SlideShare a Scribd company logo
นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน
รหัสนักศึกษา 56030531
สรุป
1. ตำแหน่งกำรเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่ำงๆ (Place of Articulation)
ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ (Place of Articulation)
คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง
โดยรวม แต่ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม
คือ
1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐำน
ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้
- ริมฝีปากบน (upper lip)
- ฟันบน (upper teeth)
- ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge)
- เพดานแข็ง (hard palate)
- เพดานอ่อน (soft palate หรือ velum)
- ลิ้นไก่ (uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบน
ของช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้
2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่ง
ได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ
- ริมฝีปากล่าง (Lower lip)
- ลิ้น (tongue) ซึ่งเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่อง
อวัยวะในการแกเสียง ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น กระแสอากาซที่เดินทางผ่าน
เข้ามาในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะ
กระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้าไปใกล้, หรือเข้าไปชิด
นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน
รหัสนักศึกษา 56030531
อวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator) เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะ
ก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่า
ลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation)ณ จุดเกิดเสียงต่างๆกัน และคาที่ใช้สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะ
ส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่
Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียง
แรกของคาว่า “my”
Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบน
ด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “van”
Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัด
จากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin”
Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วน
ถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่น เสียงแรกของคาว่า “tip”
Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับ
เพดานแข็ง) เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface) หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วน
ปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียง “r” ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง
Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจากการ
ใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคา
ว่า “show”
Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue)
เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็ง
Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดาน
อ่อน เช่น เสียงแรกของคาว่า “give”
Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียง
แรกของคาว่า “rouge” ในภาษาฝรั่งเศส
นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน
รหัสนักศึกษา 56030531
Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลัง
เข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง
Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง) เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอาจจะเคลื่อน
เข้ามาติดกัน เช่น เสียงแรกของคาว่า “home”
นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน
รหัสนักศึกษา 56030531
ตำรำงแสดงตำแหน่งของกำรเกิดเสียง
Point of articulation Active articulators Passive articulators Examples
1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡]
2. Labiodental Lower lip Upper teeth [M,f,v,V]
3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D]
4. Alveolar Tip of the tongue Alveolar ridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë]
5. Post alveolar Tip of the tongue Post alveolar [S,!]
6. Retroflex Tip of the tongue Post alveolar [÷,ê,§,½,ñ,]
7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z]
8. Palatal Front of the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´]
9. Velar Back of the tongue Soft palate [N,k,g,x]
10. Uvular Back of the tongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R]
11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the
pharynx
[ð,?]
12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,]
13. Labial-palatal Lower lip
Center of the
tongue
Upper lip
Hard palate
[ç]
14. Labial-Velar Lower lip
Back of the tongue
Upper lip
Soft palate
[kƒp,gƒb,w]
นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน
รหัสนักศึกษา 56030531
2. สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล (Phonetics)
สระ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
i: see /si:/ อี
i any /'eni/ อิ
ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี)
e ten /ten/ เอะ
æ hat /hæt/ แอะ
ɑ: arm /ɑ:m/ อา
ɒ got /gɒt/ เอาะ
ɔ: saw /sɔ:/ ออ
ʊ put /pʊt/ อู
u: too /tu:/ อู
u usual /'ju:ʒuəl/ อุ
นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน
รหัสนักศึกษา 56030531
ʌ cup /kʌp/ อะ
ɜ: fur /fɜ:/ เออ
ə ago /ə'gəʊ/ เออะ
eɪ pay /peɪ/ เอ
əʊ home /həʊm/ โอ
aɪ five /faɪv/ ไอ
aʊ now /naʊ/ เอา, อาว
ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย
ɪə near /nɪə/ เอีย
eə hair /heə/ แอ
ʊə pure /pjʊə/ อิว
นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน
รหัสนักศึกษา 56030531
พยัญชนะ
สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย
p pen /pen/ พ
b bad /bæd/ บ
t tea /ti:/ ท
d did /dɪd/ ด
k cat /kæt/ ค
g got /gɒt/ ก
tʃ chin /tʃɪn/ ช
dʒ June /dʒu:n/ จ
f fall /fɔ:l/ ฟ
v van /væn/ ฟ
θ thin /θɪn/ ธ
นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน
รหัสนักศึกษา 56030531
ð then /ðen/ ธ
s so /səʊ/ ส
z zoo /zu:/ ส
ʃ she /ʃi:/ ช
ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ
h how /haʊ/ ฮ
m man /mæn/ ม
n no /nəʊ/ น
ŋ sing /sɪŋ/ ง
l leg /leg/ ล
r red /red/ ร
j yes /jes/ ย
w wet /wet/ ว
นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน
รหัสนักศึกษา 56030531
บรรณำนุกรม
กำรออกเสียงในภำษำอังกฤษ. (2557). เข้าถึงได้จาก : http://th.wiktionary.org/wiki/วิกิพจนานุกรม:การ
ออกเสียงในภาษาอังกฤษ. (วันที่ค้นข้อมูล : 12 กุมภาพันธ์ 2558).
ตำแหน่งของกำรออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง. (2552). เข้าถึงได้จาก :
http://grgl500phonetics.blogspot.com/2010/11/3-place-and-manner-of-
articulation.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 12 กุมภาพันธ์ 2558).

More Related Content

What's hot

เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554Narudol Pechsook
 
ต้นแบบผู้นำไทยด้านคุณธรรมและสันติวิธี1
ต้นแบบผู้นำไทยด้านคุณธรรมและสันติวิธี1ต้นแบบผู้นำไทยด้านคุณธรรมและสันติวิธี1
ต้นแบบผู้นำไทยด้านคุณธรรมและสันติวิธี1Taraya Srivilas
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Hepatocarcinoma fibrolamelar abordagem terapêutica
Hepatocarcinoma fibrolamelar abordagem terapêuticaHepatocarcinoma fibrolamelar abordagem terapêutica
Hepatocarcinoma fibrolamelar abordagem terapêuticaCirurgia Online
 
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยางานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยาWasin Kunnaphan
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานwannasriwichai
 
Anatomia Seccional do Crâneo em Tomografia Computadorizada
Anatomia Seccional do Crâneo em Tomografia ComputadorizadaAnatomia Seccional do Crâneo em Tomografia Computadorizada
Anatomia Seccional do Crâneo em Tomografia ComputadorizadaAlex Eduardo Ribeiro
 
Random 140708192848-phpapp02
Random 140708192848-phpapp02Random 140708192848-phpapp02
Random 140708192848-phpapp02tanong2516
 
Pulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in ThaiPulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in ThaiThorsang Chayovan
 

What's hot (11)

เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
เอกสารออกนอกบริเวณโรงเรียน 1 2554
 
Thaialgorithm Slide
Thaialgorithm SlideThaialgorithm Slide
Thaialgorithm Slide
 
ต้นแบบผู้นำไทยด้านคุณธรรมและสันติวิธี1
ต้นแบบผู้นำไทยด้านคุณธรรมและสันติวิธี1ต้นแบบผู้นำไทยด้านคุณธรรมและสันติวิธี1
ต้นแบบผู้นำไทยด้านคุณธรรมและสันติวิธี1
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Hepatocarcinoma fibrolamelar abordagem terapêutica
Hepatocarcinoma fibrolamelar abordagem terapêuticaHepatocarcinoma fibrolamelar abordagem terapêutica
Hepatocarcinoma fibrolamelar abordagem terapêutica
 
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยางานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
 
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
 
Anatomia Seccional do Crâneo em Tomografia Computadorizada
Anatomia Seccional do Crâneo em Tomografia ComputadorizadaAnatomia Seccional do Crâneo em Tomografia Computadorizada
Anatomia Seccional do Crâneo em Tomografia Computadorizada
 
Random 140708192848-phpapp02
Random 140708192848-phpapp02Random 140708192848-phpapp02
Random 140708192848-phpapp02
 
Pulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in ThaiPulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in Thai
 

Similar to Place of articulation and Phonetics

สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557Sunthon Aged
 
56030648
5603064856030648
56030648Yuri YR
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลSunthon Aged
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 560305660884947335
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงyoiisina
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงSunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลOil Panadda'Chw
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงPalm Prachya
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514irinth
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525Vic Phanpaporn Saardaim
 
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงสรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงParom's Raviwong
 
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าวนางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าวirinth
 
การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467Wuttikorn Buajoom
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549Wilipda Wongsakul
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆGesso Hog'bk
 

Similar to Place of articulation and Phonetics (20)

Phonetic 56030521
Phonetic 56030521Phonetic 56030521
Phonetic 56030521
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆและ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
สรุป นายสุนทร เอี่ยมแสง รหัส 56030557
 
56030648
5603064856030648
56030648
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากลสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ  สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน  รหัส 56030566
นางสาวอรพรรณ บัณฑิตเสน รหัส 56030566
 
ตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียงตำแหน่งของการออกเสียง
ตำแหน่งของการออกเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากลตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
ตำแหน่งการเกิดเสียง สัญลักษณ์แทนเสียงสากล
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
นางสาวบุษยา ศศิธร-56030514
 
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
สรุป พรรณปพร สะอาดเอี่ยม 56030525
 
สรุป
สรุปสรุป
สรุป
 
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียงสรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
สรุปตำแหน่งการเกิดเสียง
 
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าวนางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
นางสาวตุลาลักษณ์ ขวัญข้าว
 
การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467การเกิดเสียง56030467
การเกิดเสียง56030467
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
ตำแหน่งการเกิดเสียง 56030549
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
 

Place of articulation and Phonetics

  • 1. นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน รหัสนักศึกษา 56030531 สรุป 1. ตำแหน่งกำรเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่ำงๆ (Place of Articulation) ตำแหน่งของกำรเกิดเสียงบริเวณต่ำงๆ (Place of Articulation) คานี้ถ้าจะเรียกให้สั้นและย่อมีชื่อเฉพาะว่าฐานกรณ์ ซึ่งหมายถึงอวัยวะแปรเสียงหรือกล่อมเกลาเสียง โดยรวม แต่ถ้าจะแยกกลุ่มของอวัยวะแปรเสียงออกมาตามลักษณะของการเคลื่อนไหวก็จะแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator หรือ Upper Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า ฐำน ซึ่งได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ - ริมฝีปากบน (upper lip) - ฟันบน (upper teeth) - ปุ่มเหงือก (gum ridge หรือ alveolar ridge) - เพดานแข็ง (hard palate) - เพดานอ่อน (soft palate หรือ velum) - ลิ้นไก่ (uvula) อวัยวะชิ้นนี้แม้ว่าจะถูกจัดอยู่ในกลุ่มที่เรียกว่า upper articulators หรืออวัยวะที่อยู่ส่วนบน ของช่องปากหรือเพดานปากก็ตาม แต่เป็นอวัยวะที่สามารถเคลื่อนที่ได้ 2. กลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulator หรือ Lower Articulator) หรือมีชื่อเฉพาะสั้นๆ ว่า กรณ์ ซึ่ง ได้แก่ อวัยวะต่อไปนี้ คือ - ริมฝีปากล่าง (Lower lip) - ลิ้น (tongue) ซึ่งเป็นอวัยวะที่มีความยืดหยุ่นตัวสูงที่สุดดังที่กล่าวมาแล้วในตอนต้น ในบทที่ว่าด้วยเรื่อง อวัยวะในการแกเสียง ในการทาให้เกิดเสียงพยัญชนะเสียงใดเสียงหนึ่งขึ้นมานั้น กระแสอากาซที่เดินทางผ่าน เข้ามาในช่องออกเสียง (vocal tract) จะต้องถูกกักกั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง การกักกั้นกระแสอากาศก็จะ กระทาได้โดยอวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ได้ (Active Articulators) จะเคลื่อนที่เข้าไปหา, เข้าไปใกล้, หรือเข้าไปชิด
  • 2. นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน รหัสนักศึกษา 56030531 อวัยวะกลุ่มที่เคลื่อนที่ไม่ได้ (Passive Articulator) เมื่อกระแสอากาศเดินทางผ่านจุดกักกั้นเหล่านั้นก็จะ ก่อให้เกิดเสยงพยัญชนะประเภทต่างๆ ที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของการกักกั้นกระแสอากาศหรือที่เรียกว่า ลักษณะวิธีออกเสียง (Manner of Articulation)ณ จุดเกิดเสียงต่างๆกัน และคาที่ใช้สาหรับเรียกชื่อพยัญชนะ ส่วนหนึ่งก็มาจากคาระบุตาแหน่งของการกักกั้นกระแสอากาศดังกล่าว ซึ่งได้แก่ Bilabial (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากทั้งคู่) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาริมฝีปากบน เช่น เสียง แรกของคาว่า “my” Labiodental (เสียงที่เกิดจากริมฝีปากล่างและฟันบน) เกิดจากริมฝีปากล่างเคลื่อนเข้าไปหาฟันบน ด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “van” Dental (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับฟันบน) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัด จากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาฟันบนด้านหน้า เช่น เสียงแรกของคาว่า “thin” Alveolar (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนถัดจากปลายลิ้นกับปุ่มเหงือก) เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วน ถัดจากปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาปุ่มเหงือก เช่น เสียงแรกของคาว่า “tip” Retroflex (เสียงที่เกิดจากปลายลิ้นหรือส่วนใต้ปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับ เพดานแข็ง) เกิดจากปลายลิ้นซึ่งอาจจะเป็นผิวบน (upper surface) หรือส่วนใต้ปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วน ปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียง “r” ในภาษาอังกฤษสาเนียงอเมริกันบางสาเนียง Palato-Alveolar (เสียงที่เกิดจากส่วนถัดจากปลายลิ้นกับส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือก) เกิดจากการ ใช้ส่วนถัดปลายลิ้นเคลื่อนเข้าไปหาส่วนปลายสุดของปุ่มเหงือกที่ต่อกับเพดานแข็ง เช่น เสียงแรกของคา ว่า “show” Palatal (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนต้นกับเพดานแข็ง) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนต้น (front of the tongue) เคลื่อนเข้าไปหาเพดานแข็ง Velar (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับเพดานอ่อน) เกิดจากการใช้ลิ้นส่วนหลังเคลื่อนเข้าไปหาเพดาน อ่อน เช่น เสียงแรกของคาว่า “give” Uvular (เสียงที่เกิดจากลิ้นส่วนหลังกับลิ้นไก่) เกิดจากการยกลิ้นส่วนหลังเข้าไปหาลิ้นไก่ เช่น เสียง แรกของคาว่า “rouge” ในภาษาฝรั่งเศส
  • 3. นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน รหัสนักศึกษา 56030531 Pharyngeal (เสียงที่เกิดจากโคนลิ้นกับผนังช่องคอด้านหลัง) เกิดจากการดึงโคนลิ้นไปทางด้านหลัง เข้าหาผนังช่องคอด้านหลัง Glottal (เสียงที่เกิดจากเส้นเสียง) เกิดจากการเคลื่อนเข้าหากันของเส้นเสียงทั้งคู่ โดยอาจจะเคลื่อน เข้ามาติดกัน เช่น เสียงแรกของคาว่า “home”
  • 4. นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน รหัสนักศึกษา 56030531 ตำรำงแสดงตำแหน่งของกำรเกิดเสียง Point of articulation Active articulators Passive articulators Examples 1. Bilabial Lower lip Upper lip [m,p,b,¸,B,º,‡] 2. Labiodental Lower lip Upper teeth [M,f,v,V] 3. Dental Tip of the tongue Upper teeth [T,D] 4. Alveolar Tip of the tongue Alveolar ridge [n,t,d,s,z,Z,Â,l,r,t',ë] 5. Post alveolar Tip of the tongue Post alveolar [S,!] 6. Retroflex Tip of the tongue Post alveolar [÷,ê,§,½,ñ,] 7. Palato-alveolar Tip of the tongue Hard palate [S,Z] 8. Palatal Front of the tongue Hard palate [ø,c,ï,þ,´] 9. Velar Back of the tongue Soft palate [N,k,g,x] 10. Uvular Back of the tongue Uvular [N, q,G, X,Ò,R] 11. Pharyngeal Root of the tongue Back wall of the pharynx [ð,?] 12. Glottal Vocal cords Vocal cords [?,h,ú,] 13. Labial-palatal Lower lip Center of the tongue Upper lip Hard palate [ç] 14. Labial-Velar Lower lip Back of the tongue Upper lip Soft palate [kƒp,gƒb,w]
  • 5. นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน รหัสนักศึกษา 56030531 2. สัญลักษณ์แทนเสียงสำกล (Phonetics) สระ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย i: see /si:/ อี i any /'eni/ อิ ɪ sit /sɪt/ อิ (ก้ากึ่งระหว่าง อิ และ อี) e ten /ten/ เอะ æ hat /hæt/ แอะ ɑ: arm /ɑ:m/ อา ɒ got /gɒt/ เอาะ ɔ: saw /sɔ:/ ออ ʊ put /pʊt/ อู u: too /tu:/ อู u usual /'ju:ʒuəl/ อุ
  • 6. นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน รหัสนักศึกษา 56030531 ʌ cup /kʌp/ อะ ɜ: fur /fɜ:/ เออ ə ago /ə'gəʊ/ เออะ eɪ pay /peɪ/ เอ əʊ home /həʊm/ โอ aɪ five /faɪv/ ไอ aʊ now /naʊ/ เอา, อาว ɔɪ join /dʒɔɪn/ ออย ɪə near /nɪə/ เอีย eə hair /heə/ แอ ʊə pure /pjʊə/ อิว
  • 7. นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน รหัสนักศึกษา 56030531 พยัญชนะ สัญลักษณ์ (IPA) ตัวอย่ำง เทียบเสียงในภำษำไทย p pen /pen/ พ b bad /bæd/ บ t tea /ti:/ ท d did /dɪd/ ด k cat /kæt/ ค g got /gɒt/ ก tʃ chin /tʃɪn/ ช dʒ June /dʒu:n/ จ f fall /fɔ:l/ ฟ v van /væn/ ฟ θ thin /θɪn/ ธ
  • 8. นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน รหัสนักศึกษา 56030531 ð then /ðen/ ธ s so /səʊ/ ส z zoo /zu:/ ส ʃ she /ʃi:/ ช ʒ vision /'vɪʒn/ ฉ h how /haʊ/ ฮ m man /mæn/ ม n no /nəʊ/ น ŋ sing /sɪŋ/ ง l leg /leg/ ล r red /red/ ร j yes /jes/ ย w wet /wet/ ว
  • 9. นางสาวภัครจิราภรณ์ บุญชน รหัสนักศึกษา 56030531 บรรณำนุกรม กำรออกเสียงในภำษำอังกฤษ. (2557). เข้าถึงได้จาก : http://th.wiktionary.org/wiki/วิกิพจนานุกรม:การ ออกเสียงในภาษาอังกฤษ. (วันที่ค้นข้อมูล : 12 กุมภาพันธ์ 2558). ตำแหน่งของกำรออกเสียงและลักษณะวิธีออกเสียง. (2552). เข้าถึงได้จาก : http://grgl500phonetics.blogspot.com/2010/11/3-place-and-manner-of- articulation.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 12 กุมภาพันธ์ 2558).