SlideShare a Scribd company logo
(Group 1)
Selected Topics in Computer Engineering II
XMLeXtensible Markup Language
What?
• XML ย่อมาจาก eXtensible Markup Language เป็นภาษาที่ใช้สาหรับการเขียน
เอกสาร markup (markup document) โดยที่เอกสาร markup นั้นมีการใช้
metadata (หรือ tags) เพื่อบอกหน้าที่และประเภทของข้อมูลของส่วนต่างๆ ของเอกสารนั้น
ได้โดยชัดเจน การเพิ่ม metadata (หรือ tags) เข้าไปในเอกสารสามารถทาให้โครงสร้างของ
เอกสารชัดเจนขึ้น และทาให้การประมวลผลเอกสารเป็นไปโดยง่ายและไม่จำเป็นที่จะต้อง
อำศัยมนุษย์เพื่อตีควำมเอกสำร
What?
(count.)
• XML ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของ Standard Generalized Markup
Language (SGML) ที่เป็นข้อกาหนดในการสร้างหรือจัดทาเอกสารในรูปแบบ
Electronics ที่กาหนดโดย W3C หรือ World Wide Web Consortium ที่มี
โครงสร้างและรูปแบบที่เปิดให้ Application ต่างๆ สามารถเรียกไปใช้งานได้ จึง ทาให้การ
จัดการข้อมูลหรือเรียกใช้ข้อมูลจาก Application ต่างๆ นั้นอยู่ในมาตรฐานเดียวกัน โดยสามารถ
สร้างแอพพลิเคชั่นเพื่ออ่านและประมวลผล XML ได้อย่างง่ายดาย
What?
(count.)
• เราใช้เทคโนโลยี XML ในการพัฒนำมำตรฐำนเพื่อกำรกระจำยข่ำวเนื่องจาก
XML เป็นภาษาที่เหมาะกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เนื่องจาก XML ไม่ได้ขึ้นอยู่กับโปรแกรมประยุกต์หรือระบบปฏิบัติกำรใด
นอกจากนี้ XML ยังเป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่น เนื่องจากผู้ใช้สามารถที่จะกาหนด
และตั้งค่า metadata (หรือ tags) ให้เหมาะกับเอกสารเฉพาะที่ตนต้องการได้อย่าง
อิสระ และยังสามารถเพิ่มเติม metadata (หรือ tags) ได้ในภายหลังโดยไม่มี
ผลกระทบต่อโปรแกรมที่มีอยู่แล้วด้วย
Why?
• XML มีความยืดหยุ่นทาให้ใช้ได้กว้างขวาง
• ไฟล์ข้อควำมอย่ำงง่ำยใช้เก็บข้อมูล คนและเครื่องสามารถอ่านได้ ไม่ต้องการรูปแบบข้อมูลพิเศษ
• การสนับสนุน Unicode ดี ทาให้ข้อมูลตัวอักษรต่างๆ รอบโลกสามารถนาเสนอได้ง่าย
• ไม่มีplatformขึ้นต่อใน XML จึงเป็นเทคโนโลยีข้าม platform อย่างแท้จริง
• จัดการเอกสารได้เร็วและมีประสิทธิภาพ
• มาตรฐานที่มีอยู่ใกล้เคียงกับ platform หลัก จึงไม่ต้องทำส่วนสนับสนุน XML เพิ่ม
• เครื่องมือในการทางานกับ XML มีมาก
Why?
(count.)
• โครงสร้ำงข้อมูลง่ำย เช่น ไฟล์คอนฟิก, address book หรือการเก็บข้อมูลขนาดเล็ก การใช้
XML เก็บค่าคอนฟิกและข้อมูลของผู้ใช้ จึงไม่ต้องเขียนคาสั่งขนาดใหญ่เพื่อจัดการ
• บริษัทต้องการใช้ข้อมูลร่วม business-to-business (B2B) เช่น คลังสินค้า และฝ่ายกระจายสินค้า
สามารถใช้ XML ส่งผ่ำนข้อมูลได้
• กำรประยุกต์ข้อมูลร่วม ถ้าโปรแกรมเก็บข้อมูลเป็นไฟล์ข้อมูล XML เอกสารจัดการได้กว้างตาม
platform และโปรแกรม
• เนื่องจาก XML ยืดหยุ่นและคอนฟิกทาให้สามารถกาหนดภาษา markup ใหม่สาหรับ
วัตถุประสงค์หลากหลาย
How?
XML Syntax Rules
<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<root>
<child>
<subchild>.....</subchild>
</child>
</root>
ใช้ <?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
ในการประกาศการเข้ารหัส
How?
(count.)
<phonestore>
<phone brands=”oppo”>
<generation>R5</generation>
<price>300$</price>
<year>2016</year>
</phone>
</phonestore>
โดยมีโครงสร้ำงคือ tag และ element
tag คือส่วนข้อความที่อยู่ระหว่างสัญลักษณ์ "<" และ ">" มี 2 แบบคือ tag เปิด และ
tag ปิด element เริ่มต้นที่ tag เปิด และสิ้นสุดที่ tag ปิด ใน tag ดียวกัน ตัวอย่างเช่น
<price>29.99</price>
อาจมี Attribute สาหรับกาหนดข้อมูลที่เป็นค่าคงที่ ไว้ใน tag เปิด เช่น
<note date="12/11/2007">
How?
(count.)
• ซึ่งโครงสร้ำงภำยใน xml สามารถ มองเป็นแผนภำพต้นไม้ได้โดยจะมอง เริ่มจากส่วน
root แล้วภายใน root จะแตกออกเป็นหลาย branch ได้ ซึ่ง branch ในที่นี้คือ child
element ซึ่ง Tag <> ที่อยู่ภายในแต่ละ child นี้จะเป็นส่วน element เฉพาะของ child แต่
ละตัวนั่นเอง ซึ่งในแต่ละ element จะมี attribute ได้ดังนี้
How?
(count.)
สำมำรถใช้ XSLT ในกำรใช้ xml ใน html ได้
<?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?>
<html xsl:version="1.0" xmlns:xsl="http://www.w3.org/1999/XSL/Transform">
<body style="font-family:Arial;font-size:12pt;background-color:#EEEEEE">
<xsl:for-each select="breakfast_menu/food">
<div style="background-color:teal;color:white;padding:4px">
<span style="font-weight:bold"><xsl:value-of select="name"/> - </span>
<xsl:value-of select="price"/>
</div>
<div style="margin-left:20px;margin-bottom:1em;font-size:10pt">
<p>
<xsl:value-of select="description"/>
<span style="font-style:italic"> (<xsl:value-of select="calories"/> calories per
serving)</span>
</p>
</div>
</xsl:for-each>
</body>
</html>
ควำมแตกต่ำงระหว่ำง XML กับ HTML คือ
• XML นั้นใช้อธิบายข้อมูล คือ บอกว่าข้อมูลนั้นคืออะไร
• HTML นั้นใช้อธิบายการแสดงผล คือ บอกว่าข้อมูลนั้นจะแสดงผลในหน้าตาแบบไหน
XML vs. HTML
HTML XML
HTML เป็นคาย่อมาจาก HyperText Markup
Language
XML ย่อมาจาก Extensible Markup ภาษา
HTML ได้รับการออกแบบเพื่อแสดงข้อมูลที่มี
ความสาคัญเกี่ยวกับวิธีการลักษณะข้อมูล
XML ได้รับการออกแบบมาเพื่อเป็นซอฟแวร์และ
ฮาร์ดแวร์เครื่องมืออิสระใช้ในการขนส่งและเก็บข้อมูลที่
มีความสาคัญกับสิ่งที่เป็นข้อมูล
XML vs. HTML
(count.)
HTML XML
HTML เป็นภาษามาร์กอัปตัวเอง XML ให้กรอบสาหรับการกาหนดภาษามาร์กอัป
HTML เป็นภาษานาเสนอ XML เป็นค่าภาษาการเขียนโปรแกรมภาษามิได้นาเสนอ
HTML จะใช้สาหรับการออกแบบหน้าเว็บที่จะแสดงผลบน
ฝั่งไคลเอ็นต์
XML จะใช้เป็นพื้นเพื่อการขนส่งข้อมูลระหว่างโปรแกรม
และฐานข้อมูล
HTML มีแท็กที่กาหนดไว้ล่วงหน้าของตัวเอง ในขณะที่สิ่งที่ทาให้มีความยืดหยุ่น XML คือว่าแท็กที่
กาหนดเองสามารถกาหนดและแท็กที่คิดค้นโดยผู้เขียนของ
เอกสาร XML
XML vs. HTML
(count.)
HTML XML
HTML จะไม่เข้มงวดหากผู้ใช้ไม่ได้ใช้แท็กปิด XML ทาให้มันบังคับสาหรับผู้ใช้แท็กใกล้เคียงที่มีการใช้ใน
แต่ละ
HTML ไม่รักษาพื้นที่สีขาว XML เก็บรักษาพื้นที่สีขาว
HTML เป็นเรื่องเกี่ยวกับการแสดงข้อมูลจึงคงที่ XML เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินเพราะฉะนั้นแบบไดนา
มิก
Reference
• What? And How?
http://www.w3schools.com/xml/
http://www.nextproject.net/contents/default.aspx?00048
• Why?
http://www.widebase.net/internet/php/phpweb/phpweb0301.shtml
https://www.gotoknow.org/posts/61890
• XML vs. HTML
https://www.l3nr.org/posts/375434
http://www.withoutbook.com/DifferenceBetweenSubjects.php?
http://thaicss.com/
Members
Group1
นาย อภิวัฒธ์ วงศ์โท๊ะ รหัสนักศึกษา 52-1116-530-2
นางสาว พัลลภา เขมรังสฤษฏ์ รหัสนักศึกษา 56-010126-2008-1
นางสาว อัญธิกา หนองบัว รหัสนักศึกษา 56-010126-3028-1
นาย ธีรวัฒน์ ผ่องสกุล รหัสนักศึกษา 56-010126-3015-9
นาย ธนดล เตชะวัชรีกุล รหัสนักศึกษา 56-010126-3009-4
นาย ภูมมิฑล ไชยเชิดเกียรติ รหัสนักศึกษา 56-010116-2131-8
Introduction to XML.

More Related Content

What's hot

Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Theeravaj Tum
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007chanoncm2555
 
การใช้อักษร
การใช้อักษรการใช้อักษร
การใช้อักษรWatuka Wannarun
 
Flex 101 ep-02
Flex 101 ep-02Flex 101 ep-02
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2SubLt Masu
 
Website
WebsiteWebsite
Hyper text markup language
Hyper  text  markup  languageHyper  text  markup  language
Hyper text markup languageungpao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmldevilp Nnop
 
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
Sarawut Panchon
 
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sqlการเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sqlBongza Naruk
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
chupong roddee
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์chiton2535
 
Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร
Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร
Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร
ณัฐพล บัวพันธ์
 

What's hot (17)

Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0Javacentrix com chap08-0
Javacentrix com chap08-0
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007
 
Php mysql
Php mysqlPhp mysql
Php mysql
 
การใช้อักษร
การใช้อักษรการใช้อักษร
การใช้อักษร
 
การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010การใช้งาน Ms office 2010
การใช้งาน Ms office 2010
 
Flex 101 ep-02
Flex 101 ep-02Flex 101 ep-02
Flex 101 ep-02
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
Website
WebsiteWebsite
Website
 
Hyper text markup language
Hyper  text  markup  languageHyper  text  markup  language
Hyper text markup language
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 htmlหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 html
 
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
บทที่ 2 (21 02-56) okรันเลขแล้ว(แก้เหมายเลขหน้าด้วย ตั้งแต่หน้า 9 เป็นต้นไป )...
 
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sqlการเพ  มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
การเพ มข_อม_ลลงฐานข_อม_ลด_วยภาษา jsp&sql
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
บทที่ 3 พื้นฐานภาษาสำหรับพัฒนาเว็บไซต์
 
Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร
Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร
Vb6 5 ข้อมูลและตัวแปร
 
Html
HtmlHtml
Html
 
06 form input_php
06 form input_php06 form input_php
06 form input_php
 

Viewers also liked

Php พื้นฐาน ตอนที่4
Php พื้นฐาน ตอนที่4Php พื้นฐาน ตอนที่4
Php พื้นฐาน ตอนที่4
ปรัชญาทวี พงพยัคฆ์
 
Php พื้นฐาน ตอนที่2
Php พื้นฐาน ตอนที่2Php พื้นฐาน ตอนที่2
Php พื้นฐาน ตอนที่2
ปรัชญาทวี พงพยัคฆ์
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77Surapong Jakang
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
Ravib Prt
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
Diiz Yokiiz
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ทับทิม เจริญตา
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
ทับทิม เจริญตา
 

Viewers also liked (13)

Photoshop ui design 2
Photoshop ui design 2Photoshop ui design 2
Photoshop ui design 2
 
Php พื้นฐาน ตอนที่4
Php พื้นฐาน ตอนที่4Php พื้นฐาน ตอนที่4
Php พื้นฐาน ตอนที่4
 
Php พื้นฐาน ตอนที่2
Php พื้นฐาน ตอนที่2Php พื้นฐาน ตอนที่2
Php พื้นฐาน ตอนที่2
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
ภาษาคอมพิวเตอร์ ม.3
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจแผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
แผนการสอนการสร้างเว็บเพจ
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 

Similar to Introduction to XML.

ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlSamorn Tara
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlSamorn Tara
 
HTML
HTMLHTML
2.โครงสร้างคำสั่งของ html
2.โครงสร้างคำสั่งของ html2.โครงสร้างคำสั่งของ html
2.โครงสร้างคำสั่งของ html
bimteach
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
กฤศอนันต์ ชาญเชี่ยว
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
Nuchy Suchanuch
 
e-Office with digital document
e-Office with digital documente-Office with digital document
e-Office with digital document
Boonlert Aroonpiboon
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานkongdang
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานpim1122
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานpim1122
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานnoopim
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานkongdang
 
รายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง cssรายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง cssnongnan
 
Session1 part2
Session1 part2Session1 part2
Session1 part2maovkh
 
Greenstone From Paper to Digital Collection
GreenstoneFrom Paper to Digital CollectionGreenstoneFrom Paper to Digital Collection
Greenstone From Paper to Digital CollectionSatapon Yosakonkun
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
krunueng1
 
CSS คืออะไร?
CSS คืออะไร?CSS คืออะไร?
CSS คืออะไร?
Somsak Phusririt
 

Similar to Introduction to XML. (20)

ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ภาษา xhtml
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
 
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtmlใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
ใบความรู้ที่ 2.3 รู้จักภาษาhtml
 
HTML
HTMLHTML
HTML
 
2.โครงสร้างคำสั่งของ html
2.โครงสร้างคำสั่งของ html2.โครงสร้างคำสั่งของ html
2.โครงสร้างคำสั่งของ html
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอนเขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
 
e-Office with digital document
e-Office with digital documente-Office with digital document
e-Office with digital document
 
Html 2
Html 2Html 2
Html 2
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
รายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง cssรายงาน เรื่อง css
รายงาน เรื่อง css
 
Session1 part2
Session1 part2Session1 part2
Session1 part2
 
Greenstone From Paper to Digital Collection
GreenstoneFrom Paper to Digital CollectionGreenstoneFrom Paper to Digital Collection
Greenstone From Paper to Digital Collection
 
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
แนะนำการใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Microsoft Access 2010
 
CSS คืออะไร?
CSS คืออะไร?CSS คืออะไร?
CSS คืออะไร?
 

Recently uploaded

ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 

Recently uploaded (6)

ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 

Introduction to XML.

  • 1. (Group 1) Selected Topics in Computer Engineering II XMLeXtensible Markup Language
  • 2. What? • XML ย่อมาจาก eXtensible Markup Language เป็นภาษาที่ใช้สาหรับการเขียน เอกสาร markup (markup document) โดยที่เอกสาร markup นั้นมีการใช้ metadata (หรือ tags) เพื่อบอกหน้าที่และประเภทของข้อมูลของส่วนต่างๆ ของเอกสารนั้น ได้โดยชัดเจน การเพิ่ม metadata (หรือ tags) เข้าไปในเอกสารสามารถทาให้โครงสร้างของ เอกสารชัดเจนขึ้น และทาให้การประมวลผลเอกสารเป็นไปโดยง่ายและไม่จำเป็นที่จะต้อง อำศัยมนุษย์เพื่อตีควำมเอกสำร
  • 3. What? (count.) • XML ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของ Standard Generalized Markup Language (SGML) ที่เป็นข้อกาหนดในการสร้างหรือจัดทาเอกสารในรูปแบบ Electronics ที่กาหนดโดย W3C หรือ World Wide Web Consortium ที่มี โครงสร้างและรูปแบบที่เปิดให้ Application ต่างๆ สามารถเรียกไปใช้งานได้ จึง ทาให้การ จัดการข้อมูลหรือเรียกใช้ข้อมูลจาก Application ต่างๆ นั้นอยู่ในมาตรฐานเดียวกัน โดยสามารถ สร้างแอพพลิเคชั่นเพื่ออ่านและประมวลผล XML ได้อย่างง่ายดาย
  • 4. What? (count.) • เราใช้เทคโนโลยี XML ในการพัฒนำมำตรฐำนเพื่อกำรกระจำยข่ำวเนื่องจาก XML เป็นภาษาที่เหมาะกับการแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เนื่องจาก XML ไม่ได้ขึ้นอยู่กับโปรแกรมประยุกต์หรือระบบปฏิบัติกำรใด นอกจากนี้ XML ยังเป็นภาษาที่มีความยืดหยุ่น เนื่องจากผู้ใช้สามารถที่จะกาหนด และตั้งค่า metadata (หรือ tags) ให้เหมาะกับเอกสารเฉพาะที่ตนต้องการได้อย่าง อิสระ และยังสามารถเพิ่มเติม metadata (หรือ tags) ได้ในภายหลังโดยไม่มี ผลกระทบต่อโปรแกรมที่มีอยู่แล้วด้วย
  • 5. Why? • XML มีความยืดหยุ่นทาให้ใช้ได้กว้างขวาง • ไฟล์ข้อควำมอย่ำงง่ำยใช้เก็บข้อมูล คนและเครื่องสามารถอ่านได้ ไม่ต้องการรูปแบบข้อมูลพิเศษ • การสนับสนุน Unicode ดี ทาให้ข้อมูลตัวอักษรต่างๆ รอบโลกสามารถนาเสนอได้ง่าย • ไม่มีplatformขึ้นต่อใน XML จึงเป็นเทคโนโลยีข้าม platform อย่างแท้จริง • จัดการเอกสารได้เร็วและมีประสิทธิภาพ • มาตรฐานที่มีอยู่ใกล้เคียงกับ platform หลัก จึงไม่ต้องทำส่วนสนับสนุน XML เพิ่ม • เครื่องมือในการทางานกับ XML มีมาก
  • 6. Why? (count.) • โครงสร้ำงข้อมูลง่ำย เช่น ไฟล์คอนฟิก, address book หรือการเก็บข้อมูลขนาดเล็ก การใช้ XML เก็บค่าคอนฟิกและข้อมูลของผู้ใช้ จึงไม่ต้องเขียนคาสั่งขนาดใหญ่เพื่อจัดการ • บริษัทต้องการใช้ข้อมูลร่วม business-to-business (B2B) เช่น คลังสินค้า และฝ่ายกระจายสินค้า สามารถใช้ XML ส่งผ่ำนข้อมูลได้ • กำรประยุกต์ข้อมูลร่วม ถ้าโปรแกรมเก็บข้อมูลเป็นไฟล์ข้อมูล XML เอกสารจัดการได้กว้างตาม platform และโปรแกรม • เนื่องจาก XML ยืดหยุ่นและคอนฟิกทาให้สามารถกาหนดภาษา markup ใหม่สาหรับ วัตถุประสงค์หลากหลาย
  • 7. How? XML Syntax Rules <?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?> <root> <child> <subchild>.....</subchild> </child> </root> ใช้ <?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?> ในการประกาศการเข้ารหัส
  • 8. How? (count.) <phonestore> <phone brands=”oppo”> <generation>R5</generation> <price>300$</price> <year>2016</year> </phone> </phonestore> โดยมีโครงสร้ำงคือ tag และ element tag คือส่วนข้อความที่อยู่ระหว่างสัญลักษณ์ "<" และ ">" มี 2 แบบคือ tag เปิด และ tag ปิด element เริ่มต้นที่ tag เปิด และสิ้นสุดที่ tag ปิด ใน tag ดียวกัน ตัวอย่างเช่น <price>29.99</price> อาจมี Attribute สาหรับกาหนดข้อมูลที่เป็นค่าคงที่ ไว้ใน tag เปิด เช่น <note date="12/11/2007">
  • 9. How? (count.) • ซึ่งโครงสร้ำงภำยใน xml สามารถ มองเป็นแผนภำพต้นไม้ได้โดยจะมอง เริ่มจากส่วน root แล้วภายใน root จะแตกออกเป็นหลาย branch ได้ ซึ่ง branch ในที่นี้คือ child element ซึ่ง Tag <> ที่อยู่ภายในแต่ละ child นี้จะเป็นส่วน element เฉพาะของ child แต่ ละตัวนั่นเอง ซึ่งในแต่ละ element จะมี attribute ได้ดังนี้
  • 10. How? (count.) สำมำรถใช้ XSLT ในกำรใช้ xml ใน html ได้ <?xml version="1.0" encoding="UTF-8"?> <html xsl:version="1.0" xmlns:xsl="http://www.w3.org/1999/XSL/Transform"> <body style="font-family:Arial;font-size:12pt;background-color:#EEEEEE"> <xsl:for-each select="breakfast_menu/food"> <div style="background-color:teal;color:white;padding:4px"> <span style="font-weight:bold"><xsl:value-of select="name"/> - </span> <xsl:value-of select="price"/> </div> <div style="margin-left:20px;margin-bottom:1em;font-size:10pt"> <p> <xsl:value-of select="description"/> <span style="font-style:italic"> (<xsl:value-of select="calories"/> calories per serving)</span> </p> </div> </xsl:for-each> </body> </html>
  • 11. ควำมแตกต่ำงระหว่ำง XML กับ HTML คือ • XML นั้นใช้อธิบายข้อมูล คือ บอกว่าข้อมูลนั้นคืออะไร • HTML นั้นใช้อธิบายการแสดงผล คือ บอกว่าข้อมูลนั้นจะแสดงผลในหน้าตาแบบไหน XML vs. HTML HTML XML HTML เป็นคาย่อมาจาก HyperText Markup Language XML ย่อมาจาก Extensible Markup ภาษา HTML ได้รับการออกแบบเพื่อแสดงข้อมูลที่มี ความสาคัญเกี่ยวกับวิธีการลักษณะข้อมูล XML ได้รับการออกแบบมาเพื่อเป็นซอฟแวร์และ ฮาร์ดแวร์เครื่องมืออิสระใช้ในการขนส่งและเก็บข้อมูลที่ มีความสาคัญกับสิ่งที่เป็นข้อมูล
  • 12. XML vs. HTML (count.) HTML XML HTML เป็นภาษามาร์กอัปตัวเอง XML ให้กรอบสาหรับการกาหนดภาษามาร์กอัป HTML เป็นภาษานาเสนอ XML เป็นค่าภาษาการเขียนโปรแกรมภาษามิได้นาเสนอ HTML จะใช้สาหรับการออกแบบหน้าเว็บที่จะแสดงผลบน ฝั่งไคลเอ็นต์ XML จะใช้เป็นพื้นเพื่อการขนส่งข้อมูลระหว่างโปรแกรม และฐานข้อมูล HTML มีแท็กที่กาหนดไว้ล่วงหน้าของตัวเอง ในขณะที่สิ่งที่ทาให้มีความยืดหยุ่น XML คือว่าแท็กที่ กาหนดเองสามารถกาหนดและแท็กที่คิดค้นโดยผู้เขียนของ เอกสาร XML
  • 13. XML vs. HTML (count.) HTML XML HTML จะไม่เข้มงวดหากผู้ใช้ไม่ได้ใช้แท็กปิด XML ทาให้มันบังคับสาหรับผู้ใช้แท็กใกล้เคียงที่มีการใช้ใน แต่ละ HTML ไม่รักษาพื้นที่สีขาว XML เก็บรักษาพื้นที่สีขาว HTML เป็นเรื่องเกี่ยวกับการแสดงข้อมูลจึงคงที่ XML เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินเพราะฉะนั้นแบบไดนา มิก
  • 14. Reference • What? And How? http://www.w3schools.com/xml/ http://www.nextproject.net/contents/default.aspx?00048 • Why? http://www.widebase.net/internet/php/phpweb/phpweb0301.shtml https://www.gotoknow.org/posts/61890 • XML vs. HTML https://www.l3nr.org/posts/375434 http://www.withoutbook.com/DifferenceBetweenSubjects.php? http://thaicss.com/
  • 15. Members Group1 นาย อภิวัฒธ์ วงศ์โท๊ะ รหัสนักศึกษา 52-1116-530-2 นางสาว พัลลภา เขมรังสฤษฏ์ รหัสนักศึกษา 56-010126-2008-1 นางสาว อัญธิกา หนองบัว รหัสนักศึกษา 56-010126-3028-1 นาย ธีรวัฒน์ ผ่องสกุล รหัสนักศึกษา 56-010126-3015-9 นาย ธนดล เตชะวัชรีกุล รหัสนักศึกษา 56-010126-3009-4 นาย ภูมมิฑล ไชยเชิดเกียรติ รหัสนักศึกษา 56-010116-2131-8