เสียงพยัญชนะริมฝปาก (labial consonant) เปนเสียงจากริมฝปาก หรือ โอษฐชะ 2. เสียงพยัญชนะโพรงปาก (coronal consonant) เปนเสียงจากการใชสวนปลายออนตัวของลิ้น 3. เสียงพยัญชนะหลังลิ้น (dorsal consonant) เปนเสียงจากการใชสวนกลาง หรือ สวนหลังของลิ้น 4. เสียงพยัญชนะโคนลิ้น (radical consonant) เปนเสียงจากการใชโคนลิ้น และ ลิ้นปดกลองเสียง (epiglottis) 5. เสียงพยัญชนะเสนเสียง (laryngeal consonants) เปนเสียงจากกลองเสียง (larynx) การออกเสียงเหลานี้สามารถเปลงแยกจากกัน หรือ สามารถออกเปนเสียงผสม เรียก การออกเสียงผสม (coarticulation) การออกเสียงแบบฐาน เปนการออกเสียงที่ไมมีการแบงแยกชัดเจน โดยตําแหนงการออกเสียง เสียงจากลิ้น-ริมฝปากบน (linguolabial) และ เสียงลิ้นระหวางฟน (interdental), เสียงจากลิ้นระหวางฟน และ เสียงจากฟน/ทันตชะ (dental), เสียงจาก ฟน และ เสียงจากปุมเหงือก (alveolar), เสียงจากปุมเหงือก และ เสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (palatal), เสียงจากเพดานแข็ง และ เสียงจากเพดานออน (velar), เสียงจากเพดานออน และ เสียงจากลิ้นไก (uvular) อาจเชื่อมโยงเหลื่อมกัน และ การออกเสียง พยัญชนะอาจมีการออกเสียงในตําแหนงก้ํากึ่ง นอกจากนั้นแลว ในการใชลิ้นออกเสียง สวนที่ใชสัมผัสอาจเปนสวน ผิวบนของลิ้น (blade) ที่ใชในการสัมผัส (เสียงพยัญชนะ ใชปลายลิ้น - en:laminal consonant) ,สวนยอดของปลายลิ้น (เสียงพยัญชนะใชปลายสุดลิ้น- apical consonant), หรือ ผิวใต ลิ้น (เสียงพยัญชนะใชใตปลายสุดลิ้น - sub-apical consonant) ซึ่งเสียงเหลานี้ก็อาจผสมผสานก้ํากึ่งไมไดแบงแยกชัดเจน เสียงพยัญชนะที่มีตําแหนงออกเสียงเหมือนกัน เรียกวามี ฐานกรณรวม เชน เสียงจากปุมเหงือกในภาษาอังกฤษ ดังเสียงของ อักษณตอไปนี้ n, t, d, s, z, l เปนตน
  • 5. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 5 ตารางการออกเสียงและฐานกรณ ลักษณะการออกเสียง ฐานกรณ โอษฐชะ/เสียงจากริมฝปาก (Labial) เสียงจากริมฝปากคู (Bilabial) เสียงจากริมฝปากลาง-ฟนบน (Labiodental) สวนโพรงชองปาก (Coronal) เสียงใชปลายลิ้น (Laminal) เสียงจากลิ้น-ริมฝปากบน (Linguolabial) เสียงลิ้นระหวางฟน (Interdental) เสียงใชปลายลิ้น-ฟน (Laminal dental) เสียงใชปลายลิ้น-ฟน-ปุมเหงือก (Laminal denti-alveolar) เสียงใชปลายลิ้น-ปุมเหงือก (Laminal alveolar) เสียงใชปลายลิ้น-หลังปุมเหงือก (Laminal postalveolar) ("เสียงปลายลิ้นมวน" (retroflex) #1) เสียงโกงลิ้น (Domed) (โกงกลางลิ้นโคงขึ้นเปนทรงกลม สัมผัสเพดานแข็งบางสวน) เสียงโกงลิ้น-หลังปุมเหงือก (Domed postalveolar) ("เสียงจากลิ้น-หลังปุมเหงือก" (palato-alveolar)) เสียงใชเพดานแข็ง (Palatalized) เสียงจากเพดานแข็ง-หลังปุมเหงือก (Palatalized postalveolar) ("เสียงจากปุมเหงือก-เพดานแข็ง" (alveolo-palatal)) เสียงใชปลายสุดลิ้น (Apical) เสียงจากปลายสุดลิ้น-ฟน (Apical dental) เสียงจากปลายสุดลิ้น-ปุมเหงือก (Apical alveolar) เสียงจากปลายสุดลิ้น-หลังปุมเหงือก (Apical postalveolar) ("เสียงปลายลิ้นมวน" (retroflex) #2) เสียงใชใตปลายสุดลิ้น (Sub- apical) เสียงจากใตปลายสุดลิ้น-(หนา)เพดานแข็ง (Sub-apical (pre)palatal) ("เสียงปลายลิ้นมวน" (retroflex) #3) หลังลิ้น(Dorsal) หนาเพดานแข็ง (Prepalatal) เสียงจากเพดานแข็ง/ตาลุชะ (Palatal) เสียงจากหนาเพดานออน (Prevelar or medio-palatal) เสียงจากเพดานออน (Velar)
  • 6. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 6 เสียงจากหลังเพดานออน (Postvelar) เสียงจากลิ้นไก (Uvular) โคนลิ้นในชองคอ (Radical) เสียงจากชองคอสวนบน (Upper pharyngeal) เสียงจากชองคอสวนลาง (Lower pharyngeal) เสียงพยัญชนะจากลิ้นปดกลองเสียง-ชองคอ ( Epiglotto- pharyngeal) เสียงพยัญชนะจากลิ้นปดกลองเสียง (Epiglottal consonant">(Ary-)epiglottal) กลองเสียง (Laryngeal) เสียงจากเสนเสียง (Glottal)
  • 7. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 7 ตารางแสดงตําแหน่งของการเกิดเสียง Point of articulation Active articulators Passive articulators Examples 1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡] 2. Labiodental Lower lip Upper teeth [M,f,v,V] 3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D] 4. Alveolar Tip of the tongue Alveolar ridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë] 5. Post alveolar Tip of the tongue Post alveolar [S,!] 6. Retroflex Tip of the tongue Post alveolar [÷,ê,§,½,ñ,] 7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z] 8. Palatal Front of the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´] 9. Velar Back of the tongue Soft palate [N,k,g,x] 10. Uvular Back of the tongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R] 11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the pharynx [ð,?]
  • 8. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 8 12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,] 13. Labial-palatal Lower lip Center of the tongue Upper lip Hard palate [ç] 14. Labial-Velar Lower lip Back of the tongue Upper lip Soft palate [kƒp,gƒb,w] สัญลักษณแทนเสียงสากล (Phonetics) สระ สัญลักษณ (IPA) ตัวอยาง เทียบเสียงในภาษาไทย i: see /si:/ อี i any /'eni/ อิ ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ํากึ่งระหวาง อิ และ อี) e ten /ten/ เอะ æ hat /hæt/ แอะ ɑ: arm /ɑ:m/ อา ɒ got /gɒt/ เอาะ ɔ: saw /sɔ:/ ออ ʊ put /pʊt/ อู
  • 9. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 9 u: too /tu:/ อู u usual /'ju:ʒuəl/ อุ ʌ cup /kʌp/ อะ ɜ: fur /fɜ:/ เออ ə ago /ə'gəʊ/ เออะ eɪ pay /peɪ/ เอ əʊ home /həʊm/ โอ aɪ five /faɪv/ ไอ aʊ now /naʊ/ เอา, อาว ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย ɪə near /nɪə/ เอีย eə hair /heə/ แอ ʊə pure /pjʊə/ อิว
  • 10. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 10 พยัญชนะ สัญลักษณ (IPA) ตัวอยาง เทียบเสียงในภาษาไทย p pen /pen/ พ b bad /bæd/ บ t tea /ti:/ ท d did /dɪd/ ด k cat /kæt/ ค g got /gɒt/ ก tʃ chin /tʃɪn/ ช dʒ June /dʒu:n/ จ f fall /fɔ:l/ ฟ v van /væn/ ฟ θ thin /θɪn/ ธ ð then /ðen/ ธ s so /səʊ/ ส z zoo /zu:/ ส
  • 11. ตําแหนงการเกิดเสียง และ สัญลักษณแทนเสียงสากล 11 ʃ she /ʃi:/ ช ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ h how /haʊ/ ฮ m man /mæn/ ม n no /nəʊ/ น ŋ sing /sɪŋ/ ง l leg /leg/ ล r red /red/ ร j yes /jes/ ย w wet /wet/ ว