SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
พื้นฐานภาษJava
องค์ประกอบ Java
• Java เป็นภาษาที่มีอิสระในเรื่องของรูปแบบ หมายความว่า ในการพิมพ์source code เรา
จะย่อหน้าหรือไม่ย่อหน้า จะวรรค 1 เคาะ หรือกี่เคาะ โปรแกรมก็ run ได้เหมือนเดิมทุกประการ ไม่
เชื่อก็จงทดลองกับโปรแกรม HelloWorld.java ดูก็ได้! แต่ท่านควรยึดแบบแผนที่ดี (หัวข้อ
ถัดไป)จะดีกว่า มิฉะนั้น จะไล่ดู ตรวจสอบ แก้ไขโค้ดลาบาก
• Java มีองค์ประกอบและไวยากรณ์คล้าย C และ C++
• Primitive Data Types มี boolean, byte, short, char, int, float
จงเลือกใช้ให้เหมาะสม โปรแกรมจึงจะทางานอย่างมีประสิทธิภาพ (รันเร็ว ไม่เปลืองเนื้อที่ฮาร์ดดิสก์
ผลลัพธ์ถูกต้องเที่ยงตรง โดยเฉพาะทศนิยมด้วย ฯลฯ)
• Operators แต่ละคู่ต่อไปนี้ต้อง เขียน/พิมพ์ติดกัน:
==, !=, <=, >=, &&, ||
ลักษณะและไวยากรณ์ของ Java
Comments มี 3 แบบ
//
/* */
/** */
อันที่จริงเราไม่ใช้Comment เลยก็ได้เพราะมันเป็นแค่หมายเหตุ หรือคาอธิบายเท่านั้น คอมฯ ไม่
นามาประมวลผลเลย แต่สาหรับโปรแกรมเมอร์ระดับอาชีพ เขียนโปรแกรมใหญ่ๆ บางบรรทัด บาง
บล็อกของโค้ดที่สาคัญเขาจะทา Comment ไว้กันลืม ง่ายต่อการแก้ไขปรับปรุงใน 3 ปี 5 ปี
ข้างหน้า เป็นต้น หรือแม้แต่เจอ bug ในปัจจุบันก็จะหาสาเหตุของ bug ได้ง่ายขึ้น
• เครื่องหมายสาคัญ
; เรียกว่า statement separator
{ } เรียกว่า statement grouper
โครงสร้างคุมโปรแกรม
• การเขียนโปรแกรมเรียกว่า coding
• โปรแกรมประกอบด้วยหลายๆ statements (ประโยคคาสั่ง)
• แต่ละ statement สิ้นสุดด้วยเครื่องหมาย ; (semicolon)
• โดยทั่วไป โปรแกรมทางานอะไรก่อน อะไรหลัง ย่อมเป็นไปตามลาดับเดียวกันกับลาดับ
ของ statements ในโปรแกรมนั้น
• ในบางกรณีที่เราไม่ต้องการให้โปรแกรมทางานตามลาดับเดียวกันกับลาดับของ
statements เราก็ต้องใช้ if, if…else, switch…case, และ loops
เช่น for, while, do…while เพื่อเบี่ยงหรือข้ามบาง statements ไป
• การเขียน loops ถ้าเขียนไม่ถูกต้อง อาจ run วนไม่หยุด (เรียกว่า infinite loop)
จงกด Ctrl+C ให้หยุด แล้วแก้ไข Methods* (วิธีการ)
Method คือ บล็อกหรือกลุ่มของโค้ด สั่งให้คอมฯ กระทาอะไรสักอย่างคา Method
ในภาษา Java ตรงกับคา Function หรือ Procedure ในภาษาอื่นๆ
ชนิดของข้อมูล,ตัวแปร,และค่าคงที
ตัวแปร
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาทุกภาษาจะมีรูปแบบการประกาศตัวแปรที่แตกต่างกัน PHP ก็เป็น
ภาษาหนึ่งที่มีลักษณะโดดเด่นกว่าภาษาอื่น คือ การประกาศตัวแปรของ PHP ไม่ต้องประกาศชนิด
ข้อมูล (Data type) เนื่องจากภาษา PHP จะกาหนดชนิดของข้อมูลตามค่าของข้อมูลที่ได้รับ
การตั้งชื่อตัวแปร
• ชื่อของตัวแปรสามารถเป็นได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมาย Underscore ( _ ) ได้
• ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร หรือเครื่องหมาย Underscore เท่านั้น ห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข
• ต้องมีเครื่องหมาย $ นาหน้าเสมอ ซึ่งการเรียกใช้ตัวแปรก็ต้องมีเครื่องหมาย $ นาหน้าด้วย
• ชื่อของตัวแปรใน PHP จะให้ความสาคัญกับตัวอักษรพิมพ์เล็ก-พิมพ์ใหญ่ (Case
Sensitive)
Intege
r
ตัวแปรแบบเลขจานวนเต็ม เช่น 1, 2, -8, 117
Floati
ng
ตัวเลขซึ่งเป็นจานวนทศนิยม เช่น 0.001, 8.5, -3.005
String ตัวแปรอักขระ ตัวอักษร หรือข้อความ โดยต้องอยู่ภายใต้เครื่องหมาย Double Quote (”
“) เช่น “MWIT”
Array เก็บค่าตั้งแต่ 1 ค่าขึ้นไปไว้ในชื่อตัวแปรเดียวกัน โดยมี index เป็นตัวระบุตาแหน่งของแต่ละ
ข้อมูล
Object กาหนดให้ตัวแปรนั้นเก็บคุณสมบัติของ Object ไว้โดยใช้ชื่อ Class เป็นตัวกาหนด ชนิด
ข้อมูลประเภทนี้
ชนิดข้อมูล
การแปลงชนิดข้อมูล
โดยปกติเมื่อมีการสร้างตัวแปรขึ้นมา ชนิดข้อมูลของตัวแปรจะเป็นไปตามข้อมูลที่กาหนด
ให้กับตัวแปรนั้น แต่หากต้องการเปลี่ยนชนิดข้อมูลให้เป็นตามที่เราต้องการ เช่น เปลี่ยน
ข้อมูลชนิดตัวเลขไปเป็นข้อมูลชนิดสตริง หรือเปลี่ยนข้อมูลชนิดจานวนเต็มไปเป็นข้อมูล
ชนิดจานวนทศนิยม ก็สามารถกระทาได้2 วิธี คือ การแปลงชนิดข้อมูลด้วยวิธี Cast และ
การแปลงชนิดข้อมูลด้วยฟังก์ชั่น settype()
การแปลงชนิดข้อมูลด้วยวิธี Cast
เป็นการระบุชนิดข้อมูลที่ต้องการไว้หน้าตัวแปร โดย
(int),
(integer)
ใช้แปลงเป็นข้อมูลชนิดจานวนเต็ม
(real),
(double),
(float)
ใช้แปลงเป็นข้อมูลชนิดจานวนทศนิยม
(string) ใช้แปลงเป็นข้อมูลชนิดสตริง
(array) ใช้แปลงเป็นข้อมูลชนิดอาร์เรย์
(object) ใช้แปลงเป็นข้อมูลชนิดออบเจ็ค
METHODแสดงผลทางจอพื้นฐาน
ในตัวอย่างต่อไปนี้ จะเป็นตัวอย่างการใช้method print และ println โดย method print
จะแสดงผล method ต่อไปจะยังอยู่ในบรรทัดเดิม และ method println จะทาให้การแสดงผล
ใน method ต่อไปแสดงผลขึ้นบรรทัดใหม่
ตัวอย่าง example1.java
public class example1 {
public static void main(String[] args) {
System.out.println(“Hello World.”);
System.out.print(“Hello World. “);
System.out.print(“My”);
System.out.print(” name”);
System.out.print(” is”);
System.out.print(” JAVA.”);
}
}
คลาส String
ภาษาจาวาได้กาหนดคลาสๆหนึ่งมาให้แล้วชื่อว่า String ประกอบด้วยเมธอดและคอนสตรักเตอร์มากมายให้ใช้งาน ซึ่งส่วน
ใหญ่จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลประเภทข้อความเป็นส่วนใหญ่ การประกาศตัวแปรอ้างอิงสาหรับคลาส String ทาได้ดังนี้
String str1 ;
สมมุติว่าเราต้องการให้อินสแตนท์ของคลาส String เก็บค่าคงตัวแบบข้อความว่า“Hello World” เราทาได้ด้วยการ
เรียกคอนสตรักเตอร์ดังนี้
str1 = new String(“Hello World”) ;
คอนสตรักเตอร์ของคลาส String มีการส่งผ่านตัวแปรแบบค่าคงตัวซึ่งก็คือค่าที่เราต้องการเก็บนั่นเอง คอนสรักเตอร์แบบ
ไม่มีการส่งผ่านค่าก็มีเช่น
str1 = new String() ;
วิธีกาหนดค่าอีกแบบหนึ่งซึ่งเป็นแบบที่นิยมใช้มากกว่าถึงแม้จะผิดหลักของการกาหนดค่าตัวแปรคลาสคือ การจับตัวแปร
อ้างอิงแบบสตริงให้เท่ากับค่าคงตัวแบบข้อความเลยดังนี้
str1 = “Hello World” ;
ซึ่งถ้าพิจารณาตามหลักการแล้วไม่น่าจะจับให้เท่ากับค่าคงตัวได้ แต่สาหรับคลาส String แล้วเป็นกรณีพิเศษโดยเฉพาะดัง
ตัวอย่างต่อไปนี้
//TestString01.java
public class TestString01 {
public static void main(String[] args) {
String str = “Hello World” ; // (1)
System.out.println(str) ;
}
}
เมธอดและคอนสตรักเตอร์ของคลาสString ที่น่าสนใจ
int length() เมธอดนี้จะคืนค่าเป็นตัวแปรจานวนเต็มซึ่งมีความยาวเท่ากับความยาวของค่าคงตัวที่เก็บอยู่
char charAt(int idex) เมธอดนี้จะรับค่าเป็นเลขจานวนเต็มแล้วคืนค่าเป็นตัวแปนแบบตัวอักษรซึ่ง
เท่ากับตัวอักษรในลาดับที่เท่ากับตัวเลขจานวนเต็มนั้นในข้อความ
เพื่อให้เข้าใจการใช้สองเมธอดนี้ เราจะมาดูตัวอย่างดังต่อไปนี้
//TestString02.java
public class TestString02 {
public static void main(String[] args) {
String str = new String(“Hello World”) ;
System.out.println(“str is ” + str.length()+” letter long”) ;
System.out.println(“the fourth letter is “+str.charAt(3)) ;
}
}
เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน
เมธอด toString() ใช้สาหรับแปลงหรือแทนข้อมูลใน object ให้อยู่ในรูปของ String เพื่อ
ความสะดวกในการ debug หรือนาข้อมูลใน object ไปแสดงผล
เมธอด toString กาหนดไว้ในคลาส Object ซึ่งเป็นคลาสบนสุด เพื่อให้คลาสต่างๆ รับทอดไป
ใช้เมธอด toString() ในคลาส Object จะแสดงชื่อคลาสและที่อยู่ของอ๊อบเจ็กท์ เราอาจ
override เมธอดนี้โดยเขียนเมธอดนี้ขึ้นมาเองในคลาสของเราเพื่อใช้แปลงหรือแทนข้อมูลต่างๆ ให้
อยู่ในรูปของ String ที่มีความหมายเหมาะกับแต่ละคลาสเพื่อความสะดวกในการนาไปใช้งาน จะ
เอาข้อมูลอะไรในอ๊อบเจ็กท์มาแปลงให้เป็น String บ้างก็เป็นเรื่องของผู้เขียนคลาสนั้นๆ (ดูตัวอย่าง
ได้จากตัวอย่างโปรแกรมที่เคยเขียนให้ดู)
ส่วนเมธอด valueOf(…) เป็น เมธอดของคลาส (static method) ซึ่งกาหนดไว้ในคลาส
String ใช้สาหรับแปลงข้อมูลพื้นฐานชนิดต่างๆ ให้เป็น String เมธอดนี้ถูก overload ให้รับ
พารามิเตอร์ได้หลายประเภท ซึ่งจะมีประโยชน์ในการแปลงข้อมูลพื้นฐานประเภทต่างๆ ให้เป็น
String โดยสะดวกนั่นเอง
ข้อแตกต่าง
เมธอด toString สามารถใช้ได้ในทุกคลาส เนื่องจากรับทอดมาจากคลาสบนสุดคือ Object เมธ
อดนี้อาจถูก override เพื่อให้แปลงข้อมูลที่จาเพาะเจาะจงสาหรับแต่ละคลาสได้ คลาสที่
override เมธอดนี้มักจะให้ข้อมูลที่ชัดเจนเป็นประโยชน์ String ที่ได้อาจเป็นผลมาจากข้อมูล
หลายตัวใน object ของคลาสนั้นๆ ในการพิมพ์ด้วยเมธอด print() หรือ println() ถ้าส่ง อ๊อบ
เจ็กท์เข้าไปเป็นพามิเตอร์ คอมไพเลอร์จะเรียกเมธอด toString() เพื่อแปลงข้อมูลของอ๊อบเจ็กท์นั้น
ให้อยู่ในรูปของ String เสียก่อนแล้วจึงนาไปแสดงผล
แหล่งอ้างอิง
อ้างอิง http://203.172.182.81/WBI/unit7/class_String.php
อ้างอิง http://is311.bus.tu.ac.th/qanda/toString()&valueOf().ht
ml
อ้างอิง https://peem1498456.wordpress.com
อ้างอิงhttp://www.cmdevhub.com/tutorial/
สมาชิกผู้จัดทา
นายพงษ์พัชร์ สาระ เลขที่ 7 ม.6/3
นายชูพงษ์ รอดดี เลขที่ 14 ม.6/3
นายสิรภพ คมขา เลขที่ 15 ม.6/3
นางสาวกัลยา ปุณณะการี เลขที่ 29 ม.6/3
นางสาวธีรกานต์ เดชากัลยาณคุณ เลขที่ 30 ม.6/3

More Related Content

What's hot

คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นParn Nichakorn
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมThanachart Numnonda
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาT'tle Tanwarat
 
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)Thanachart Numnonda
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุBoOm mm
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Thanachart Numnonda
 
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่นJava Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่นThanachart Numnonda
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวาพื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวาThanachart Numnonda
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
Java Programming [11/12] : Input and Output Classes
Java Programming [11/12] : Input and Output ClassesJava Programming [11/12] : Input and Output Classes
Java Programming [11/12] : Input and Output ClassesIMC Institute
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นTua Tor
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadIMC Institute
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรKomkai Pawuttanon
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาJK133
 

What's hot (20)

คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
Python Course #1
Python Course #1Python Course #1
Python Course #1
 
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุมJava Programming: โครงสร้างควบคุม
Java Programming: โครงสร้างควบคุม
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
Java Programming: การสร้างส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ (Java GUI)
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
 
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่นJava Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
Java Programming: อะเรย์และคอลเล็กชั่น
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Java AWT
Java AWTJava AWT
Java AWT
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวาพื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
พื้นฐานโปรแกรมภาษาจาวา
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
Java Programming [11/12] : Input and Output Classes
Java Programming [11/12] : Input and Output ClassesJava Programming [11/12] : Input and Output Classes
Java Programming [11/12] : Input and Output Classes
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
Java Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : ThreadJava Programming [12/12] : Thread
Java Programming [12/12] : Thread
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 

Viewers also liked

3Com USR 56K V.90
3Com USR 56K V.903Com USR 56K V.90
3Com USR 56K V.90savomir
 
3Com 1698-110-000-6.02
3Com 1698-110-000-6.023Com 1698-110-000-6.02
3Com 1698-110-000-6.02savomir
 
3Com 3C96100D-AMGT
3Com 3C96100D-AMGT3Com 3C96100D-AMGT
3Com 3C96100D-AMGTsavomir
 
3Com 6000M-RCTL
3Com 6000M-RCTL3Com 6000M-RCTL
3Com 6000M-RCTLsavomir
 
C- Programs - Harsh
C- Programs - HarshC- Programs - Harsh
C- Programs - HarshHarsh Sharma
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)G ''Pamiiz Porpam
 
Gem 7-20-green dream
Gem 7-20-green dreamGem 7-20-green dream
Gem 7-20-green dreamijcparish
 
CMO Disrupt Sydney 2016
CMO Disrupt Sydney 2016CMO Disrupt Sydney 2016
CMO Disrupt Sydney 2016Grant Stewart
 

Viewers also liked (14)

3Com USR 56K V.90
3Com USR 56K V.903Com USR 56K V.90
3Com USR 56K V.90
 
3Com 1698-110-000-6.02
3Com 1698-110-000-6.023Com 1698-110-000-6.02
3Com 1698-110-000-6.02
 
3Com 3C96100D-AMGT
3Com 3C96100D-AMGT3Com 3C96100D-AMGT
3Com 3C96100D-AMGT
 
3Com 6000M-RCTL
3Com 6000M-RCTL3Com 6000M-RCTL
3Com 6000M-RCTL
 
C- Programs - Harsh
C- Programs - HarshC- Programs - Harsh
C- Programs - Harsh
 
Arquitectura islamica unidad v
Arquitectura islamica unidad vArquitectura islamica unidad v
Arquitectura islamica unidad v
 
Videojuego
VideojuegoVideojuego
Videojuego
 
Marine Industry
Marine IndustryMarine Industry
Marine Industry
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
 
Evaluación de desempeño directivo UGEL Y DRE
Evaluación de desempeño directivo UGEL Y DREEvaluación de desempeño directivo UGEL Y DRE
Evaluación de desempeño directivo UGEL Y DRE
 
Trait Theory
Trait TheoryTrait Theory
Trait Theory
 
Hispania
HispaniaHispania
Hispania
 
Gem 7-20-green dream
Gem 7-20-green dreamGem 7-20-green dream
Gem 7-20-green dream
 
CMO Disrupt Sydney 2016
CMO Disrupt Sydney 2016CMO Disrupt Sydney 2016
CMO Disrupt Sydney 2016
 

Similar to งานนำเสนอ

Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming LanguageJava Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming LanguageIMC Institute
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาKukkik Kanya
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นSamart Phetdee
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSaranporn Rungrueang
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5SubLt Masu
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
Java Programming [8/12] : Arrays and Collection
Java Programming [8/12] : Arrays and CollectionJava Programming [8/12] : Arrays and Collection
Java Programming [8/12] : Arrays and CollectionIMC Institute
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 

Similar to งานนำเสนอ (20)

Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming LanguageJava Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
Java Programming [2/12] : Overview of Java Programming Language
 
Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1Lab Computer Programming 1
Lab Computer Programming 1
 
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวาบทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
บทที่ 2 พื้นฐานภาษาจาวา
 
12
1212
12
 
Work
WorkWork
Work
 
งาน
งานงาน
งาน
 
Java script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้นJava script เบื้องต้น
Java script เบื้องต้น
 
11
1111
11
 
DataSet
DataSetDataSet
DataSet
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 
Intro c
Intro cIntro c
Intro c
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
ใบความรู้ที่ 5
ใบความรู้ที่  5ใบความรู้ที่  5
ใบความรู้ที่ 5
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
Java Programming [8/12] : Arrays and Collection
Java Programming [8/12] : Arrays and CollectionJava Programming [8/12] : Arrays and Collection
Java Programming [8/12] : Arrays and Collection
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 

งานนำเสนอ

  • 2. องค์ประกอบ Java • Java เป็นภาษาที่มีอิสระในเรื่องของรูปแบบ หมายความว่า ในการพิมพ์source code เรา จะย่อหน้าหรือไม่ย่อหน้า จะวรรค 1 เคาะ หรือกี่เคาะ โปรแกรมก็ run ได้เหมือนเดิมทุกประการ ไม่ เชื่อก็จงทดลองกับโปรแกรม HelloWorld.java ดูก็ได้! แต่ท่านควรยึดแบบแผนที่ดี (หัวข้อ ถัดไป)จะดีกว่า มิฉะนั้น จะไล่ดู ตรวจสอบ แก้ไขโค้ดลาบาก • Java มีองค์ประกอบและไวยากรณ์คล้าย C และ C++ • Primitive Data Types มี boolean, byte, short, char, int, float จงเลือกใช้ให้เหมาะสม โปรแกรมจึงจะทางานอย่างมีประสิทธิภาพ (รันเร็ว ไม่เปลืองเนื้อที่ฮาร์ดดิสก์ ผลลัพธ์ถูกต้องเที่ยงตรง โดยเฉพาะทศนิยมด้วย ฯลฯ) • Operators แต่ละคู่ต่อไปนี้ต้อง เขียน/พิมพ์ติดกัน: ==, !=, <=, >=, &&, ||
  • 3. ลักษณะและไวยากรณ์ของ Java Comments มี 3 แบบ // /* */ /** */ อันที่จริงเราไม่ใช้Comment เลยก็ได้เพราะมันเป็นแค่หมายเหตุ หรือคาอธิบายเท่านั้น คอมฯ ไม่ นามาประมวลผลเลย แต่สาหรับโปรแกรมเมอร์ระดับอาชีพ เขียนโปรแกรมใหญ่ๆ บางบรรทัด บาง บล็อกของโค้ดที่สาคัญเขาจะทา Comment ไว้กันลืม ง่ายต่อการแก้ไขปรับปรุงใน 3 ปี 5 ปี ข้างหน้า เป็นต้น หรือแม้แต่เจอ bug ในปัจจุบันก็จะหาสาเหตุของ bug ได้ง่ายขึ้น • เครื่องหมายสาคัญ ; เรียกว่า statement separator { } เรียกว่า statement grouper
  • 4. โครงสร้างคุมโปรแกรม • การเขียนโปรแกรมเรียกว่า coding • โปรแกรมประกอบด้วยหลายๆ statements (ประโยคคาสั่ง) • แต่ละ statement สิ้นสุดด้วยเครื่องหมาย ; (semicolon) • โดยทั่วไป โปรแกรมทางานอะไรก่อน อะไรหลัง ย่อมเป็นไปตามลาดับเดียวกันกับลาดับ ของ statements ในโปรแกรมนั้น • ในบางกรณีที่เราไม่ต้องการให้โปรแกรมทางานตามลาดับเดียวกันกับลาดับของ statements เราก็ต้องใช้ if, if…else, switch…case, และ loops เช่น for, while, do…while เพื่อเบี่ยงหรือข้ามบาง statements ไป • การเขียน loops ถ้าเขียนไม่ถูกต้อง อาจ run วนไม่หยุด (เรียกว่า infinite loop) จงกด Ctrl+C ให้หยุด แล้วแก้ไข Methods* (วิธีการ) Method คือ บล็อกหรือกลุ่มของโค้ด สั่งให้คอมฯ กระทาอะไรสักอย่างคา Method ในภาษา Java ตรงกับคา Function หรือ Procedure ในภาษาอื่นๆ
  • 5. ชนิดของข้อมูล,ตัวแปร,และค่าคงที ตัวแปร การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาทุกภาษาจะมีรูปแบบการประกาศตัวแปรที่แตกต่างกัน PHP ก็เป็น ภาษาหนึ่งที่มีลักษณะโดดเด่นกว่าภาษาอื่น คือ การประกาศตัวแปรของ PHP ไม่ต้องประกาศชนิด ข้อมูล (Data type) เนื่องจากภาษา PHP จะกาหนดชนิดของข้อมูลตามค่าของข้อมูลที่ได้รับ การตั้งชื่อตัวแปร • ชื่อของตัวแปรสามารถเป็นได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข และเครื่องหมาย Underscore ( _ ) ได้ • ต้องขึ้นต้นด้วยตัวอักษร หรือเครื่องหมาย Underscore เท่านั้น ห้ามขึ้นต้นด้วยตัวเลข • ต้องมีเครื่องหมาย $ นาหน้าเสมอ ซึ่งการเรียกใช้ตัวแปรก็ต้องมีเครื่องหมาย $ นาหน้าด้วย • ชื่อของตัวแปรใน PHP จะให้ความสาคัญกับตัวอักษรพิมพ์เล็ก-พิมพ์ใหญ่ (Case Sensitive)
  • 6. Intege r ตัวแปรแบบเลขจานวนเต็ม เช่น 1, 2, -8, 117 Floati ng ตัวเลขซึ่งเป็นจานวนทศนิยม เช่น 0.001, 8.5, -3.005 String ตัวแปรอักขระ ตัวอักษร หรือข้อความ โดยต้องอยู่ภายใต้เครื่องหมาย Double Quote (” “) เช่น “MWIT” Array เก็บค่าตั้งแต่ 1 ค่าขึ้นไปไว้ในชื่อตัวแปรเดียวกัน โดยมี index เป็นตัวระบุตาแหน่งของแต่ละ ข้อมูล Object กาหนดให้ตัวแปรนั้นเก็บคุณสมบัติของ Object ไว้โดยใช้ชื่อ Class เป็นตัวกาหนด ชนิด ข้อมูลประเภทนี้ ชนิดข้อมูล
  • 7. การแปลงชนิดข้อมูล โดยปกติเมื่อมีการสร้างตัวแปรขึ้นมา ชนิดข้อมูลของตัวแปรจะเป็นไปตามข้อมูลที่กาหนด ให้กับตัวแปรนั้น แต่หากต้องการเปลี่ยนชนิดข้อมูลให้เป็นตามที่เราต้องการ เช่น เปลี่ยน ข้อมูลชนิดตัวเลขไปเป็นข้อมูลชนิดสตริง หรือเปลี่ยนข้อมูลชนิดจานวนเต็มไปเป็นข้อมูล ชนิดจานวนทศนิยม ก็สามารถกระทาได้2 วิธี คือ การแปลงชนิดข้อมูลด้วยวิธี Cast และ การแปลงชนิดข้อมูลด้วยฟังก์ชั่น settype()
  • 9. METHODแสดงผลทางจอพื้นฐาน ในตัวอย่างต่อไปนี้ จะเป็นตัวอย่างการใช้method print และ println โดย method print จะแสดงผล method ต่อไปจะยังอยู่ในบรรทัดเดิม และ method println จะทาให้การแสดงผล ใน method ต่อไปแสดงผลขึ้นบรรทัดใหม่ ตัวอย่าง example1.java public class example1 { public static void main(String[] args) { System.out.println(“Hello World.”); System.out.print(“Hello World. “); System.out.print(“My”); System.out.print(” name”); System.out.print(” is”); System.out.print(” JAVA.”); } }
  • 10. คลาส String ภาษาจาวาได้กาหนดคลาสๆหนึ่งมาให้แล้วชื่อว่า String ประกอบด้วยเมธอดและคอนสตรักเตอร์มากมายให้ใช้งาน ซึ่งส่วน ใหญ่จะเกี่ยวข้องกับข้อมูลประเภทข้อความเป็นส่วนใหญ่ การประกาศตัวแปรอ้างอิงสาหรับคลาส String ทาได้ดังนี้ String str1 ; สมมุติว่าเราต้องการให้อินสแตนท์ของคลาส String เก็บค่าคงตัวแบบข้อความว่า“Hello World” เราทาได้ด้วยการ เรียกคอนสตรักเตอร์ดังนี้ str1 = new String(“Hello World”) ; คอนสตรักเตอร์ของคลาส String มีการส่งผ่านตัวแปรแบบค่าคงตัวซึ่งก็คือค่าที่เราต้องการเก็บนั่นเอง คอนสรักเตอร์แบบ ไม่มีการส่งผ่านค่าก็มีเช่น str1 = new String() ; วิธีกาหนดค่าอีกแบบหนึ่งซึ่งเป็นแบบที่นิยมใช้มากกว่าถึงแม้จะผิดหลักของการกาหนดค่าตัวแปรคลาสคือ การจับตัวแปร อ้างอิงแบบสตริงให้เท่ากับค่าคงตัวแบบข้อความเลยดังนี้ str1 = “Hello World” ; ซึ่งถ้าพิจารณาตามหลักการแล้วไม่น่าจะจับให้เท่ากับค่าคงตัวได้ แต่สาหรับคลาส String แล้วเป็นกรณีพิเศษโดยเฉพาะดัง ตัวอย่างต่อไปนี้ //TestString01.java public class TestString01 { public static void main(String[] args) { String str = “Hello World” ; // (1) System.out.println(str) ; } }
  • 11. เมธอดและคอนสตรักเตอร์ของคลาสString ที่น่าสนใจ int length() เมธอดนี้จะคืนค่าเป็นตัวแปรจานวนเต็มซึ่งมีความยาวเท่ากับความยาวของค่าคงตัวที่เก็บอยู่ char charAt(int idex) เมธอดนี้จะรับค่าเป็นเลขจานวนเต็มแล้วคืนค่าเป็นตัวแปนแบบตัวอักษรซึ่ง เท่ากับตัวอักษรในลาดับที่เท่ากับตัวเลขจานวนเต็มนั้นในข้อความ เพื่อให้เข้าใจการใช้สองเมธอดนี้ เราจะมาดูตัวอย่างดังต่อไปนี้ //TestString02.java public class TestString02 { public static void main(String[] args) { String str = new String(“Hello World”) ; System.out.println(“str is ” + str.length()+” letter long”) ; System.out.println(“the fourth letter is “+str.charAt(3)) ; } }
  • 12. เมธอดรับข้อมูลพื้นฐาน เมธอด toString() ใช้สาหรับแปลงหรือแทนข้อมูลใน object ให้อยู่ในรูปของ String เพื่อ ความสะดวกในการ debug หรือนาข้อมูลใน object ไปแสดงผล เมธอด toString กาหนดไว้ในคลาส Object ซึ่งเป็นคลาสบนสุด เพื่อให้คลาสต่างๆ รับทอดไป ใช้เมธอด toString() ในคลาส Object จะแสดงชื่อคลาสและที่อยู่ของอ๊อบเจ็กท์ เราอาจ override เมธอดนี้โดยเขียนเมธอดนี้ขึ้นมาเองในคลาสของเราเพื่อใช้แปลงหรือแทนข้อมูลต่างๆ ให้ อยู่ในรูปของ String ที่มีความหมายเหมาะกับแต่ละคลาสเพื่อความสะดวกในการนาไปใช้งาน จะ เอาข้อมูลอะไรในอ๊อบเจ็กท์มาแปลงให้เป็น String บ้างก็เป็นเรื่องของผู้เขียนคลาสนั้นๆ (ดูตัวอย่าง ได้จากตัวอย่างโปรแกรมที่เคยเขียนให้ดู) ส่วนเมธอด valueOf(…) เป็น เมธอดของคลาส (static method) ซึ่งกาหนดไว้ในคลาส String ใช้สาหรับแปลงข้อมูลพื้นฐานชนิดต่างๆ ให้เป็น String เมธอดนี้ถูก overload ให้รับ พารามิเตอร์ได้หลายประเภท ซึ่งจะมีประโยชน์ในการแปลงข้อมูลพื้นฐานประเภทต่างๆ ให้เป็น String โดยสะดวกนั่นเอง ข้อแตกต่าง เมธอด toString สามารถใช้ได้ในทุกคลาส เนื่องจากรับทอดมาจากคลาสบนสุดคือ Object เมธ อดนี้อาจถูก override เพื่อให้แปลงข้อมูลที่จาเพาะเจาะจงสาหรับแต่ละคลาสได้ คลาสที่ override เมธอดนี้มักจะให้ข้อมูลที่ชัดเจนเป็นประโยชน์ String ที่ได้อาจเป็นผลมาจากข้อมูล หลายตัวใน object ของคลาสนั้นๆ ในการพิมพ์ด้วยเมธอด print() หรือ println() ถ้าส่ง อ๊อบ เจ็กท์เข้าไปเป็นพามิเตอร์ คอมไพเลอร์จะเรียกเมธอด toString() เพื่อแปลงข้อมูลของอ๊อบเจ็กท์นั้น ให้อยู่ในรูปของ String เสียก่อนแล้วจึงนาไปแสดงผล
  • 14. สมาชิกผู้จัดทา นายพงษ์พัชร์ สาระ เลขที่ 7 ม.6/3 นายชูพงษ์ รอดดี เลขที่ 14 ม.6/3 นายสิรภพ คมขา เลขที่ 15 ม.6/3 นางสาวกัลยา ปุณณะการี เลขที่ 29 ม.6/3 นางสาวธีรกานต์ เดชากัลยาณคุณ เลขที่ 30 ม.6/3