SlideShare a Scribd company logo
เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน
บทที่ 4 ตัวแปร การกาหนดค่าและชนิดข้อมูล
1. หลักการตั้งชื่อตัวแปร (Identifier)
1. ตัวอักษรตัวแรกต้องเป็นภาษาอังกฤษ (A-Z, a-z) ตามด้วยตัวอักษร หรือ
ตัวเลขใดๆ ก็ได้
2. ชื่อตัวแปรห้ามมีช่องว่าง จุดทศนิยม และสัญลักษณ์พิเศษ ยกเว้น
underscore "_" เท่านั้น
3. การใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่และอักษรพิมพ์เล็กมีความแตกต่างกัน (Case-
sensitive) เช่น
4. ห้ามใช้ค่าสวงนเป็นชื่อตัวแปร (Reserved word, Keyword) เช่น if, for,
max, sum เป็นต้น
5. ควรจะตั้งชื่อให้สื่อกับความหมายใกล้เคียงกับค่าที่จะเก็บสามารถอ่านและทาความ
เข้าใจ
เช่น Score, SCORE1, s5, Test_para_01 เป็นต้น
เช่น Count_01, str_, _doc, ____main, __func___, oo_x_oo เป็นต้น
Var1 กับ var1 ถือว่าไม่ใช่ตัวแปรเดียวกัน
ได้ง่าย เช่น Count ส าหรับเก็บจ านวนนับ Salary สาหรับเก็บเงินเดือน
และ Total เก็บค่าผลรวม เป็นต้น
6. ห้ามใช้เครื่องหมายต่อไปนี้ในการตั้งชื่อตัวแปร !,@, #, $, %, ^, &, *, (, ), -, =, , |, +,
~, .
7. ตัวแปรไม่ควรยาวเกิน 255 ตัวอักษร ตัวแปรที่มีความยาวมากๆ หรือเป็นการผสม
ระหว่างค่า ให้ใช้"_" เชื่อมค่าเหล่านั้นแทน เช่น Thai_Market_Chair
2. การใช้งานตัวแปร(Variablesusing)
การใช้งานตัวแปรมี 3 ขั้นตอน คือ
1. การประกาศตัวแปร (Variable declaration)
2. กาหนดค่าให้ตัวแปร (Assigning values to variables)
3. การใช้ตัวแปร (Use the variable)
3. คาสงวน (Reserved word, Keyword)
คาสงวน คือคาที่ถูกภาษาไพธอนใช้เพื่อสร้างไวยกรณ์
ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมห้ามนาไปใช้ในการสร้าง หรือ
ประกาศเป็นตัวแปรโดยเด็ดขาด เพราะจะทาให้เกิด
ข้อผิดพลาด
4. ชนิดข้อมลู (Data types)
1.ข้อมูลพื้นฐาน (Basic data types) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย
1) ข้อมูลตัวเลข (Numeric)
- เลขจานวนเต็ม (Integers)
- ตัวเลขทศนิยม หรือจานวนจริง (Floating-Point numbers)
- จานวนตรรกะ (Boolean)
- จานวนเชิงซ้อน (Complex numbers)
-การเปลี่ยนค่าตัวแปร(Forcing a number type)
2) ข้อมูลชนิดสายอักษร (String)
ข้อมูลสายอักษร หรือสตริง หมายถึง ข้อมูลที่เป็น ตัวอักษร
ข้อความ หรือประโยค ซึ่งตัวแปรชนิดนี้ไม่สามารถนามาคานวณ
ได้ในการประกาศตัวแปรชนิดนี้ ข้อความจะต้องอยู่ภายใต้
เครื่องหมาย (" ") หรือเครื่องหมาย (' ') ก ากับอยู่
เช่น author = 'Suchart' หรือ author = "Suchart“
ดังนั้นในกรณี ที่มีการเก็บในลักษณะเป็นตัวเลข
เช่น '15.25' จึงมีความหมายเป็นเพียงสายอักษร ไม่สามารถนามา
ประมวลผลได้แต่ถ้าผู้เขียนโปรแกรมต้องการให้คานวณได้
จาเป็นต้องใช้ฟังก์ชันเพื่อเปลี่ยนชนิดตัวแปร (Forcing) จากสาย
อักษรไปเป็นจานวนเต็ม หรือจานวนจริง จึงจะสามารถ
ประมวลผลได้วิธีการเขียนคาสั่งเพื่อเก็บข้อมูลชนิดตัวแปรสาย
อักษร ดังนี้
var1 = 'Hello World!'
var2 = "Python Programming"
2. ข้อมูล เชิงประกอบ (Composite data types)
-ลิสต์(lists) ตัวแปรชนิดลิสต์ (list) คือ ตัวแปรที่สามารถเก็บข้อมูล
ได้หลายจานวนต่อเนื่องกันภายในตัวแปรเดียวกัน(สามารถเก็บข้อมูล
ต่างชนิดกันได้) มีลักษณะคล้ายกับอะเรย์
-ตัวดาเนินการพื้นฐานของลิสต์(Basic list operations)
สาหรับตัวแปรแบบลิสต์สามารถใช้สัญลักษณ์ * และ +
เช่นเดียวกับสตริงได้ในลักษณะการเชื่อมค่าของสมาชิกเข้าด้วยกัน (+)
และการทาซ้าข้อมูล (*)
ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมดังนี้
lst1 = [1, 2, 3]; lst2 = [4, 5, 6]
print("length of lst1 :",len(lst1))
print("lst1 + lst2 :",lst1 + lst2)
print("lst1 * 3 :",lst1*3)
print("Elements in lst1 are :")
for x in lst1:
print (x)
ทัพเพิล (Tuples)
ทัพเพิลมีลักษณะโครงสร้างคล้ายกับลิสต์ คือ สามารถเก็บข้อมูลได้
ในปริมาณมาก และสามารถเก็บข้อมูลต่างประเภทกันได้ภายในตัวแปร
เดียวกัน ข้อแตกต่างระหว่างลิสต์กับทัพเพิลคือ ทัพเพิลจะใช้สาหรับเก็บ
ข้อมูลที่มีค่าคงที่ และไม่มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายอะเรย์ที่มีขนาดคงที่ ไม่
สามารถเพิ่มหรือลบข้อมูลทัพเพิลได้โดยตรง แต่ทาให้มีข้อได้เปรียบใน
เรื่องของความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สาหรับการเข้าถึงข้อมูลทาได้โดย
ใช้ตัวชี้ หรือดัชนีเหมือนลิสต์ ตัวแปรทัพเพิลจะใช้สัญลักษณ์ (...) ในการ
ประกาศตัวแปร และสมาชิกภายในทัพเพิลจะคั่นด้วย
ดังตัวอย่าง
tup1 = (12, 34.56);
tup2 = ('abc', 'xyz');
tup3 = (19, 12.5, 'Python',"HELLO");
tup4 = (tup1, tup2, tup3);
tup5 = tup1 + tup2
print(tup1)
print(tup2)
print(tup3)
print(tup4)
print(tup5)
ตัวดาเนินการพื้นฐานที่ใช้กับทัพเพิล (Basic tuples operations)
สาหรับตัวแปรแบบทัพเพิลจะสามารถใช้สัญลักษณ์ * และ +
เช่นเดียวกับลิสต์โดย (+) ใช้สาหรับเชื่อมสมาชิกระหว่างทัพเพิลเข้าด้วยกัน
และใช้(*) สาหรับทาซ้าข้อมูลสมาชิก
ตัวอย่างการโปรแกรมใช้งานตัวแปรทัพเพิล ดังนี้
tup1 = (1, 2, 3); tup2 = (4, 5, 6)
print("length of tup1 :",len(tup1))
print("tup1 + tup2 :",tup1 + tup2)
print("tup1 * 3 :",tup1*3)
print("Elements in tup1 are :")
for x in tup1:
print (x)
ดิกชันนารี(Dictionary)
ดิกชันนารีเป็นตัวแปรชนิดเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ตลอดเวลา (Mutable)
คล้ายกับลิสต์และมีลักษณะการเก็บข้อมูลที่เหมือนกับลิสต์และทูเพิล คือ
สามารถเก็บข้อมูลได้หลายค่า และต่างชนิดกันได้พร้อมๆ กัน คุณสมบัติ
พิเศษที่แตกต่างของดิกชันนารีคือ จะเก็บข้อมูลเป็นคู่ คือคีย์(Key) ซึ่งจะต้อง
ไม่ซ้ากัน กับข้อมูล (Value) ซึ่งข้อมูลทั้งสองต้องมีความสัมพันธ์กัน โดยที่คีย์
เปรียบเหมือนตัวชี้(Identification) เพื่ออ้างอิงไปยังข้อมูลจริงที่ต้องการใช้งาน
การประกาศตัวแปรดิกชันนารีจะใช้สัญลักษณ์ {...} ในการประกาศตัวแปร
สาหรับการเก็บข้อมูลคู่ของสมาชิกจะใช้สัญลักษณ์ : เชื่อมระหว่างคีย์และ
ข้อมูล และใช้สัญลักษณ์ , ในการแยกแยะระหว่างสมาชิกในดิกชันนารี
สาหรับการเข้าถึงข้อมูลของดิกชันนารีจะใช้สัญลักษณ์ [...] เหมือนกับลิสต์
และทัพเพิล
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
dict1 = {} #empty dictionary
dict2 = {'Alice': '2341', 'Beth': '9102', 'Cecil': '3258'}
dict3 = { 'abc': 456 };
dict4 = { 'abc': 123, 98.6: 37 };
print(dict1)
print(dict2)
print(dict3)
print(dict4)
คุณสมบัติของดิกชันนารีที่ควรต้องจดจา
ประการแรก: ตามทฤษฏีแล้ว คีย์ในดิกชันนารีจะต้องมีค่าไม่ซ้ากัน
เลย แต่ในสถานการณ์จริงไพธอนยอมให้สามารถประกาศคีย์ที่
เหมือนกันในดิกชันนารีได้(ไพธอนไม่ได้ตรวจสอบขณะประกาศข้อมูล
ในตัวแปร) ส่งผลให้การอ้างอิงข้อมูลที่มีคีย์เหมือนกันเกิดข้อผิดพลาดคือ
ไพธอนจะดึงข้อมูลรายการสุดท้ายที่เจอในดิกชันนารีออกมาแสดงผล
โดยข้อมูลที่ซ้ากันในลาดับก่อนหน้าจะไม่ถูกนามาใช้งานเลย
ยกตัวอย่างเช่น
dict = {'Name': 'Zara', 'Age': 7, 'Name': 'Manni'};
print ("dict['Name']: ", dict['Name']);
ประการที่สอง: โดยปกติคีย์จะต้องเป็นค่าที่ไม่ควรเปลี่ยนแปลง
เพราะเป็นค่าที่ใช้อ้างอิงถึงข้อมูลจริง ตัวอย่างในชีวิตประจาวัน เช่น
นักศึกษาต้องมีหมายเลข ID ของนักศึกษา และไม่ควรเปลี่ยนID ไป
เรื่อยๆ ฉันใดก็ฉันนั้น คีย์ไม่ควรเปลี่ยนแปลงบ่อยเช่นเดียวกัน แม้ว่าเรา
สามารถใช้ข้อมูลหลายประเภทเป็นคีย์ได้เช่น สตริง ตัวเลข หรือทัพเพิล
แต่ไพธอนไม่แนะนาให้ใช้คีย์ในลักษณะที่คีย์ถูกครอบด้วย [...] เพราะจะ
ทาให้ไพธอนเกิดความสับสนในการอ้างถึงข้อมูล และเกิดความผิดพลาด
เช่น
dict = {['Name']: 'Zara', 'Age': 7};
print ("dict['Name']: ", dict['Name']);
เซต (Sets)
เซต ในทางคณิตศาสตร์เป็นคาที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่ง
ต่างๆ ว่า สิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น เซตสระใน
ภาษาอังกฤษ หมายถึง กลุ่มของสระอังกฤษ a, e, i, o และ u เซต
ของจานวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง กลุ่มตัวเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6,
7, 8 และ 9 เป็นต้น สิ่งที่อยู่ในเซตเรียกว่า สมาชิก(Element หรือ
Members) คุณสมบัติของเซตคือ สมาชิกไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับ
และสมาชิกต้องไม่ซ้ากัน สาหรับการดาเนินงานกับเซตพื้นฐาน
ประกอบไปด้วย การทดสอบความเป็นสมาชิก
การขจัดสมาชิกที่ซ้ากันทั้งหมดในเซต, union, intersection,
difference และ symmetric difference เป็นต้น ในไพธอนจะใช้
สัญลักษณ์ {...} สาหรับสร้างตัวแปรชนิดเซต และใช้ set( ) ใน
การกาหนดว่าเป็นเซตว่าง
ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้
>>> setx = set(); # empty set
>>> type(setx);
<class 'set'>
ยูเนียน (Union) ของเซต S1 และ S2 คือเซตที่ประกอบด้วย
สมาชิกของเซต S1 หรือ S2 ใช้สัญลักษณ์ ‘ | '
S1=set((1,1,2,3,5,8,13))
S2=set((2,3,5,7,11,13))
print("Set S1 :",S1)
print("Set S2 :",S2)
print("Set S1 | S2 :",S1|S2)
อินเตอร์เซคชัน (Intersection) ของเซต S1 และ S2 คือ
เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต S1 และS2 ใช้
สัญลักษณ์ '&‘
print("Set S1 :",S1)
print("Set S2 :",S2)
print("Set S1 & S2 :",S1&S2)
ผลต่าง (Difference) ของเซต S1 และ S2 คือเซตที่
ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต S1 แต่ไม่เป็น
สมาชิกของเซต S2 ใช้สัญลักษณ์ ‘ - '
print("Set S1 :",S1)
print("Set S2 :",S2)
print("Set S1 - S2 :",S1-S2)
ผลต่างสมมาตร(Symmetric difference) ของเซต S1
และ S2 คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในเซต S1 หรือ
เซต S2 แต่ไม่ใช่สมาชิกที่อยู่ทั้งใน S1 และ S2 ใช้
สัญลักษณ์ '^'
print("Set S1 :",S1)
print("Set S2 :",S2)
print("Set S1 ^ S2 :",S1^S2)
ตัวดาเนินการที่ใช้เปรียบเทียบสาหรับเซต (Set comparison
operators)
สาหรับตัวดาเนินการที่ใช้กับเซตประกอบไปด้วย <, <=, >,
>=, ==, !=, in , not in ซึ่งจะอธิบายไว้อย่างละเอียดในหัวข้อ
นิพจน์ ตัวดาเนินการ และตัวถูกดาเนินการ แต่ในหัวข้อนี้จะ
อธิบายการใช้งานกับตัวดาเนินการพื้นฐาน เพื่อให้เข้าใจการท า
งานของเซตในเบื้องต้น ตัวดาเนินการที่ใช้บ่อยๆ คือ inและ not
in ความหมายคือ เป็นสมาชิก หรือไม่เป็นสมาชิก
สมาชิก
นายวราวุฒ ขาคม เลขที่ 5 ม.6/4
นางสาวสุชานุช สงเจริญ เลขที่ 14 ม.6/4
นางสาวญาณวีร์ บุญทวีวรพันธ์ เลขที่ 19 ม.6/4
นางสาวนฤกร สุรินทร์ชมพู เลขที่ 20 ม.6/4
นางสาววรนิชชา ห้อยกรุด เลขที่ 21 ม.6/4
นางสาวสุวรา วงค์จันทร์ เลขที่ 23 ม.6/4
นางสาวพันธพัฒน์ ไชยวงศ์ เลขที่ 25 ม.6/4
นางสาวภัทราภรณ์ เกษวิริยะการณ์ เลขที่ 29 ม.6/4

More Related Content

What's hot

นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน Kittipong Joy
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1prapassonmook
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
Komkai Pawuttanon
 
4
44
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
Parn Nichakorn
 
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกPowerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Naphamas
 
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
tumetr
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Supicha Ploy
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Naphamas
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
นุ๊ก ฆ่าตกรโรคจิต
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมNookky Anapat
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
Iam Champooh
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 

What's hot (20)

นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน นอร์มัลไลเซชัน
นอร์มัลไลเซชัน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
4
44
4
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกPowerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
Powerpointการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
โครงสร้างข้อมูลแบบต้นไม้
 
Tree01
Tree01Tree01
Tree01
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกการเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
 
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sqlการใช้งานคำสั่งภาษา Sql
การใช้งานคำสั่งภาษา Sql
 
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรมบทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
บทที่ 6 คลาสและการเขียนโปรแกรม
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูลตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 

Viewers also liked

Alps 2012 info night
Alps 2012 info nightAlps 2012 info night
Alps 2012 info nightEoin Farrell
 
Профилактика асоц. поведения последний вариант
Профилактика асоц. поведения последний вариантПрофилактика асоц. поведения последний вариант
Профилактика асоц. поведения последний вариант
Борис Землянский
 
Luis palmezano (gerencia)
Luis palmezano (gerencia)Luis palmezano (gerencia)
Luis palmezano (gerencia)luis170880
 
SCRATCH MOVIMIENTO
SCRATCH MOVIMIENTOSCRATCH MOVIMIENTO
SCRATCH MOVIMIENTOCristianV9
 
Els microcredits mireia_lopez_carol_falco
Els microcredits mireia_lopez_carol_falcoEls microcredits mireia_lopez_carol_falco
Els microcredits mireia_lopez_carol_falcoelblogdesegondeso
 
Bygg nmbu2
Bygg   nmbu2Bygg   nmbu2
Bygg nmbu2Skog22
 
PLE Cristina Testillano Oset
PLE Cristina Testillano OsetPLE Cristina Testillano Oset
PLE Cristina Testillano Oset
cristinatesti
 
Литературное пушкино
Литературное пушкиноЛитературное пушкино
Литературное пушкино
Борис Землянский
 
Coaching the youth
Coaching the youthCoaching the youth
Coaching the youth
Stewart Mutabazi
 
About a watch
About a watchAbout a watch
About a watch
llepedrolo
 
Что такое суицид и как с ним бороться
Что такое суицид и как с ним боротьсяЧто такое суицид и как с ним бороться
Что такое суицид и как с ним боротьсяБорис Землянский
 
Presentación2
Presentación2Presentación2
Presentación2Martaja97
 
Learning Preferences
Learning PreferencesLearning Preferences
Learning Preferences
Pamela Caday
 

Viewers also liked (16)

Bulgaria in Zagreb
Bulgaria in ZagrebBulgaria in Zagreb
Bulgaria in Zagreb
 
Alps 2012 info night
Alps 2012 info nightAlps 2012 info night
Alps 2012 info night
 
Профилактика асоц. поведения последний вариант
Профилактика асоц. поведения последний вариантПрофилактика асоц. поведения последний вариант
Профилактика асоц. поведения последний вариант
 
Luis palmezano (gerencia)
Luis palmezano (gerencia)Luis palmezano (gerencia)
Luis palmezano (gerencia)
 
SCRATCH MOVIMIENTO
SCRATCH MOVIMIENTOSCRATCH MOVIMIENTO
SCRATCH MOVIMIENTO
 
Els microcredits mireia_lopez_carol_falco
Els microcredits mireia_lopez_carol_falcoEls microcredits mireia_lopez_carol_falco
Els microcredits mireia_lopez_carol_falco
 
Bygg nmbu2
Bygg   nmbu2Bygg   nmbu2
Bygg nmbu2
 
ข่าวไอที
ข่าวไอทีข่าวไอที
ข่าวไอที
 
PLE Cristina Testillano Oset
PLE Cristina Testillano OsetPLE Cristina Testillano Oset
PLE Cristina Testillano Oset
 
Литературное пушкино
Литературное пушкиноЛитературное пушкино
Литературное пушкино
 
Coaching the youth
Coaching the youthCoaching the youth
Coaching the youth
 
About a watch
About a watchAbout a watch
About a watch
 
MAKPOWER - Vodafone
MAKPOWER - VodafoneMAKPOWER - Vodafone
MAKPOWER - Vodafone
 
Что такое суицид и как с ним бороться
Что такое суицид и как с ним боротьсяЧто такое суицид и как с ним бороться
Что такое суицид и как с ним бороться
 
Presentación2
Presentación2Presentación2
Presentación2
 
Learning Preferences
Learning PreferencesLearning Preferences
Learning Preferences
 

Similar to เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน

งาน
งานงาน
งาน
nineza3214
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตteachersaman
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
ictyangtalad
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
Orapan Chamnan
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
จูน นะค่ะ
 
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ปณพล ดาดวง
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงOnpreeya Sahnguansak
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
Nuchita Kromkhan
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
พัน พัน
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
Naphamas
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต pairtean
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
Nuchita Kromkhan
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ Areeya Onnom
 

Similar to เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน (20)

งาน
งานงาน
งาน
 
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซตเล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
เล่มที่ 1 ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตและการเขียนเซต
 
Work
WorkWork
Work
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Excel2007
Excel2007Excel2007
Excel2007
 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซตหน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
หน่วยที่ 1 พื้นฐานเกี่ยวกับเซต
 
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
ตัวแปร ชนิดข้อมูล ตัวดำเนินการ นิพจน์ และค่าคงที่
 
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่ 5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
 
งาน
งานงาน
งาน
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต ใบงานที่ 1 เซต
ใบงานที่ 1 เซต
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
ตัวแปรชุดและตัวแปรอักขระ
 
Database architecture
Database architectureDatabase architecture
Database architecture
 

เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน

  • 1. เขียนโปรแกรมด้วยไพธอน บทที่ 4 ตัวแปร การกาหนดค่าและชนิดข้อมูล
  • 2. 1. หลักการตั้งชื่อตัวแปร (Identifier) 1. ตัวอักษรตัวแรกต้องเป็นภาษาอังกฤษ (A-Z, a-z) ตามด้วยตัวอักษร หรือ ตัวเลขใดๆ ก็ได้ 2. ชื่อตัวแปรห้ามมีช่องว่าง จุดทศนิยม และสัญลักษณ์พิเศษ ยกเว้น underscore "_" เท่านั้น 3. การใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่และอักษรพิมพ์เล็กมีความแตกต่างกัน (Case- sensitive) เช่น 4. ห้ามใช้ค่าสวงนเป็นชื่อตัวแปร (Reserved word, Keyword) เช่น if, for, max, sum เป็นต้น
  • 3. 5. ควรจะตั้งชื่อให้สื่อกับความหมายใกล้เคียงกับค่าที่จะเก็บสามารถอ่านและทาความ เข้าใจ เช่น Score, SCORE1, s5, Test_para_01 เป็นต้น เช่น Count_01, str_, _doc, ____main, __func___, oo_x_oo เป็นต้น Var1 กับ var1 ถือว่าไม่ใช่ตัวแปรเดียวกัน ได้ง่าย เช่น Count ส าหรับเก็บจ านวนนับ Salary สาหรับเก็บเงินเดือน และ Total เก็บค่าผลรวม เป็นต้น 6. ห้ามใช้เครื่องหมายต่อไปนี้ในการตั้งชื่อตัวแปร !,@, #, $, %, ^, &, *, (, ), -, =, , |, +, ~, . 7. ตัวแปรไม่ควรยาวเกิน 255 ตัวอักษร ตัวแปรที่มีความยาวมากๆ หรือเป็นการผสม ระหว่างค่า ให้ใช้"_" เชื่อมค่าเหล่านั้นแทน เช่น Thai_Market_Chair
  • 4. 2. การใช้งานตัวแปร(Variablesusing) การใช้งานตัวแปรมี 3 ขั้นตอน คือ 1. การประกาศตัวแปร (Variable declaration) 2. กาหนดค่าให้ตัวแปร (Assigning values to variables) 3. การใช้ตัวแปร (Use the variable)
  • 5. 3. คาสงวน (Reserved word, Keyword) คาสงวน คือคาที่ถูกภาษาไพธอนใช้เพื่อสร้างไวยกรณ์ ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมห้ามนาไปใช้ในการสร้าง หรือ ประกาศเป็นตัวแปรโดยเด็ดขาด เพราะจะทาให้เกิด ข้อผิดพลาด
  • 6. 4. ชนิดข้อมลู (Data types) 1.ข้อมูลพื้นฐาน (Basic data types) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มย่อย 1) ข้อมูลตัวเลข (Numeric) - เลขจานวนเต็ม (Integers) - ตัวเลขทศนิยม หรือจานวนจริง (Floating-Point numbers) - จานวนตรรกะ (Boolean) - จานวนเชิงซ้อน (Complex numbers) -การเปลี่ยนค่าตัวแปร(Forcing a number type)
  • 7. 2) ข้อมูลชนิดสายอักษร (String) ข้อมูลสายอักษร หรือสตริง หมายถึง ข้อมูลที่เป็น ตัวอักษร ข้อความ หรือประโยค ซึ่งตัวแปรชนิดนี้ไม่สามารถนามาคานวณ ได้ในการประกาศตัวแปรชนิดนี้ ข้อความจะต้องอยู่ภายใต้ เครื่องหมาย (" ") หรือเครื่องหมาย (' ') ก ากับอยู่ เช่น author = 'Suchart' หรือ author = "Suchart“ ดังนั้นในกรณี ที่มีการเก็บในลักษณะเป็นตัวเลข
  • 8. เช่น '15.25' จึงมีความหมายเป็นเพียงสายอักษร ไม่สามารถนามา ประมวลผลได้แต่ถ้าผู้เขียนโปรแกรมต้องการให้คานวณได้ จาเป็นต้องใช้ฟังก์ชันเพื่อเปลี่ยนชนิดตัวแปร (Forcing) จากสาย อักษรไปเป็นจานวนเต็ม หรือจานวนจริง จึงจะสามารถ ประมวลผลได้วิธีการเขียนคาสั่งเพื่อเก็บข้อมูลชนิดตัวแปรสาย อักษร ดังนี้ var1 = 'Hello World!' var2 = "Python Programming"
  • 9. 2. ข้อมูล เชิงประกอบ (Composite data types) -ลิสต์(lists) ตัวแปรชนิดลิสต์ (list) คือ ตัวแปรที่สามารถเก็บข้อมูล ได้หลายจานวนต่อเนื่องกันภายในตัวแปรเดียวกัน(สามารถเก็บข้อมูล ต่างชนิดกันได้) มีลักษณะคล้ายกับอะเรย์ -ตัวดาเนินการพื้นฐานของลิสต์(Basic list operations) สาหรับตัวแปรแบบลิสต์สามารถใช้สัญลักษณ์ * และ + เช่นเดียวกับสตริงได้ในลักษณะการเชื่อมค่าของสมาชิกเข้าด้วยกัน (+) และการทาซ้าข้อมูล (*)
  • 10. ตัวอย่างการเขียนโปรแกรมดังนี้ lst1 = [1, 2, 3]; lst2 = [4, 5, 6] print("length of lst1 :",len(lst1)) print("lst1 + lst2 :",lst1 + lst2) print("lst1 * 3 :",lst1*3) print("Elements in lst1 are :") for x in lst1: print (x)
  • 11. ทัพเพิล (Tuples) ทัพเพิลมีลักษณะโครงสร้างคล้ายกับลิสต์ คือ สามารถเก็บข้อมูลได้ ในปริมาณมาก และสามารถเก็บข้อมูลต่างประเภทกันได้ภายในตัวแปร เดียวกัน ข้อแตกต่างระหว่างลิสต์กับทัพเพิลคือ ทัพเพิลจะใช้สาหรับเก็บ ข้อมูลที่มีค่าคงที่ และไม่มีการเปลี่ยนแปลงคล้ายอะเรย์ที่มีขนาดคงที่ ไม่ สามารถเพิ่มหรือลบข้อมูลทัพเพิลได้โดยตรง แต่ทาให้มีข้อได้เปรียบใน เรื่องของความเร็วในการเข้าถึงข้อมูล สาหรับการเข้าถึงข้อมูลทาได้โดย ใช้ตัวชี้ หรือดัชนีเหมือนลิสต์ ตัวแปรทัพเพิลจะใช้สัญลักษณ์ (...) ในการ ประกาศตัวแปร และสมาชิกภายในทัพเพิลจะคั่นด้วย
  • 12. ดังตัวอย่าง tup1 = (12, 34.56); tup2 = ('abc', 'xyz'); tup3 = (19, 12.5, 'Python',"HELLO"); tup4 = (tup1, tup2, tup3); tup5 = tup1 + tup2 print(tup1) print(tup2) print(tup3) print(tup4) print(tup5)
  • 13. ตัวดาเนินการพื้นฐานที่ใช้กับทัพเพิล (Basic tuples operations) สาหรับตัวแปรแบบทัพเพิลจะสามารถใช้สัญลักษณ์ * และ + เช่นเดียวกับลิสต์โดย (+) ใช้สาหรับเชื่อมสมาชิกระหว่างทัพเพิลเข้าด้วยกัน และใช้(*) สาหรับทาซ้าข้อมูลสมาชิก ตัวอย่างการโปรแกรมใช้งานตัวแปรทัพเพิล ดังนี้ tup1 = (1, 2, 3); tup2 = (4, 5, 6) print("length of tup1 :",len(tup1)) print("tup1 + tup2 :",tup1 + tup2) print("tup1 * 3 :",tup1*3) print("Elements in tup1 are :") for x in tup1: print (x)
  • 14. ดิกชันนารี(Dictionary) ดิกชันนารีเป็นตัวแปรชนิดเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ตลอดเวลา (Mutable) คล้ายกับลิสต์และมีลักษณะการเก็บข้อมูลที่เหมือนกับลิสต์และทูเพิล คือ สามารถเก็บข้อมูลได้หลายค่า และต่างชนิดกันได้พร้อมๆ กัน คุณสมบัติ พิเศษที่แตกต่างของดิกชันนารีคือ จะเก็บข้อมูลเป็นคู่ คือคีย์(Key) ซึ่งจะต้อง ไม่ซ้ากัน กับข้อมูล (Value) ซึ่งข้อมูลทั้งสองต้องมีความสัมพันธ์กัน โดยที่คีย์ เปรียบเหมือนตัวชี้(Identification) เพื่ออ้างอิงไปยังข้อมูลจริงที่ต้องการใช้งาน การประกาศตัวแปรดิกชันนารีจะใช้สัญลักษณ์ {...} ในการประกาศตัวแปร สาหรับการเก็บข้อมูลคู่ของสมาชิกจะใช้สัญลักษณ์ : เชื่อมระหว่างคีย์และ ข้อมูล และใช้สัญลักษณ์ , ในการแยกแยะระหว่างสมาชิกในดิกชันนารี สาหรับการเข้าถึงข้อมูลของดิกชันนารีจะใช้สัญลักษณ์ [...] เหมือนกับลิสต์ และทัพเพิล
  • 15. ดังตัวอย่างต่อไปนี้ dict1 = {} #empty dictionary dict2 = {'Alice': '2341', 'Beth': '9102', 'Cecil': '3258'} dict3 = { 'abc': 456 }; dict4 = { 'abc': 123, 98.6: 37 }; print(dict1) print(dict2) print(dict3) print(dict4)
  • 16. คุณสมบัติของดิกชันนารีที่ควรต้องจดจา ประการแรก: ตามทฤษฏีแล้ว คีย์ในดิกชันนารีจะต้องมีค่าไม่ซ้ากัน เลย แต่ในสถานการณ์จริงไพธอนยอมให้สามารถประกาศคีย์ที่ เหมือนกันในดิกชันนารีได้(ไพธอนไม่ได้ตรวจสอบขณะประกาศข้อมูล ในตัวแปร) ส่งผลให้การอ้างอิงข้อมูลที่มีคีย์เหมือนกันเกิดข้อผิดพลาดคือ ไพธอนจะดึงข้อมูลรายการสุดท้ายที่เจอในดิกชันนารีออกมาแสดงผล โดยข้อมูลที่ซ้ากันในลาดับก่อนหน้าจะไม่ถูกนามาใช้งานเลย ยกตัวอย่างเช่น dict = {'Name': 'Zara', 'Age': 7, 'Name': 'Manni'}; print ("dict['Name']: ", dict['Name']);
  • 17. ประการที่สอง: โดยปกติคีย์จะต้องเป็นค่าที่ไม่ควรเปลี่ยนแปลง เพราะเป็นค่าที่ใช้อ้างอิงถึงข้อมูลจริง ตัวอย่างในชีวิตประจาวัน เช่น นักศึกษาต้องมีหมายเลข ID ของนักศึกษา และไม่ควรเปลี่ยนID ไป เรื่อยๆ ฉันใดก็ฉันนั้น คีย์ไม่ควรเปลี่ยนแปลงบ่อยเช่นเดียวกัน แม้ว่าเรา สามารถใช้ข้อมูลหลายประเภทเป็นคีย์ได้เช่น สตริง ตัวเลข หรือทัพเพิล แต่ไพธอนไม่แนะนาให้ใช้คีย์ในลักษณะที่คีย์ถูกครอบด้วย [...] เพราะจะ ทาให้ไพธอนเกิดความสับสนในการอ้างถึงข้อมูล และเกิดความผิดพลาด เช่น dict = {['Name']: 'Zara', 'Age': 7}; print ("dict['Name']: ", dict['Name']);
  • 18. เซต (Sets) เซต ในทางคณิตศาสตร์เป็นคาที่ใช้บ่งบอกถึงกลุ่มของสิ่ง ต่างๆ ว่า สิ่งใดอยู่ในกลุ่ม สิ่งใดไม่อยู่ในกลุ่ม เช่น เซตสระใน ภาษาอังกฤษ หมายถึง กลุ่มของสระอังกฤษ a, e, i, o และ u เซต ของจานวนนับที่น้อยกว่า 10 หมายถึง กลุ่มตัวเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8 และ 9 เป็นต้น สิ่งที่อยู่ในเซตเรียกว่า สมาชิก(Element หรือ Members) คุณสมบัติของเซตคือ สมาชิกไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับ และสมาชิกต้องไม่ซ้ากัน สาหรับการดาเนินงานกับเซตพื้นฐาน ประกอบไปด้วย การทดสอบความเป็นสมาชิก
  • 19. การขจัดสมาชิกที่ซ้ากันทั้งหมดในเซต, union, intersection, difference และ symmetric difference เป็นต้น ในไพธอนจะใช้ สัญลักษณ์ {...} สาหรับสร้างตัวแปรชนิดเซต และใช้ set( ) ใน การกาหนดว่าเป็นเซตว่าง ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ >>> setx = set(); # empty set >>> type(setx); <class 'set'>
  • 20. ยูเนียน (Union) ของเซต S1 และ S2 คือเซตที่ประกอบด้วย สมาชิกของเซต S1 หรือ S2 ใช้สัญลักษณ์ ‘ | ' S1=set((1,1,2,3,5,8,13)) S2=set((2,3,5,7,11,13)) print("Set S1 :",S1) print("Set S2 :",S2) print("Set S1 | S2 :",S1|S2)
  • 21. อินเตอร์เซคชัน (Intersection) ของเซต S1 และ S2 คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของเซต S1 และS2 ใช้ สัญลักษณ์ '&‘ print("Set S1 :",S1) print("Set S2 :",S2) print("Set S1 & S2 :",S1&S2)
  • 22. ผลต่าง (Difference) ของเซต S1 และ S2 คือเซตที่ ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต S1 แต่ไม่เป็น สมาชิกของเซต S2 ใช้สัญลักษณ์ ‘ - ' print("Set S1 :",S1) print("Set S2 :",S2) print("Set S1 - S2 :",S1-S2)
  • 23. ผลต่างสมมาตร(Symmetric difference) ของเซต S1 และ S2 คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่อยู่ในเซต S1 หรือ เซต S2 แต่ไม่ใช่สมาชิกที่อยู่ทั้งใน S1 และ S2 ใช้ สัญลักษณ์ '^' print("Set S1 :",S1) print("Set S2 :",S2) print("Set S1 ^ S2 :",S1^S2)
  • 24. ตัวดาเนินการที่ใช้เปรียบเทียบสาหรับเซต (Set comparison operators) สาหรับตัวดาเนินการที่ใช้กับเซตประกอบไปด้วย <, <=, >, >=, ==, !=, in , not in ซึ่งจะอธิบายไว้อย่างละเอียดในหัวข้อ นิพจน์ ตัวดาเนินการ และตัวถูกดาเนินการ แต่ในหัวข้อนี้จะ อธิบายการใช้งานกับตัวดาเนินการพื้นฐาน เพื่อให้เข้าใจการท า งานของเซตในเบื้องต้น ตัวดาเนินการที่ใช้บ่อยๆ คือ inและ not in ความหมายคือ เป็นสมาชิก หรือไม่เป็นสมาชิก
  • 25. สมาชิก นายวราวุฒ ขาคม เลขที่ 5 ม.6/4 นางสาวสุชานุช สงเจริญ เลขที่ 14 ม.6/4 นางสาวญาณวีร์ บุญทวีวรพันธ์ เลขที่ 19 ม.6/4 นางสาวนฤกร สุรินทร์ชมพู เลขที่ 20 ม.6/4 นางสาววรนิชชา ห้อยกรุด เลขที่ 21 ม.6/4 นางสาวสุวรา วงค์จันทร์ เลขที่ 23 ม.6/4 นางสาวพันธพัฒน์ ไชยวงศ์ เลขที่ 25 ม.6/4 นางสาวภัทราภรณ์ เกษวิริยะการณ์ เลขที่ 29 ม.6/4