SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม                                                                            1



   บทที่ 1
                                     เซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็ม

                 	           เชือเพลิงประเภทน�ำมันและถ่านหินเป็นทรัพยากรธรรมชาติทมอยูอย่างจ�ำกัด
                                ้               ้                                        ี่ ี ่
                 ซึ่งเมื่อใช้แล้วก็จะหมดไป จากความต้องการการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบันท�ำให้
                 เกิดการศึกษาค้นคว้าหาแหล่งพลังงานรูปแบบใหม่ที่มีปริมาณมากพอมาทดแทน
                 พลังงานแบบเดิม โดยพลังงานทดแทนจะต้องมีความปลอดภัย ความสะอาด ไม่
                 เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม และให้พลังงานสูง พลังงานไฮโดรเจนถือเป็นแหล่งพลังงาน
                 สะอาดและมีประสิทธิภาพสูงอีกแหล่งที่ก�ำลังได้รับความสนใจในการใช้เป็นพลังงาน
                 ทดแทน ไฮโดรเจนสามารถผลิตได้จากพลังงานแสงอาทิตย์ การสลายตัวจากความ
                 ร้อนโดยตรง (Themolysis) กระบวนการโฟโตไลซิส (Photolysis) กระบวนการ                          
                 โฟโตอิเล็กโทรไลซิส (Photoelectrolysis) กระบวนการโฟโตไลซิสแบบใช้ตวเร่งปฏิกรยา 
                                                                                             ั   ิิ
                 (Catalytic photolysis) และกระบวนการโฟโตไลซิสทางชีวภาพ (Biophotolysis) แก๊ส
                 ไฮโดรเจนสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กับงานที่ต้องใช้พลังงานดั้งเดิมได้ เช่น ใช้เป็น
                 เชื้อเพลิงส�ำหรับครัวเรือน เครื่องยนต์สันดาปภายใน เครื่องกังหัน และเครื่องไอพ่น
                 นอกจากนี้ยังสามารถน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้าในอุปกรณ์
                 เปลี่ยนรูปพลังงานที่เรียกว่า เซลล์เชื้อเพลิง (Fuel cell)
                 	           เซลล์เชื้อเพลิงเป็นอุปกรณ์เปลี่ยนรูปพลังงานที่ให้ประสิทธิภาพสูง เป็นมิตร
                 ต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถใช้กับเชื้อเพลิงได้หลากหลายชนิดโดยมีประสิทธิภาพใกล้
                 เคียงกับแหล่งพลังงานเดิม ท�ำให้เซลล์เชื้อเพลิงได้รับความสนใจค้นคว้าวิจัยอย่าง       
                 แพร่หลาย บทนีจะอธิบายถึงความหมายและความส�ำคัญของเซลล์เชือเพลิง ชนิดของ
                                      ้                                                ้
                 เซลล์เชือเพลิง ประวัตของเซลล์เชือเพลิงโดยเฉพาะเซลล์เชือเพลิงพีอเอ็ม ส่วนประกอบ
                           ้               ิ         ้                      ้        ี
                 ของเซลล์เชือเพลิง ภาวะการท�ำงาน เสถียรภาพและความทนทาน การประยุกต์ใช้และ
                                  ้
                 การพัฒนาเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็มในประเทศไทย
2                                           เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า 


1.1 ความหมายและความสำ�คัญของเซลล์เชื้อเพลิง
	         เซลล์เชือเพลิงเป็นอุปกรณ์ทางเคมีไฟฟ้า (Electrochemical device) ทีเปลียนรูปพลังงานเคมี
                  ้                                                          ่ ่
(Chemical energy) ของสารตั้งต้นหรือเชื้อเพลิงไปเป็นพลังงานไฟฟ้า (Electrical energy) โดยตรง
โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการเผาไหม้ ลักษณะการท�ำงานของเซลล์เชื้อเพลิงคล้ายแบตเตอรี่คือผลิต
กระแสไฟฟ้าได้โดยตรงจากเชือเพลิงและตัวออกซิแดนต์ดวยปฏิกรยาเคมีไฟฟ้าและมีองค์ประกอบหลัก
                               ้                       ้     ิิ
ทีเหมือนกันคือขัวไฟฟ้าและอิเล็กโทรไลต์ ข้อแตกต่างระหว่างเซลล์เชือเพลิงและแบตเตอรีคอแบตเตอรี่
   ่                ้                                            ้                  ่ ื
เป็นเครื่องเก็บพลังงาน (Energy storage) ปริมาณพลังงานสูงสุดและอายุการใช้งานของแบตเตอรี่
จะขึ้นอยู่กับปริมาณสารตั้งต้นที่บรรจุในแบตเตอรี่ (Li, 2008a) แต่การบรรจุสารตั้งต้นและตัวออก-   
ซิแดนต์รวมกันในแบตเตอรี่ (รูปที่ 1.1(ก)) จะท�ำให้ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในแบตเตอรี่ค่อนข้าง
ช้า และอาจเกิดการผุกร่อนขององค์ประกอบภายในส่งผลให้เกิดการรั่วซึมของสารตั้งต้นและตัวออก-        
ซิแดนต์ นอกจากนี้ ขั้วไฟฟ้าในแบตเตอรี่จะถูกใช้ระหว่างการเกิดปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าส่งผลให้อายุการ
ใช้งานของแบตเตอรี่สั้นลง ในขณะที่เซลล์เชื้อเพลิงท�ำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์เปลี่ยนรูปพลังงานซึ่ง
สามารถท�ำงานได้อย่างต่อเนื่องตราบเท่าที่มีการป้อนสารตั้งต้นเข้าสู่ระบบ (รูปที่ 1.1(ข)) ไม่มีการ
รั่วซึมของสารตั้งต้นจากเซลล์เชื้อเพลิงยกเว้นในกรณีที่ส่วนประกอบของเซลล์เชื้อเพลิงช�ำรุดเสียหาย
นอกจากนี้ ขัวไฟฟ้าทีใช้ในเซลล์เชือเพลิงจะไม่ถกใช้ในปฏิกรยาขณะท�ำงานส่งผลให้อายุการใช้งานของ
              ้        ่         ้            ู          ิิ
ขั้วไฟฟ้าสูง ดังนั้น อายุการใช้งานของเซลล์เชื้อเพลิงจึงยาวนานกว่าแบตเตอรี่




	       	        (ก)	 	         	        	       	           (ข)

                      รูปที่ 1.1 (ก) แบตเตอรี่ และ (ข) เซลล์เชื้อเพลิงไฟฟ้า

	       เซลล์เชื้อเพลิงมีลักษณะที่เหมือนกับเครื่องยนต์เผาไหม้ (Combustion engine) คือมีการ
เก็บแก๊สเชื้อเพลิงและตัวออกซิแดนต์นอกตัวเครื่อง แต่มีความแตกต่างกันในเรื่องของวิธีการเปลี่ยน
รูปพลังงานเคมีไปเป็นพลังงานไฟฟ้า  โดยการเปลี่ยนพลังงานเคมีไปเป็นพลังงานไฟฟ้าในเครื่องยนต์
เผาไหม้จะเป็นแบบหลายขันตอน (Multistep energy-conversion process) กล่าวคือ เครืองยนต์เผา
                           ้                                                      ่
ไหม้จะเปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานความร้อน (Thermal energy) ก่อนด้วยการเผาไหม้ จากนั้น
 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม                                                                   3


จึงเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานจลน์ (Kinetic energy) ด้วยเครื่องยนต์ความร้อน (Heat
engine) และจึงเปลียนพลังงานจลน์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้าด้วยเครืองก�ำเนิดไฟฟ้า (Electric generator)
                     ่                                      ่
ซึ่งถูกขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ความร้อนดังแสดงในรูปที่ 1.2
	         ประสิทธิภาพสูงสุดของเครื่องยนต์ความร้อนซึ่งท�ำงานอยู่ระหว่างอุณหภูมิต�่ำสุด (TL) และ
อุณหภูมิสูงสุด (TH ) จะถูกจ�ำกัดด้วยประสิทธิภาพคาร์โนต์ (Carnot efficiency) คือ

    				                                       	                                         (1.1)
	      จากกฎข้อที่ 3 ของอุณหพลศาสตร์ (Third law of thermodynamics) ค่า TL < TH และค่า 
TL ≠ 0 ดังนั้น ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ความร้อนจะไม่เกินร้อยละ 100 ตามกฎข้อที่ 2 ของ
อุณหพลศาสตร์ (Second law of thermodynamics)
	      เมื่อปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์เชื้อเพลิงเป็นปฏิกิริยาผันกลับได้ (Reversible reaction)
ประสิทธิภาพสูงสุดของเซลล์เชื้อเพลิงตามกฎข้อที่ 2 ของอุณหพลศาสตร์สามารถค�ำนวณได้จาก
 				                                                 	                                  (1.2)
เมื่อ wmax คือพลังงานขาออกสูงสุดในรูปของงาน; ∆G และ ∆H คือพลังงานเสรีกิบส์ (Gibbs free
energy) และเอนทัลปี (Enthalpy) ของปฏิกรยาในเซลล์เชือเพลิงซึงเป็นฟังก์ชนกับอุณหภูมและความดัน
                                      ิิ           ้       ่          ั          ิ




     รูปที่ 1.2 (ก) การท�ำงานของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าซึ่งถูกขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ความร้อน
             และ (ข) วิถีการเปลี่ยนรูปพลังงานด้วยเครื่องยนต์เผาไหม้และเซลล์เชื้อเพลิง
4                                            เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า 




 รูปที่ 1.3 ประสิทธิภาพของเซลล์เชื้อเพลิงและอุปกรณ์เปลี่ยนรูปพลังงาน (ที่มา : Zorbas S.V.,
    Fuel cell education, http://www.fuelcells.org.au/Fuel-Cell-Education.htm, 2005)




     รูปที่ 1.4 การเปรียบเทียบการปลดปล่อยมลพิษระหว่างเซลล์เชื้อเพลิงและอุปกรณ์เปลี่ยนรูป
                 พลังงานแบบอื่น (ที่มา : Nolan G., Applications for fuel cells,
                http://www.siliconchip.com.au/cms/A_30527/article.html, 2002)

	      เซลล์เชื้อเพลิงมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่ชนิดที่ได้รับความนิยมและมีการใช้งานกันอย่าง  
แพร่หลาย ได้แก่ เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนหรือเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็ม (Proton
exchange membrane fuel cell, PEMFC) เซลล์เชื้อเพลิงแบบออกไซด์ของแข็ง (Solid oxide fuel
cell, SOFC) เซลล์เชื้อเพลิงแบบกรดฟอสฟอริก (Phosphoric acid, PAFC) เซลล์เชื้อเพลิงแบบ
คาร์บอเนตหลอม (Molten carbonate fuel cell, MCFC) เซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน์ (Alkaline
 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม                                                                   5


fuel cell, AFC) และเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมทานอลโดยตรง (Direct methanol fuel cell, DMFC) ซึ่ง
มีลักษณะ ข้อดี-ข้อเสีย และการประยุกต์ใช้งานที่แตกต่างกัน การจ�ำแนกประเภทของเซลล์เชื้อเพลิง
สามารถท�ำได้หลายประเภท (Bagotsky, 2009) ได้แก่
	          • 	 ารจ�ำแนกตามชนิดของสารตั้งต้น สารตั้งต้นที่ใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด
              ก
เช่น แก๊สไฮโดรเจน (H2) เมทานอล (CH3OH) มีเทน (CH4) คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) สารอินทรีย์
และสารอนินทรีย์บางชนิดที่มีสมบัติในการเป็นตัวรีดิวซ์ เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไฮดราซีน
(N2H4) ส่วนตัวออกซิแดนต์ที่นิยมใช้ก็มีด้วยกันหลายชนิด เช่น อากาศ ออกซิเจน ไฮโดรเจนเปอร์-   
ออกไซด์ (H2O2) และคลอรีน (Cl2)
	          • 	 ารจ�ำแนกตามชนิดของอิเล็กไทรไลต์ ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นของเหลว
              ก
เช่น สารละลายกรด แอลคาไลน์ เกลือแอลคาไลน์ และเกลือคาร์บอเนตหลอม หรือใช้อิเล็กโทรไลต์
ที่เป็นของแข็ง เช่น พอลิเมอร์ที่น�ำไอออนหรือสารประกอบออกไซด์ของสารอนินทรีย์ ข้อดีของการใช้
อิเล็กโทรไลต์ที่เป็นของแข็งคือไม่มีการรั่วซึมของอิเล็กโทรไลต์ออกนอกเซลล์ จึงไม่เกิดการกัดกร่อน
ส่วนประกอบอื่นของเซลล์ นอกจากนี้อิเล็กโทรไลต์ที่เป็นของแข็งจะกั้นระหว่างแก๊สเชื้อเพลิงและตัว
ออกซิแดนต์ท�ำให้สารทั้งสองชนิดไม่ท�ำปฏิกิริยากันโดยตรง
	          • 	 ารจ�ำแนกตามช่วงอุณหภูมิการท�ำงาน อุณหภูมิการท�ำงานของเซลล์เชื้อเพลิงสามารถ
              ก
จ�ำแนกออกได้เป็น 3 ช่วง คือ อุณหภูมิระดับต�่ำ (น้อยกว่า 150 องศาเซลเซียส) ได้แก่ เซลล์เชื้อ-
เพลิงพีอีเอ็ม เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมทานอลโดยตรง เซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน์ที่ใช้พอลิเมอร์เป็น   
อิเล็กโทรไลต์ อุณหภูมิระดับกลาง (150-250 องศาเซลเซียส) ได้แก่ เซลล์เชื้อเพลิงแบบกรดฟอสฟอริก
และเซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน์ชนิด Bacon type และอุณหภูมิระดับสูง (มากกว่า  650 องศา
เซลเซียส) ได้แก่ เซลล์เชื้อเพลิงแบบออกไซด์ของแข็งและเซลล์เชื้อเพลิงแบบคาร์บอเนตหลอม
	          (ก)	 เซลล์เชือเพลิงแบบออกไซด์ของแข็งเป็นเซลล์เชือเพลิงทีเหมาะส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม
                        ้                                  ้       ่
และโรงงานไฟฟ้าขนาดใหญ่ เนืองจากสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้สง อิเล็กโทรไลต์ของเซลล์เชือเพลิง
                                  ่                                  ู                       ้
ชนิดนีคอเซรามิกของแข็งทีมความพรุน เช่น Y2O3 stabilized ZrO2 ซึงมีสภาพน�ำ O สูง ขัวแอโนด
       ้ ื                    ่ ี                                      ่             2-
                                                                                           ้
ได้แก่ Co-ZrO2 หรือ Ni-ZrO2 ส่วนแคโทดคือ Sr-doped LaMnO3 อุณหภูมของการท�ำงานจะอยูใน
                                                                            ิ                  ่
ช่วง 600-1,000 องศาเซลเซียส ประสิทธิภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้าอาจสูงถึงร้อยละ 60-85 เมือ             ่
ใช้ในระบบผลิตกระแสไฟฟ้าร่วม (Co-generator) ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วแคโทดและแอโนด
(Spiegel 2007) แสดงโดยปฏิกิริยา (1.3)-(1.4) ตามล�ำดับ
			                           1/2O2(g) + 2e-	 →	 O2-	                  	                   (1.3)
			                             H2(g) + O2-	 →	 H2O(g) + 2e-	          	                   (1.4)
	        ไอออน O2- ทีเกิดจากปฏิกรยารีดกชันทีขวแคโทดจะเคลือนทีผานอิเล็กโทรไลต์ไปยังขัวแอโนด
                     ่           ิิ    ั      ่ ั้         ่ ่ ่                         ้
และเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำและอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นจะเคลื่อนที่ผ่าน
เครื่องดึงภาระกระแสไฟฟ้า  (Load) ไปยังขั้วแคโทดและเกิดปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน ปฏิกิริยารวม
6                                                 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า 


ที่เกิดขึ้นแสดงโดย
			                      H2(g) + 1/2O2(g)	 →	 H2O(g)	                       	                      (1.5)
	         เซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้นอกจากจะผลิตกระแสไฟฟ้าได้สูงมากกว่า  100 กิโลวัตต์แล้ว ยัง
สามารถผลิตความร้อนที่อุณหภูมิสูงถึง 800-1,000 องศาเซลเซียส ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้
ในอุตสาหกรรม ข้อดีของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือมีเสถียรภาพสูง สามารถใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาได้หลาย
ชนิด แต่มีข้อเสียคือใช้เวลาเริ่มต้นในการท�ำงานนาน และอาจมีการช�ำรุดหรือการกัดกร่อนของส่วน
ประกอบเนื่องจากการท�ำงานที่อุณหภูมิสูง
	         (ข)	 เซลล์เชือเพลิงแบบกรดฟอสฟอริกเป็นเซลล์เชือเพลิงทีมการผลิตออกจ�ำหน่ายทางการค้า
                       ้                                ้      ่ ี
แล้วในปัจจุบน อิเล็กโทรไลต์ของเซลล์เชือเพลิงชนิดนีจะเป็นกรดฟอสฟอริกเข้มข้น (H3PO4) ขัวแอโนด
                ั                      ้           ้                                  ้
ได้แก่ Pt/C ส่วนแคโทดคือคาร์บอน (C) อุณหภูมิการท�ำงานอยู่ในช่วง 150-200 องศาเซลเซียส
ก�ำลังไฟฟ้าทีสามารถผลิตได้อาจสูงถึง 200 กิโลวัตต์ ปฏิกรยาเคมีไฟฟ้าทีเกิดขึนทีขวแอโนดและแคโทด
              ่                                        ิิ           ่ ้ ่ ั้
เมื่อใช้แก๊สไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงและใช้ออกซิเจนเป็นตัวออกซิแดนต์ (Spiegel, 2007) แสดงโดย
                                                       +
			                                  H2(g)	 →	 2H (aq) + 2e-	               	                      (1.6)
                               +
		               1/2O2(g) + 2H (aq) + 2e-	 →	 H2O(l)	                       	                      (1.7)
	        ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาออกซิเดชันที่ขั้วแอโนดคือโปรตอนและอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผ่าน
เมมเบรนและเครื่องดึงภาระกระแสไฟฟ้าไปยังขั้วแคโทดและเกิดปฏิกิริยารีดักชันได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำ
และกระแสไฟฟ้า เซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้สามารถทนต่อแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์เข้มข้นร้อยละ 1.5 ได้
จึงสามารถใช้สารตังต้นได้หลายชนิด เช่น แก๊สธรรมชาติ เมทานอล หรือแนฟทา และมีประสิทธิภาพ
                   ้
สูงประมาณร้อยละ 40 นอกจากนีนำทีเกิดขึนจากปฏิกรยามีอณหภูมสงสามารถน�ำไปใช้ในระบบผลิต
                                  ้ �้ ่ ้             ิิ    ุ      ิ ู
กระแสไฟฟ้าร่วม ข้อเสียของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือมีขนาดใหญ่และมีน�้ำหนักมาก ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา
ที่มีราคาสูง และมีประสิทธิภาพต�่ำกว่าเซลล์เชื้อเพลิงประเภทอื่น
	        (ค)	 เซลล์เชือเพลิงแบบเกลือคาร์บอเนตหลอมจะใช้สารละลายอิเล็กโทรไลต์จำพวกแอลคาไลต์
                      ้                                                          �
คาร์บอเนต เช่น Li2CO3 หรือ K2CO3 ซึ่งอยู่ในเมทริกซ์ของเซรามิก LiAlO2 ขั้วแอโนด ได้แก่ Ni +10
wt%Cr ส่วนแคโทดคือ NiO อุณหภูมิการท�ำงานในช่วง 600-700 องศาเซลเซียส ที่ภาวะนี้แอล-
คาไลต์คาร์บอเนตจะหลอม เรียกว่า  เกลือหลอม (Molten salt) ที่มีสภาพน�ำไอออนสูง เซลล์เชื้อ-  
เพลิงชนิดนี้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าสูงสุดได้ประมาณ 500 กิโลวัตต์ (Spiegel, 2007) ปฏิกิริยา
เคมีไฟฟ้าทีแคโทดคือปฏิกรยารีดกชันของออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้ผลิตภัณฑ์เป็น
            ่             ิิ    ั
(ปฏิกิริยา (1.8)) ซึ่ง       จะเคลื่อนที่ผ่านอิเล็กโทรไลต์จากขั้วแคโทดไปขั้วแอโนดและเกิดปฏิกิริยา
ออกซิเดชันร่วมกับแก๊สไฮโดรเจน (ปฏิกิริยา (1.9)) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำและ CO2 ปฏิกิริยารวมที่เกิด
ขึ้นแสดงโดยปฏิกิริยา (1.10)
		               1/2O2(g) + CO2(g)   +   2e-	 →	           	                	                      (1.8)
 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม                                                                            7


		                                H2(g) +      	 →	 H2O(g) + CO2(g) + 2e-	                          (1.9)
		                H2(g) + 1/2O2(g) + CO2(g)	 →	 H2O(g) + CO2(g)	              	                   (1.10)
	        ข้อดีของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือประสิทธิภาพสูง สามารถใช้เชื้อเพลิงได้หลายชนิด เช่น แก๊ส
ไฮโดรเจน แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ แก๊สธรรมชาติ โพรเพน หรือแก๊สที่ผลิตจากการแปรสภาพเป็น
แก๊ส (Gasification) ของเชื้อเพลิง และยังสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กับปั๊มความร้อนเคมี (Chemical
heat pump) แต่มีข้อเสียคือใช้เวลาเริ่มต้นในการท�ำงานนาน และอาจมีการช�ำรุดหรือกัดกร่อนของ
ส่วนประกอบเนื่องจากการท�ำงานที่อุณหภูมิสูง
	        (ง)	 เซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน์เป็นเซลล์เชื้อเพลิงที่เก่าแก่ที่สุดโดยเริ่มมีการสาธิตการใช้
งานครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1902 ต่อมาได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนมีประสิทธิภาพสูงถึงร้อยละ
70 และถูกน�ำมาใช้ในปฏิบัติการทางอากาศขององค์การนาซา  (NASA) ของประเทศสหรัฐอเมริกา       
อิเล็กโทรไลต์ของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) ขั้วแอโนดได้แก่
แพลทินัม (Pt) หรือนิกเกิล (Ni) ส่วนขั้วแคโทดคือคาร์บอน (C) และอุณหภูมิการท�ำงาน 50-200
องศาเซลเซียส เซลล์เชือเพลิงชนิดนีสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ 10-100 กิโลวัตต์ ปฏิกรยา
                         ้          ้                                                           ิิ
เคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่แคโทดและแอโนด (Spiegel, 2007) แสดงโดยปฏิกิริยา  (1.11)-(1.12) ตาม
ล�ำดับ
		                      O2(g) + 2H2O(l) + 4e-	 →	 4OH -(aq)	               	                 (1.11)
		                            H2(g) + 4OH -(aq)	 →	 H2O(l) + 4e-	             	                   (1.12)
	        โดยทีขวแคโทดจะเกิดปฏิกรยารีดกชันของออกซิเจนร่วมกับน�ำได้ผลิตภัณฑ์เป็น OH- ซึง OH-
               ่ ั้                 ิิ ั                         ้                     ่
จะเคลื่อนที่ผ่านอิเล็กโทรไลต์ไปแอโนดและเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันร่วมกับแก๊สไฮโดรเจนได้ผลิตภัณฑ์
เป็นน�้ำ ปฏิกิริยารวมที่เกิดขึ้นคือ
			                              2H2(g) + O2(g)	 →	 H2O (l)	                  	                   (1.13)
	         ข้อดีของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือเริ่มท�ำงานได้อย่างรวดเร็ว ประสิทธิภาพสูง ปฏิกิริยาที่
ขั้วแคโทดจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากอิเล็กโทรไลต์เป็นสารแอลคาไลน์ อิเล็กโทรไลต์มีราคา
ถูก และตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้อาจเป็นแพลทินัมหรือโลหะอื่นที่มีราคาถูก เช่น นิกเกิล ฯลฯ แต่เซลล์              
เชื้อเพลิงชนิดนี้ต้องใช้สารตั้งต้นและตัวออกซิแดนต์ที่เป็นสารบริสุทธิ์เท่านั้น เพราะการปนเปื้อนของ
แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ในสารตั้งต้นและตัวออกซิแดนต์จะท�ำให้ตัวเร่งปฏิกิริยาและอิเล็กโทรไลต์      
เสื่อมสภาพ
	         (จ)	 เซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็มเป็นเซลล์เชื้อเพลิงที่ก�ำลังได้รับความสนใจในการผลิตพลังงาน
เนื่องจากมีขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา และท�ำงานที่อุณหภูมิต�่ำ (30-100 องศาเซลเซียส) อิเล็กโทรไลต์
ของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้เป็นพอลิเมอร์ที่มีสมบัติในการน�ำโปรตอนสูง ตัวเร่งปฏิกิริยาที่นิยมใช้ที่ขั้ว
แอโนดและแคโทดคือแพลทินัม ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วแอโนดและแคโทด (Spiegel, 2007)
8                                               เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า 


แสดงโดยปฏิกิริยา (1.14)-(1.15) ตามล�ำดับ
                                             +
			                              H2(g)	 →	 2H (aq) + 2e-	                 	                    (1.14)
                                +
			              1/2O2(g) + 2H (aq) + 2e-	 →	 H2O(l)	                     	                    (1.15)
	        ที่ขั้วแอโนดจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของแก๊สไฮโดรเจนได้โปรตอนและอิเล็กตรอน โดย
โปรตอนจะเคลื่อนที่ผ่านอิเล็กโทรไลต์หรือเมมเบรนไปที่ขั้วแคโทด ส่วนอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผาน
                                                                                         ่
เครื่องดึงภาระกระแสไฟฟ้าไปยังขั้วแคโทดและเกิดปฏิกิริยารีดักชันกับออกซิเจนได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำ
ดังสมการ (1.16)
			                         2H2(g) + O2(g)	 →	 H2O(l)	             	                (1.16)
	           ข้อดีของเซลล์เชือเพลิงชนิดนีคออายุการใช้งานนาน ใช้เวลาเริมต้นในการท�ำงานสัน ประสิทธิภาพ
                            ้           ้ ื                            ่              ้
สูง แต่มีข้อเสียคือราคาสูงเนื่องจากต้องใช้แพลทินัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และต้องใช้สารตั้งต้นและตัว
ออกซิแดนต์ที่ค่อนข้างบริสุทธิ์ การใช้สารตั้งต้นและตัวออกซิแดนต์ที่มีการปนเปื้อนของสารมลพิษ
เช่น แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ จะท�ำให้ประสิทธิภาพต�่ำลง ส�ำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับกลไกการเกิด
ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม รวมถึงการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเซลล์
เชื้อเพลิงชนิดนี้จะอธิบายในบทต่อไป
	           (ฉ)	 เซลล์เชือเพลิงแบบเมทานอลโดยตรงสามารถท�ำงานได้โดยการป้อนเมทานอลเข้าสูเซลล์
                         ้                                                                    ่
โดยตรง อิเล็กโทรไลต์ของเซลล์เชือเพลิงชนิดนีจะเป็นพอลิเมอร์ทมสมบัตในการน�ำโปรตอนสูง ตัวเร่ง
                                      ้          ้                ี่ ี    ิ
ปฏิกรยาทีขวแอโนดคือ Pt-Ru หรือตัวเร่งปฏิกรยาอืนทีทนคาร์บอนมอนอกไซด์ ส่วนตัวเร่งปฏิกรยาที่
      ิ ิ ่ ั้                                   ิิ ่ ่                                       ิิ
นิยมใช้ทขวแคโทดคือแพลทินม อุณหภูมของการท�ำงานจะอยูในช่วง 20-100 องศาเซลเซียส ปฏิกรยา
          ี่ ั้                  ั          ิ                ่                                   ิิ
เคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วแอโนดและแคโทด (Spiegel, 2007) แสดงโดยปฏิกิริยา (1.17)-(1.18) ตาม
ล�ำดับ
                                                                  +
		                            CH3OH(l) + H2O(l)	 →	 CO2(g) + 6H (aq) + 6e-	                 (1.17)
                                +
		               3/2O2(g) + 6H (aq) + 6e-	 →	 3H2O(l)	                    	                    (1.18)
	         ที่ขั้วแอโนดจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของเมทานอลร่วมกับน�้ำได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ โปรตอน และอิเล็กตรอน โดยโปรตอนจะเคลื่อนที่ผ่านอิเล็กโทรไลต์หรือเมมเบรน
ไปที่ขั้วแคโทด ส่วนอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผ่านเครื่องดึงภาระกระแสไฟฟ้าไปยังขั้วแคโทดและเกิด
ปฏิกิริยารีดักชันกับออกซิเจนได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำซึ่งสมการรวมแสดงโดย
			                  CH3OH(l) + 3/2O2(g)	 →	 CO2(g) + 2H2O(l)	            	                    (1.19)
	       ข้อดีของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือเมทานอลที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงสามารถผลิตจากปฏิกิริยารีฟอร์มิง
ของแกโซลีน (Gasoline) หรือชีวมวล (Biomass) จึงมีความปลอดภัยกว่าเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็ม
เนื่องจากใช้ของเหลวเป็นเชื้อเพลิง แต่อัตราการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของเมทานอลจะช้าเช่นเดียว
 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม                                                                    9


กับปฏิกิริยาที่แคโทด และการแพร่ของเมทานอลผ่านเมมเบรนที่ศักย์ไฟฟ้าวงจรเปิด (Open circuit
voltage) สูง รวมถึงสารมัธยันตร์ (Intermediate) ที่เกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของเมทานอลคือ
คาร์บอนมอนอกไซด์จะท�ำให้ตัวเร่งปฏิกิริยาเสื่อมสภาพเร็ว นอกจากเซลล์เชื้อเพลิงที่กล่าวมาข้างต้น
แล้วยังมีเซลล์เชือเพลิงอีกหลายชนิด เช่น เซลล์เชือเพลิงสังกะสี-อากาศ (Zinc air fuel cell) เซลล์เชือ
                 ้                              ้                                                 ้
เพลิงโปรโตนิกเซรา-มิก (Protonic ceramic fuel cell) เซลล์เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biological fuel cell)
	         รูปที่ 1.5 แสดงการถ่ายโอนประจุในเซลล์เชื้อเพลิงประเภทต่าง ๆ พบว่าชนิดของประจุที่
ถ่ายโอนผ่านอิเล็กโทรไลต์จะแตกต่างกัน กล่าวคือประจุที่ถ่ายโอนผ่านอิเล็กโทรไลต์ในเซลล์เชื้อเพลิง
พีอีเอ็ม เซลล์เชื้อเพลิงแบบกรดฟอสฟอริก รวมถึงเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมทานอลโดยตรง (ไม่ได้แสดง
ในรูป) คือประจุบวกหรือโปรตอนซึ่งจะเคลื่อนที่จากแอโนดไปแคโทด ส่วนประจุที่ถ่ายโอนในเซลล์   
เชื้อเพลิงแบบออกไซด์ของแข็ง เซลล์เชื้อเพลิงแบบคาร์บอเนตหลอม และเซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคา-       
ไลน์ จะเป็นประจุลบซึงจะเคลือนทีจากขัวแคโทดไปแอโนด เมือเปรียบเทียบศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เชือเพลิง
                       ่     ่ ่      ้                   ่                                ้
แบบเซลล์เดี่ยว (Single cell) แต่ละชนิดพบว่าเซลล์เชื้อเพลิงแบบคาร์บอเนตหลอมจะให้ศักย์ไฟฟ้าสูง
ที่สุด ส่วนเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมทานอลโดยตรงจะให้ศักย์ไฟฟ้าต�่ำที่สุด (รูปที่ 1.6) เนื่องจากปฏิกิริยา
ออกซิเดชัน-รีดักชันที่ช้าและการสูญเสียเนื่องจากการแพร่ของเมทานอลผ่านเมมเบรน




รูปที่ 1.5 การถ่ายโอนประจุในเซลล์เชื้อเพลิงประเภทต่าง ๆ (ที่มา : DoITPoMS, Types of fuel
   cells, University of Cambridge, Department of Materials Science and Metallurgy,
  University of Cambridge, http://www.doitpoms.ac.uk/tlplib/fuel-cells/types.php, 2006)
10                                             เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า 




  รูปที่ 1.6 ศักย์ไฟฟ้าและความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าของเซลล์เชื้อเพลิงประเภทต่าง ๆ (ที่มา :
 Tosaka, Fuel cell (V-I characteristic chart) E.PNG, http://commons.wikimedia.org/wiki/
                   File:Fuel_cell_(V-I_characteristic_chart)_E.PNG, 2006)




รูปที่ 1.7 ประสิทธิภาพก�ำลังไฟฟ้าของเซลล์เชื้อเพลิงและเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า (ที่มา : Hayashi K.,
     Yokoo M.,  Yoshida Y., Arai H., Solid oxide fuel cell stack with high electrical
 efficiency, Special Feature: NTT Group R&D for Reducing Environmental Load, 7(2)
                                      (2009): 1-5)

	      รูปที่ 1.7 แสดงการเปรียบเทียบประสิทธิภาพก�ำลังไฟฟ้าของเซลล์เชือเพลิงและเครืองก�ำเนิด
                                                                         ้           ่
ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่มีการใช้งานจริงในปัจจุบัน พบว่าเซลล์เชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพการเปลี่ยนรูป
พลังงานสูงสุดคือเซลล์เชือเพลิงแบบออกไซด์ของแข็ง แต่เซลล์เชือเพลิงทีสามารถน�ำมาใช้สำหรับระบบ
                        ้                                  ้       ่               �
ผลิตกระแสไฟฟ้าร่วมในบ้านเรือนคือเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็ม ข้อมูลภาพรวมที่ส�ำคัญของเซลล์เชื้อเพลิง
ประเภทต่าง ๆ แสดงในตารางที่ 1.1

More Related Content

Viewers also liked (9)

The Nature of Science
The Nature of ScienceThe Nature of Science
The Nature of Science
 
Smart farm thailand
Smart farm thailandSmart farm thailand
Smart farm thailand
 
Teaching Science
Teaching ScienceTeaching Science
Teaching Science
 
The Nature of Science
The Nature of ScienceThe Nature of Science
The Nature of Science
 
Science strategies
Science strategiesScience strategies
Science strategies
 
Physics introduction
Physics introductionPhysics introduction
Physics introduction
 
Nature of science for teaching
Nature of science for teachingNature of science for teaching
Nature of science for teaching
 
Science Teaching Approaches and Strategies
Science Teaching Approaches and  Strategies Science Teaching Approaches and  Strategies
Science Teaching Approaches and Strategies
 
Physics ppt
Physics pptPhysics ppt
Physics ppt
 

Similar to 9789740330189

ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
metinee
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
metinee
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
Powergift_vip
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
orohimaro
 
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6
orohimaro
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
orohimaro
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
Keatisak TAtanarua
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
Powergift_vip
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
Natdanai Kumpao
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
Natdanai Kumpao
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
thanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
Up To You's Toey
 

Similar to 9789740330189 (20)

ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
Palangngan
PalangnganPalangngan
Palangngan
 
Vvv
VvvVvv
Vvv
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6M 3/3 Group 6
M 3/3 Group 6
 
M 303 group 6
M 303 group 6M 303 group 6
M 303 group 6
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
 
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
ไฟฟ้ากลุ่มที่1 303
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
งานไฟฟ้า
งานไฟฟ้างานไฟฟ้า
งานไฟฟ้า
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
แหล่งกำเนิดไฟฟ้า (Electric source)
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740330189

  • 1.  เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม 1 บทที่ 1 เซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็ม เชือเพลิงประเภทน�ำมันและถ่านหินเป็นทรัพยากรธรรมชาติทมอยูอย่างจ�ำกัด ้ ้ ี่ ี ่ ซึ่งเมื่อใช้แล้วก็จะหมดไป จากความต้องการการใช้พลังงานที่เพิ่มขึ้นในปัจจุบันท�ำให้ เกิดการศึกษาค้นคว้าหาแหล่งพลังงานรูปแบบใหม่ที่มีปริมาณมากพอมาทดแทน พลังงานแบบเดิม โดยพลังงานทดแทนจะต้องมีความปลอดภัย ความสะอาด ไม่ เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม และให้พลังงานสูง พลังงานไฮโดรเจนถือเป็นแหล่งพลังงาน สะอาดและมีประสิทธิภาพสูงอีกแหล่งที่ก�ำลังได้รับความสนใจในการใช้เป็นพลังงาน ทดแทน ไฮโดรเจนสามารถผลิตได้จากพลังงานแสงอาทิตย์ การสลายตัวจากความ ร้อนโดยตรง (Themolysis) กระบวนการโฟโตไลซิส (Photolysis) กระบวนการ โฟโตอิเล็กโทรไลซิส (Photoelectrolysis) กระบวนการโฟโตไลซิสแบบใช้ตวเร่งปฏิกรยา ั ิิ (Catalytic photolysis) และกระบวนการโฟโตไลซิสทางชีวภาพ (Biophotolysis) แก๊ส ไฮโดรเจนสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กับงานที่ต้องใช้พลังงานดั้งเดิมได้ เช่น ใช้เป็น เชื้อเพลิงส�ำหรับครัวเรือน เครื่องยนต์สันดาปภายใน เครื่องกังหัน และเครื่องไอพ่น นอกจากนี้ยังสามารถน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงส�ำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้าในอุปกรณ์ เปลี่ยนรูปพลังงานที่เรียกว่า เซลล์เชื้อเพลิง (Fuel cell) เซลล์เชื้อเพลิงเป็นอุปกรณ์เปลี่ยนรูปพลังงานที่ให้ประสิทธิภาพสูง เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถใช้กับเชื้อเพลิงได้หลากหลายชนิดโดยมีประสิทธิภาพใกล้ เคียงกับแหล่งพลังงานเดิม ท�ำให้เซลล์เชื้อเพลิงได้รับความสนใจค้นคว้าวิจัยอย่าง แพร่หลาย บทนีจะอธิบายถึงความหมายและความส�ำคัญของเซลล์เชือเพลิง ชนิดของ ้ ้ เซลล์เชือเพลิง ประวัตของเซลล์เชือเพลิงโดยเฉพาะเซลล์เชือเพลิงพีอเอ็ม ส่วนประกอบ ้ ิ ้ ้ ี ของเซลล์เชือเพลิง ภาวะการท�ำงาน เสถียรภาพและความทนทาน การประยุกต์ใช้และ ้ การพัฒนาเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็มในประเทศไทย
  • 2. 2 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า  1.1 ความหมายและความสำ�คัญของเซลล์เชื้อเพลิง เซลล์เชือเพลิงเป็นอุปกรณ์ทางเคมีไฟฟ้า (Electrochemical device) ทีเปลียนรูปพลังงานเคมี ้ ่ ่ (Chemical energy) ของสารตั้งต้นหรือเชื้อเพลิงไปเป็นพลังงานไฟฟ้า (Electrical energy) โดยตรง โดยไม่ต้องผ่านกระบวนการเผาไหม้ ลักษณะการท�ำงานของเซลล์เชื้อเพลิงคล้ายแบตเตอรี่คือผลิต กระแสไฟฟ้าได้โดยตรงจากเชือเพลิงและตัวออกซิแดนต์ดวยปฏิกรยาเคมีไฟฟ้าและมีองค์ประกอบหลัก ้ ้ ิิ ทีเหมือนกันคือขัวไฟฟ้าและอิเล็กโทรไลต์ ข้อแตกต่างระหว่างเซลล์เชือเพลิงและแบตเตอรีคอแบตเตอรี่ ่ ้ ้ ่ ื เป็นเครื่องเก็บพลังงาน (Energy storage) ปริมาณพลังงานสูงสุดและอายุการใช้งานของแบตเตอรี่ จะขึ้นอยู่กับปริมาณสารตั้งต้นที่บรรจุในแบตเตอรี่ (Li, 2008a) แต่การบรรจุสารตั้งต้นและตัวออก- ซิแดนต์รวมกันในแบตเตอรี่ (รูปที่ 1.1(ก)) จะท�ำให้ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในแบตเตอรี่ค่อนข้าง ช้า และอาจเกิดการผุกร่อนขององค์ประกอบภายในส่งผลให้เกิดการรั่วซึมของสารตั้งต้นและตัวออก- ซิแดนต์ นอกจากนี้ ขั้วไฟฟ้าในแบตเตอรี่จะถูกใช้ระหว่างการเกิดปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าส่งผลให้อายุการ ใช้งานของแบตเตอรี่สั้นลง ในขณะที่เซลล์เชื้อเพลิงท�ำหน้าที่เป็นเพียงอุปกรณ์เปลี่ยนรูปพลังงานซึ่ง สามารถท�ำงานได้อย่างต่อเนื่องตราบเท่าที่มีการป้อนสารตั้งต้นเข้าสู่ระบบ (รูปที่ 1.1(ข)) ไม่มีการ รั่วซึมของสารตั้งต้นจากเซลล์เชื้อเพลิงยกเว้นในกรณีที่ส่วนประกอบของเซลล์เชื้อเพลิงช�ำรุดเสียหาย นอกจากนี้ ขัวไฟฟ้าทีใช้ในเซลล์เชือเพลิงจะไม่ถกใช้ในปฏิกรยาขณะท�ำงานส่งผลให้อายุการใช้งานของ ้ ่ ้ ู ิิ ขั้วไฟฟ้าสูง ดังนั้น อายุการใช้งานของเซลล์เชื้อเพลิงจึงยาวนานกว่าแบตเตอรี่ (ก) (ข) รูปที่ 1.1 (ก) แบตเตอรี่ และ (ข) เซลล์เชื้อเพลิงไฟฟ้า เซลล์เชื้อเพลิงมีลักษณะที่เหมือนกับเครื่องยนต์เผาไหม้ (Combustion engine) คือมีการ เก็บแก๊สเชื้อเพลิงและตัวออกซิแดนต์นอกตัวเครื่อง แต่มีความแตกต่างกันในเรื่องของวิธีการเปลี่ยน รูปพลังงานเคมีไปเป็นพลังงานไฟฟ้า โดยการเปลี่ยนพลังงานเคมีไปเป็นพลังงานไฟฟ้าในเครื่องยนต์ เผาไหม้จะเป็นแบบหลายขันตอน (Multistep energy-conversion process) กล่าวคือ เครืองยนต์เผา ้ ่ ไหม้จะเปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานความร้อน (Thermal energy) ก่อนด้วยการเผาไหม้ จากนั้น
  • 3.  เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม 3 จึงเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานจลน์ (Kinetic energy) ด้วยเครื่องยนต์ความร้อน (Heat engine) และจึงเปลียนพลังงานจลน์ไปเป็นพลังงานไฟฟ้าด้วยเครืองก�ำเนิดไฟฟ้า (Electric generator) ่ ่ ซึ่งถูกขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ความร้อนดังแสดงในรูปที่ 1.2 ประสิทธิภาพสูงสุดของเครื่องยนต์ความร้อนซึ่งท�ำงานอยู่ระหว่างอุณหภูมิต�่ำสุด (TL) และ อุณหภูมิสูงสุด (TH ) จะถูกจ�ำกัดด้วยประสิทธิภาพคาร์โนต์ (Carnot efficiency) คือ (1.1) จากกฎข้อที่ 3 ของอุณหพลศาสตร์ (Third law of thermodynamics) ค่า TL < TH และค่า TL ≠ 0 ดังนั้น ประสิทธิภาพของเครื่องยนต์ความร้อนจะไม่เกินร้อยละ 100 ตามกฎข้อที่ 2 ของ อุณหพลศาสตร์ (Second law of thermodynamics) เมื่อปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในเซลล์เชื้อเพลิงเป็นปฏิกิริยาผันกลับได้ (Reversible reaction) ประสิทธิภาพสูงสุดของเซลล์เชื้อเพลิงตามกฎข้อที่ 2 ของอุณหพลศาสตร์สามารถค�ำนวณได้จาก (1.2) เมื่อ wmax คือพลังงานขาออกสูงสุดในรูปของงาน; ∆G และ ∆H คือพลังงานเสรีกิบส์ (Gibbs free energy) และเอนทัลปี (Enthalpy) ของปฏิกรยาในเซลล์เชือเพลิงซึงเป็นฟังก์ชนกับอุณหภูมและความดัน ิิ ้ ่ ั ิ รูปที่ 1.2 (ก) การท�ำงานของเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้าซึ่งถูกขับเคลื่อนด้วยเครื่องยนต์ความร้อน และ (ข) วิถีการเปลี่ยนรูปพลังงานด้วยเครื่องยนต์เผาไหม้และเซลล์เชื้อเพลิง
  • 4. 4 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า  รูปที่ 1.3 ประสิทธิภาพของเซลล์เชื้อเพลิงและอุปกรณ์เปลี่ยนรูปพลังงาน (ที่มา : Zorbas S.V., Fuel cell education, http://www.fuelcells.org.au/Fuel-Cell-Education.htm, 2005) รูปที่ 1.4 การเปรียบเทียบการปลดปล่อยมลพิษระหว่างเซลล์เชื้อเพลิงและอุปกรณ์เปลี่ยนรูป พลังงานแบบอื่น (ที่มา : Nolan G., Applications for fuel cells, http://www.siliconchip.com.au/cms/A_30527/article.html, 2002) เซลล์เชื้อเพลิงมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด แต่ชนิดที่ได้รับความนิยมและมีการใช้งานกันอย่าง แพร่หลาย ได้แก่ เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมมเบรนแลกเปลี่ยนโปรตอนหรือเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็ม (Proton exchange membrane fuel cell, PEMFC) เซลล์เชื้อเพลิงแบบออกไซด์ของแข็ง (Solid oxide fuel cell, SOFC) เซลล์เชื้อเพลิงแบบกรดฟอสฟอริก (Phosphoric acid, PAFC) เซลล์เชื้อเพลิงแบบ คาร์บอเนตหลอม (Molten carbonate fuel cell, MCFC) เซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน์ (Alkaline
  • 5.  เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม 5 fuel cell, AFC) และเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมทานอลโดยตรง (Direct methanol fuel cell, DMFC) ซึ่ง มีลักษณะ ข้อดี-ข้อเสีย และการประยุกต์ใช้งานที่แตกต่างกัน การจ�ำแนกประเภทของเซลล์เชื้อเพลิง สามารถท�ำได้หลายประเภท (Bagotsky, 2009) ได้แก่ • ารจ�ำแนกตามชนิดของสารตั้งต้น สารตั้งต้นที่ใช้ในเซลล์เชื้อเพลิงมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด ก เช่น แก๊สไฮโดรเจน (H2) เมทานอล (CH3OH) มีเทน (CH4) คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) สารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์บางชนิดที่มีสมบัติในการเป็นตัวรีดิวซ์ เช่น ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (H2S) ไฮดราซีน (N2H4) ส่วนตัวออกซิแดนต์ที่นิยมใช้ก็มีด้วยกันหลายชนิด เช่น อากาศ ออกซิเจน ไฮโดรเจนเปอร์- ออกไซด์ (H2O2) และคลอรีน (Cl2) • ารจ�ำแนกตามชนิดของอิเล็กไทรไลต์ ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งอิเล็กโทรไลต์ที่เป็นของเหลว ก เช่น สารละลายกรด แอลคาไลน์ เกลือแอลคาไลน์ และเกลือคาร์บอเนตหลอม หรือใช้อิเล็กโทรไลต์ ที่เป็นของแข็ง เช่น พอลิเมอร์ที่น�ำไอออนหรือสารประกอบออกไซด์ของสารอนินทรีย์ ข้อดีของการใช้ อิเล็กโทรไลต์ที่เป็นของแข็งคือไม่มีการรั่วซึมของอิเล็กโทรไลต์ออกนอกเซลล์ จึงไม่เกิดการกัดกร่อน ส่วนประกอบอื่นของเซลล์ นอกจากนี้อิเล็กโทรไลต์ที่เป็นของแข็งจะกั้นระหว่างแก๊สเชื้อเพลิงและตัว ออกซิแดนต์ท�ำให้สารทั้งสองชนิดไม่ท�ำปฏิกิริยากันโดยตรง • ารจ�ำแนกตามช่วงอุณหภูมิการท�ำงาน อุณหภูมิการท�ำงานของเซลล์เชื้อเพลิงสามารถ ก จ�ำแนกออกได้เป็น 3 ช่วง คือ อุณหภูมิระดับต�่ำ (น้อยกว่า 150 องศาเซลเซียส) ได้แก่ เซลล์เชื้อ- เพลิงพีอีเอ็ม เซลล์เชื้อเพลิงแบบเมทานอลโดยตรง เซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน์ที่ใช้พอลิเมอร์เป็น อิเล็กโทรไลต์ อุณหภูมิระดับกลาง (150-250 องศาเซลเซียส) ได้แก่ เซลล์เชื้อเพลิงแบบกรดฟอสฟอริก และเซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน์ชนิด Bacon type และอุณหภูมิระดับสูง (มากกว่า 650 องศา เซลเซียส) ได้แก่ เซลล์เชื้อเพลิงแบบออกไซด์ของแข็งและเซลล์เชื้อเพลิงแบบคาร์บอเนตหลอม (ก) เซลล์เชือเพลิงแบบออกไซด์ของแข็งเป็นเซลล์เชือเพลิงทีเหมาะส�ำหรับโรงงานอุตสาหกรรม ้ ้ ่ และโรงงานไฟฟ้าขนาดใหญ่ เนืองจากสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้สง อิเล็กโทรไลต์ของเซลล์เชือเพลิง ่ ู ้ ชนิดนีคอเซรามิกของแข็งทีมความพรุน เช่น Y2O3 stabilized ZrO2 ซึงมีสภาพน�ำ O สูง ขัวแอโนด ้ ื ่ ี ่ 2- ้ ได้แก่ Co-ZrO2 หรือ Ni-ZrO2 ส่วนแคโทดคือ Sr-doped LaMnO3 อุณหภูมของการท�ำงานจะอยูใน ิ ่ ช่วง 600-1,000 องศาเซลเซียส ประสิทธิภาพในการผลิตกระแสไฟฟ้าอาจสูงถึงร้อยละ 60-85 เมือ ่ ใช้ในระบบผลิตกระแสไฟฟ้าร่วม (Co-generator) ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วแคโทดและแอโนด (Spiegel 2007) แสดงโดยปฏิกิริยา (1.3)-(1.4) ตามล�ำดับ 1/2O2(g) + 2e- → O2- (1.3) H2(g) + O2- → H2O(g) + 2e- (1.4) ไอออน O2- ทีเกิดจากปฏิกรยารีดกชันทีขวแคโทดจะเคลือนทีผานอิเล็กโทรไลต์ไปยังขัวแอโนด ่ ิิ ั ่ ั้ ่ ่ ่ ้ และเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำและอิเล็กตรอน อิเล็กตรอนที่เกิดขึ้นจะเคลื่อนที่ผ่าน เครื่องดึงภาระกระแสไฟฟ้า (Load) ไปยังขั้วแคโทดและเกิดปฏิกิริยากับแก๊สออกซิเจน ปฏิกิริยารวม
  • 6. 6 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า  ที่เกิดขึ้นแสดงโดย H2(g) + 1/2O2(g) → H2O(g) (1.5) เซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้นอกจากจะผลิตกระแสไฟฟ้าได้สูงมากกว่า 100 กิโลวัตต์แล้ว ยัง สามารถผลิตความร้อนที่อุณหภูมิสูงถึง 800-1,000 องศาเซลเซียส ซึ่งสามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ได้ ในอุตสาหกรรม ข้อดีของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือมีเสถียรภาพสูง สามารถใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาได้หลาย ชนิด แต่มีข้อเสียคือใช้เวลาเริ่มต้นในการท�ำงานนาน และอาจมีการช�ำรุดหรือการกัดกร่อนของส่วน ประกอบเนื่องจากการท�ำงานที่อุณหภูมิสูง (ข) เซลล์เชือเพลิงแบบกรดฟอสฟอริกเป็นเซลล์เชือเพลิงทีมการผลิตออกจ�ำหน่ายทางการค้า ้ ้ ่ ี แล้วในปัจจุบน อิเล็กโทรไลต์ของเซลล์เชือเพลิงชนิดนีจะเป็นกรดฟอสฟอริกเข้มข้น (H3PO4) ขัวแอโนด ั ้ ้ ้ ได้แก่ Pt/C ส่วนแคโทดคือคาร์บอน (C) อุณหภูมิการท�ำงานอยู่ในช่วง 150-200 องศาเซลเซียส ก�ำลังไฟฟ้าทีสามารถผลิตได้อาจสูงถึง 200 กิโลวัตต์ ปฏิกรยาเคมีไฟฟ้าทีเกิดขึนทีขวแอโนดและแคโทด ่ ิิ ่ ้ ่ ั้ เมื่อใช้แก๊สไฮโดรเจนเป็นเชื้อเพลิงและใช้ออกซิเจนเป็นตัวออกซิแดนต์ (Spiegel, 2007) แสดงโดย + H2(g) → 2H (aq) + 2e- (1.6) + 1/2O2(g) + 2H (aq) + 2e- → H2O(l) (1.7) ผลิตภัณฑ์จากปฏิกิริยาออกซิเดชันที่ขั้วแอโนดคือโปรตอนและอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผ่าน เมมเบรนและเครื่องดึงภาระกระแสไฟฟ้าไปยังขั้วแคโทดและเกิดปฏิกิริยารีดักชันได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำ และกระแสไฟฟ้า เซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้สามารถทนต่อแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์เข้มข้นร้อยละ 1.5 ได้ จึงสามารถใช้สารตังต้นได้หลายชนิด เช่น แก๊สธรรมชาติ เมทานอล หรือแนฟทา และมีประสิทธิภาพ ้ สูงประมาณร้อยละ 40 นอกจากนีนำทีเกิดขึนจากปฏิกรยามีอณหภูมสงสามารถน�ำไปใช้ในระบบผลิต ้ �้ ่ ้ ิิ ุ ิ ู กระแสไฟฟ้าร่วม ข้อเสียของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือมีขนาดใหญ่และมีน�้ำหนักมาก ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา ที่มีราคาสูง และมีประสิทธิภาพต�่ำกว่าเซลล์เชื้อเพลิงประเภทอื่น (ค) เซลล์เชือเพลิงแบบเกลือคาร์บอเนตหลอมจะใช้สารละลายอิเล็กโทรไลต์จำพวกแอลคาไลต์ ้ � คาร์บอเนต เช่น Li2CO3 หรือ K2CO3 ซึ่งอยู่ในเมทริกซ์ของเซรามิก LiAlO2 ขั้วแอโนด ได้แก่ Ni +10 wt%Cr ส่วนแคโทดคือ NiO อุณหภูมิการท�ำงานในช่วง 600-700 องศาเซลเซียส ที่ภาวะนี้แอล- คาไลต์คาร์บอเนตจะหลอม เรียกว่า เกลือหลอม (Molten salt) ที่มีสภาพน�ำไอออนสูง เซลล์เชื้อ- เพลิงชนิดนี้สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าสูงสุดได้ประมาณ 500 กิโลวัตต์ (Spiegel, 2007) ปฏิกิริยา เคมีไฟฟ้าทีแคโทดคือปฏิกรยารีดกชันของออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้ผลิตภัณฑ์เป็น ่ ิิ ั (ปฏิกิริยา (1.8)) ซึ่ง จะเคลื่อนที่ผ่านอิเล็กโทรไลต์จากขั้วแคโทดไปขั้วแอโนดและเกิดปฏิกิริยา ออกซิเดชันร่วมกับแก๊สไฮโดรเจน (ปฏิกิริยา (1.9)) ได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำและ CO2 ปฏิกิริยารวมที่เกิด ขึ้นแสดงโดยปฏิกิริยา (1.10) 1/2O2(g) + CO2(g) + 2e- → (1.8)
  • 7.  เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม 7 H2(g) + → H2O(g) + CO2(g) + 2e- (1.9) H2(g) + 1/2O2(g) + CO2(g) → H2O(g) + CO2(g) (1.10) ข้อดีของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือประสิทธิภาพสูง สามารถใช้เชื้อเพลิงได้หลายชนิด เช่น แก๊ส ไฮโดรเจน แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ แก๊สธรรมชาติ โพรเพน หรือแก๊สที่ผลิตจากการแปรสภาพเป็น แก๊ส (Gasification) ของเชื้อเพลิง และยังสามารถน�ำไปประยุกต์ใช้กับปั๊มความร้อนเคมี (Chemical heat pump) แต่มีข้อเสียคือใช้เวลาเริ่มต้นในการท�ำงานนาน และอาจมีการช�ำรุดหรือกัดกร่อนของ ส่วนประกอบเนื่องจากการท�ำงานที่อุณหภูมิสูง (ง) เซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคาไลน์เป็นเซลล์เชื้อเพลิงที่เก่าแก่ที่สุดโดยเริ่มมีการสาธิตการใช้ งานครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1902 ต่อมาได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนมีประสิทธิภาพสูงถึงร้อยละ 70 และถูกน�ำมาใช้ในปฏิบัติการทางอากาศขององค์การนาซา (NASA) ของประเทศสหรัฐอเมริกา อิเล็กโทรไลต์ของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือสารละลายโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ (KOH) ขั้วแอโนดได้แก่ แพลทินัม (Pt) หรือนิกเกิล (Ni) ส่วนขั้วแคโทดคือคาร์บอน (C) และอุณหภูมิการท�ำงาน 50-200 องศาเซลเซียส เซลล์เชือเพลิงชนิดนีสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้ประมาณ 10-100 กิโลวัตต์ ปฏิกรยา ้ ้ ิิ เคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่แคโทดและแอโนด (Spiegel, 2007) แสดงโดยปฏิกิริยา (1.11)-(1.12) ตาม ล�ำดับ O2(g) + 2H2O(l) + 4e- → 4OH -(aq) (1.11) H2(g) + 4OH -(aq) → H2O(l) + 4e- (1.12) โดยทีขวแคโทดจะเกิดปฏิกรยารีดกชันของออกซิเจนร่วมกับน�ำได้ผลิตภัณฑ์เป็น OH- ซึง OH- ่ ั้ ิิ ั ้ ่ จะเคลื่อนที่ผ่านอิเล็กโทรไลต์ไปแอโนดและเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันร่วมกับแก๊สไฮโดรเจนได้ผลิตภัณฑ์ เป็นน�้ำ ปฏิกิริยารวมที่เกิดขึ้นคือ 2H2(g) + O2(g) → H2O (l) (1.13) ข้อดีของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือเริ่มท�ำงานได้อย่างรวดเร็ว ประสิทธิภาพสูง ปฏิกิริยาที่ ขั้วแคโทดจะเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเนื่องจากอิเล็กโทรไลต์เป็นสารแอลคาไลน์ อิเล็กโทรไลต์มีราคา ถูก และตัวเร่งปฏิกิริยาที่ใช้อาจเป็นแพลทินัมหรือโลหะอื่นที่มีราคาถูก เช่น นิกเกิล ฯลฯ แต่เซลล์ เชื้อเพลิงชนิดนี้ต้องใช้สารตั้งต้นและตัวออกซิแดนต์ที่เป็นสารบริสุทธิ์เท่านั้น เพราะการปนเปื้อนของ แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ในสารตั้งต้นและตัวออกซิแดนต์จะท�ำให้ตัวเร่งปฏิกิริยาและอิเล็กโทรไลต์ เสื่อมสภาพ (จ) เซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็มเป็นเซลล์เชื้อเพลิงที่ก�ำลังได้รับความสนใจในการผลิตพลังงาน เนื่องจากมีขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา และท�ำงานที่อุณหภูมิต�่ำ (30-100 องศาเซลเซียส) อิเล็กโทรไลต์ ของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้เป็นพอลิเมอร์ที่มีสมบัติในการน�ำโปรตอนสูง ตัวเร่งปฏิกิริยาที่นิยมใช้ที่ขั้ว แอโนดและแคโทดคือแพลทินัม ปฏิกิริยาเคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วแอโนดและแคโทด (Spiegel, 2007)
  • 8. 8 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า  แสดงโดยปฏิกิริยา (1.14)-(1.15) ตามล�ำดับ + H2(g) → 2H (aq) + 2e- (1.14) + 1/2O2(g) + 2H (aq) + 2e- → H2O(l) (1.15) ที่ขั้วแอโนดจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของแก๊สไฮโดรเจนได้โปรตอนและอิเล็กตรอน โดย โปรตอนจะเคลื่อนที่ผ่านอิเล็กโทรไลต์หรือเมมเบรนไปที่ขั้วแคโทด ส่วนอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผาน ่ เครื่องดึงภาระกระแสไฟฟ้าไปยังขั้วแคโทดและเกิดปฏิกิริยารีดักชันกับออกซิเจนได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำ ดังสมการ (1.16) 2H2(g) + O2(g) → H2O(l) (1.16) ข้อดีของเซลล์เชือเพลิงชนิดนีคออายุการใช้งานนาน ใช้เวลาเริมต้นในการท�ำงานสัน ประสิทธิภาพ ้ ้ ื ่ ้ สูง แต่มีข้อเสียคือราคาสูงเนื่องจากต้องใช้แพลทินัมเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และต้องใช้สารตั้งต้นและตัว ออกซิแดนต์ที่ค่อนข้างบริสุทธิ์ การใช้สารตั้งต้นและตัวออกซิแดนต์ที่มีการปนเปื้อนของสารมลพิษ เช่น แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ จะท�ำให้ประสิทธิภาพต�่ำลง ส�ำหรับรายละเอียดเกี่ยวกับกลไกการเกิด ปฏิกิริยาออกซิเดชัน-รีดักชัน ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม รวมถึงการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของเซลล์ เชื้อเพลิงชนิดนี้จะอธิบายในบทต่อไป (ฉ) เซลล์เชือเพลิงแบบเมทานอลโดยตรงสามารถท�ำงานได้โดยการป้อนเมทานอลเข้าสูเซลล์ ้ ่ โดยตรง อิเล็กโทรไลต์ของเซลล์เชือเพลิงชนิดนีจะเป็นพอลิเมอร์ทมสมบัตในการน�ำโปรตอนสูง ตัวเร่ง ้ ้ ี่ ี ิ ปฏิกรยาทีขวแอโนดคือ Pt-Ru หรือตัวเร่งปฏิกรยาอืนทีทนคาร์บอนมอนอกไซด์ ส่วนตัวเร่งปฏิกรยาที่ ิ ิ ่ ั้ ิิ ่ ่ ิิ นิยมใช้ทขวแคโทดคือแพลทินม อุณหภูมของการท�ำงานจะอยูในช่วง 20-100 องศาเซลเซียส ปฏิกรยา ี่ ั้ ั ิ ่ ิิ เคมีไฟฟ้าที่เกิดขึ้นที่ขั้วแอโนดและแคโทด (Spiegel, 2007) แสดงโดยปฏิกิริยา (1.17)-(1.18) ตาม ล�ำดับ + CH3OH(l) + H2O(l) → CO2(g) + 6H (aq) + 6e- (1.17) + 3/2O2(g) + 6H (aq) + 6e- → 3H2O(l) (1.18) ที่ขั้วแอโนดจะเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของเมทานอลร่วมกับน�้ำได้ผลิตภัณฑ์เป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ โปรตอน และอิเล็กตรอน โดยโปรตอนจะเคลื่อนที่ผ่านอิเล็กโทรไลต์หรือเมมเบรน ไปที่ขั้วแคโทด ส่วนอิเล็กตรอนจะเคลื่อนที่ผ่านเครื่องดึงภาระกระแสไฟฟ้าไปยังขั้วแคโทดและเกิด ปฏิกิริยารีดักชันกับออกซิเจนได้ผลิตภัณฑ์เป็นน�้ำซึ่งสมการรวมแสดงโดย CH3OH(l) + 3/2O2(g) → CO2(g) + 2H2O(l) (1.19) ข้อดีของเซลล์เชื้อเพลิงชนิดนี้คือเมทานอลที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงสามารถผลิตจากปฏิกิริยารีฟอร์มิง ของแกโซลีน (Gasoline) หรือชีวมวล (Biomass) จึงมีความปลอดภัยกว่าเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็ม เนื่องจากใช้ของเหลวเป็นเชื้อเพลิง แต่อัตราการเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันของเมทานอลจะช้าเช่นเดียว
  • 9.  เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็ม 9 กับปฏิกิริยาที่แคโทด และการแพร่ของเมทานอลผ่านเมมเบรนที่ศักย์ไฟฟ้าวงจรเปิด (Open circuit voltage) สูง รวมถึงสารมัธยันตร์ (Intermediate) ที่เกิดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันของเมทานอลคือ คาร์บอนมอนอกไซด์จะท�ำให้ตัวเร่งปฏิกิริยาเสื่อมสภาพเร็ว นอกจากเซลล์เชื้อเพลิงที่กล่าวมาข้างต้น แล้วยังมีเซลล์เชือเพลิงอีกหลายชนิด เช่น เซลล์เชือเพลิงสังกะสี-อากาศ (Zinc air fuel cell) เซลล์เชือ ้ ้ ้ เพลิงโปรโตนิกเซรา-มิก (Protonic ceramic fuel cell) เซลล์เชื้อเพลิงชีวภาพ (Biological fuel cell) รูปที่ 1.5 แสดงการถ่ายโอนประจุในเซลล์เชื้อเพลิงประเภทต่าง ๆ พบว่าชนิดของประจุที่ ถ่ายโอนผ่านอิเล็กโทรไลต์จะแตกต่างกัน กล่าวคือประจุที่ถ่ายโอนผ่านอิเล็กโทรไลต์ในเซลล์เชื้อเพลิง พีอีเอ็ม เซลล์เชื้อเพลิงแบบกรดฟอสฟอริก รวมถึงเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมทานอลโดยตรง (ไม่ได้แสดง ในรูป) คือประจุบวกหรือโปรตอนซึ่งจะเคลื่อนที่จากแอโนดไปแคโทด ส่วนประจุที่ถ่ายโอนในเซลล์ เชื้อเพลิงแบบออกไซด์ของแข็ง เซลล์เชื้อเพลิงแบบคาร์บอเนตหลอม และเซลล์เชื้อเพลิงแบบแอลคา- ไลน์ จะเป็นประจุลบซึงจะเคลือนทีจากขัวแคโทดไปแอโนด เมือเปรียบเทียบศักย์ไฟฟ้าของเซลล์เชือเพลิง ่ ่ ่ ้ ่ ้ แบบเซลล์เดี่ยว (Single cell) แต่ละชนิดพบว่าเซลล์เชื้อเพลิงแบบคาร์บอเนตหลอมจะให้ศักย์ไฟฟ้าสูง ที่สุด ส่วนเซลล์เชื้อเพลิงแบบเมทานอลโดยตรงจะให้ศักย์ไฟฟ้าต�่ำที่สุด (รูปที่ 1.6) เนื่องจากปฏิกิริยา ออกซิเดชัน-รีดักชันที่ช้าและการสูญเสียเนื่องจากการแพร่ของเมทานอลผ่านเมมเบรน รูปที่ 1.5 การถ่ายโอนประจุในเซลล์เชื้อเพลิงประเภทต่าง ๆ (ที่มา : DoITPoMS, Types of fuel cells, University of Cambridge, Department of Materials Science and Metallurgy, University of Cambridge, http://www.doitpoms.ac.uk/tlplib/fuel-cells/types.php, 2006)
  • 10. 10 เซลล์เชื้อเพลิงพีิีอีเอ็มและการวิเคราะห์เชิงเคมีไฟฟ้า  รูปที่ 1.6 ศักย์ไฟฟ้าและความหนาแน่นกระแสไฟฟ้าของเซลล์เชื้อเพลิงประเภทต่าง ๆ (ที่มา : Tosaka, Fuel cell (V-I characteristic chart) E.PNG, http://commons.wikimedia.org/wiki/ File:Fuel_cell_(V-I_characteristic_chart)_E.PNG, 2006) รูปที่ 1.7 ประสิทธิภาพก�ำลังไฟฟ้าของเซลล์เชื้อเพลิงและเครื่องก�ำเนิดไฟฟ้า (ที่มา : Hayashi K., Yokoo M., Yoshida Y., Arai H., Solid oxide fuel cell stack with high electrical efficiency, Special Feature: NTT Group R&D for Reducing Environmental Load, 7(2) (2009): 1-5) รูปที่ 1.7 แสดงการเปรียบเทียบประสิทธิภาพก�ำลังไฟฟ้าของเซลล์เชือเพลิงและเครืองก�ำเนิด ้ ่ ไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่มีการใช้งานจริงในปัจจุบัน พบว่าเซลล์เชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพการเปลี่ยนรูป พลังงานสูงสุดคือเซลล์เชือเพลิงแบบออกไซด์ของแข็ง แต่เซลล์เชือเพลิงทีสามารถน�ำมาใช้สำหรับระบบ ้ ้ ่ � ผลิตกระแสไฟฟ้าร่วมในบ้านเรือนคือเซลล์เชื้อเพลิงพีอีเอ็ม ข้อมูลภาพรวมที่ส�ำคัญของเซลล์เชื้อเพลิง ประเภทต่าง ๆ แสดงในตารางที่ 1.1