SlideShare a Scribd company logo
คูมือการจัดทํางบการเงิน
          สหกรณประเภทการเกษตร
  รานคา บริการ และเครดิตยูเนี่ยน




กรมตรวจบัญชีสหกรณ
สํานักนโยบายและมาตรฐาน
ที่ กษ 0406/ว.1544                                                        กรมตรวจบัญชีสหกรณ
                                                                          เทเวศร กทม. 10200
                                                 2 ธันวาคม 2548
เรื่อง การจัดทํางบการเงินของสหกรณ
เรียน ผูสอบบัญชี / ประธานกรรมการสหกรณ
อางถึง   1. ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ วาดวยการบัญชีของสหกรณ พ.ศ. 2542
          2. หนังสือกรมตรวจบัญชีสหกรณ ที่ กษ 0406/ว.1089 ลงวันที่ 8 กันยายน 2548
                ตามหนังสือที่อางถึง 1 นายทะเบียนสหกรณไดใหสหกรณจัดทํางบการเงินตามแบบที่
                                
กรมตรวจบัญชีสหกรณกําหนด และหนังสือที่อางถึง 2 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดกําหนดเกี่ยวกับการ
จัดทํา งบการเงินของสหกรณ นั้น
                เพื่อใหการจัดทํางบการเงินของสหกรณแสดงขอมูลที่เปนประโยชนตอสหกรณและผูใช
งบการเงินโดยทั่วไปมากยิ่งขึ้น และเปนไปอยางมีมาตรฐาน กรมตรวจบัญชีสหกรณจึงไดทําการ
ปรับเปลี่ยนรูปแบบงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน พรอมกับไดใหคําแนะนําเพื่อ
ประกอบการจัดทํา ตามที่แนบทายนี้
                ทั้งนี้ ใหถือปฏิบัติสําหรับงบการเงินที่มีปบัญชีสิ้นสุดตั้งแตวันที่ 31 ธันวาคม 2548
เปนตนไป อนึ่ง เฉพาะในการจัดทํางบการเงินตามรูปแบบใหมในปแรก ไมตองจัดทํางบการเงิน
เปรียบเทียบกับปกอน
                จึงเรียนมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติตอไป
                                                 ขอแสดงความนับถือ



                                             (นางสาวสุพัตรา ธนเสนีวัฒน)
                                              อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ

สํานักนโยบายและมาตรฐาน
โทร. 0 2281 1491
โทรสาร 0 2628 5769
คํานํา

              งบการเงินเปนการเสนอขอมูลทางการเงินการบัญชี เพื่อแสดงฐานะการเงินและรายการ
ทางบัญชีของสหกรณ          งบการเงินที่จดทําขึ้น มีวตถุประสงคเพือใหขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน
                                        ั           ั            ่
ผลการดําเนินงาน รวมทั้งขอมูลอื่นซึ่งเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งจะเปนประโยชน
ตอผูใชงบการเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ นอกจากนี้งบการเงินยังแสดงถึงผลการบริหารงาน
ของคณะกรรมการสหกรณอกดวย   ี
              คูมือการจัดทํางบการเงินของสหกรณประเภทการเกษตร รานคา บริการ และ
เครดิตยูเนี่ยนเลมนี้     จัดทําขึ้นเพื่อใหสหกรณใชประกอบการจัดทํางบการเงินของสหกรณเปนไป
อยางมีมาตรฐานและปฏิบตในแนวทางเดียวกัน โดยเนื้อหาสาระของคูมอนี้ เปนการนํารูปแบบ
                          ั ิ                                          ื
งบการเงินของสหกรณ ซึ่งประกอบดวย งบดุล งบกําไรขาดทุน งบตนทุนขายและงบตนทุนการผลิต
รวมทั้งหมายเหตุประกอบงบการเงินที่กรมตรวจบัญชีสหกรณไดกําหนดขึ้นใหมมาจัดทําคําอธิบาย
โดยไดจดทําตัวอยาง และแสดงแนวทางในการนําเสนองบการเงิน ตลอดจนการจัดทํางบการเงิน
        ั
ของสหกรณในกรณีท่สหกรณตกคางการตรวจสอบ กรณีสหกรณเปลี่ยนปทางบัญชี และกรณี
                      ี
สหกรณจัดตั้งใหมไวดวย
          กรมตรวจบัญชีสหกรณหวังเปนอยางยิ่งวา          คูมือเลมนี้จะเปนประโยชนตอสหกรณ
ตลอดจนบุคคลที่สนใจในเรื่องนี้ตามสมควร




                                             สํานักนโยบายและมาตรฐาน
                                             กรมตรวจบัญชีสหกรณ
                                             ธันวาคม 2548
สารบัญ
                                                                            หนา
คํานํา
งบดุล
        แบบงบดุล                                                             1
        คําอธิบายรายการในงบดุล                                               3
งบกําไรขาดทุน
        แบบงบกําไรขาดทุน                                                    15
        คําอธิบายรายการในงบกําไรขาดทุน                                      28
งบตนทุนขาย/บริการ
        แบบงบตนทุนขาย/บริการ                                               33
        คําอธิบายรายการในงบตนทุนขาย/บริการ                                 38
งบตนทุนการผลิต
        แบบงบตนทุนการผลิต                                                  41
        คําอธิบายรายการในงบตนทุนการผลิต                                    45
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
        แบบหมายเหตุประกอบงบการเงิน                                          47
        ตัวอยางหมายเหตุประกอบงบการเงิน                                     48
        คําอธิบายเกี่ยวกับหมายเหตุประกอบงบการเงิน                           60
ภาคผนวก
       การจัดทํางบการเงินกรณีสหกรณตกคางการตรวจสอบ                         71
       การจัดทํางบการเงินกรณีสหกรณเปลี่ยนปทางบัญชี
           กรณีการเปลี่ยนปทางบัญชีมีผลบังคับหลังวันสิ้นสุดปทางบัญชีใหม   73
           กรณีการเปลี่ยนปทางบัญชีมีผลบังคับกอนวันสิ้นสุดปทางบัญชีใหม   77
       การจัดทํางบการเงินกรณีสหกรณจัดตั้งใหม                              78
งบดุล

รูปแบบ

คําอธิบายรายการ
1

                สหกรณ                                                   จํากัด
                                             งบดุล
                       ณ วันที่                      และ

                                                                    ป 25……..     ป 25…….
                                                           หมายเหตุ     บาท          บาท
                        สินทรัพย
สินทรัพยหมุนเวียน
       เงินสดและเงินฝากธนาคาร                                 2     ……………         ……………
       เงินฝากสหกรณอื่น                                            ……………         ……………
       เงินสงชําระหนี้ระหวางทาง                                   ……………         ……………
       เงินลงทุนระยะสั้น                                      3     ……………         ……………
       เงินใหกูยืมระยะสั้น - สุทธิ                          4     ……………         ……………
       ลูกหนี้ระยะสั้น - สุทธิ                                5     ……………         ……………
       ดอกเบี้ยเงินใหกูคางรับ - สุทธิ                      6     ……………         ……………
       สินคาคงเหลือ                                          7     ……………         ……………
       สินทรัพยหมุนเวียนอื่น                                 8     ……………         ……………
                    รวมสินทรัพยหมุนเวียน                           ……………         ……………
สินทรัพยไมหมุนเวียน
       เงินลงทุนระยะยาว                                      3      ……………         ……………
       เงินใหกยืมระยะยาว
                ู                                            4      ……………         ……………
       ลูกหนี้ระยะยาว - สุทธิ                                5      ……………         ……………
       มูลคาพันธุสัตว - สุทธิ                             9      ……………         ……………
       ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ                        10     ……………         ……………
       สินทรัพยไมมตัวตน
                      ี                                      11     ……………         ……………
       สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น                             12     ……………         ……………
                  รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน                          ……………         ……………
                         รวมสินทรัพย                               ……………         ……………
2
                                                                                          ป 25……..                 ป 25…….
                                                                     หมายเหตุ                 บาท                      บาท
                   หนี้สินและทุนของสหกรณ
  หนี้สนหมุนเวียน
       ิ
           เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้น                   13             ……………                      ……………
           เจาหนี้การคา                                                                ……………                      ……………
           สวนของหนี้สนไมหมุนเวียนทีถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป
                          ิ               ่                            16,17             ……………                      ……………
           เงินรับฝาก                                                   14               ……………                      ……………
           คาบํารุงสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยคางจาย                                  ……………                      ……………
           หนี้สินหมุนเวียนอื่น                                           15             ……………                      ……………
                            รวมหนี้สินหมุนเวียน                                          ……………                      ……………
  หนี้สนไมหมุนเวียน
         ิ
           เงินกูยืมระยาว                                                16             ……………                      ……………
           เจาหนี้คาเชาซื้อสินทรัพย                                   17             ……………                      ……………
           หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น                                        18             ……………                      ……………
                        รวมหนี้สินไมหมุนเวียน                                           ……………                      ……………
                        รวมหนีสิน ้                                                      ……………                      ……………
  ทุนของสหกรณ
           ทุนเรือนหุน (มูลคาหุนละ………..บาท)                                           ……………                      ……………
                         หุนที่ชําระเต็มมูลคาแลว
                                                                                        ……………                      ……………
                         หุนที่ชําระไมครบมูลคา
                                                                                        ……………                      ……………
           ทุนสํารอง                                                                     ……………                      ……………
           ทุนสะสมตามขอบังคับ ระเบียบและอื่นๆ                            19             ……………                      ……………
           กําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้น                   20             ……………                      ……………
           สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย                                              ……………                      ……………
           (ขาดทุนสะสม)                                                                  ……………                      ……………
           กําไร (ขาดทุน) สุทธิประจําป                                                  ……………                      ……………
                       รวมทุนของสหกรณ                                                   ……………                      ……………
                      รวมหนี้สินและทุนของสหกรณ                                          ……………                      ……………
หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึงของงบการเงินนี้
                                  ่
                                                             (ลงชื่อ) ..........................................
                                                                     (..........................................)
                                                                             ประธานกรรมการ
                                                             (ลงชื่อ) ..........................................
                                                                     (..........................................)
                                                                                  เลขานุการ
                                                                     วันที่...................................
3
                             คําอธิบายประกอบการจัดทํางบการเงิน
                                      คําอธิบายรายการในงบดุล

       การแสดงรายการในงบดุลของสหกรณประเภทการเกษตร นิคม ประมง รานคา บริการ และเครดิตยูเนี่ยน
ใหแสดงตามรูปแบบที่กําหนดขางตน โดยตองแสดงใหถูกตองตามประเภทและขอบเขตความหมาย ดังนี้
           สวนหัวของงบดุล      ณ วันที่.........................และ......................ใหใช ณ วันสิ้นปทางบัญชี
ปปจจุบนและปทางบัญชีปกอน เชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 2548 เปนตน
        ั                

   สินทรัพย หมายถึง สิ่งที่มีตัวตนหรือไมมีตัวตนที่อยูในความควบคุมของสหกรณ ซึ่งเปนผลของ
เหตุการณในอดีตที่อาจไดมาจากการซื้อหรือสรางขึ้นเอง เชาซื้อ รับบริจาค โดยสหกรณจะไดรับประโยชน
เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากกระแสเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดทั้งทางตรงและทางออม รวมทั้งตอง
สามารถวัดมูลคาไดอยางนาเชื่อถือ
                สินทรัพย ประกอบดวย
                   1. สินทรัพยหมุนเวียน
                   2. สินทรัพยไมหมุนเวียน
1. สินทรัพยหมุนเวียน หมายถึง เงินสดหรือสินทรัพยที่สหกรณถือไวเพื่อขายหรือนํามาใชในการ
ดําเนินงานตามปกติ และสหกรณคาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยนั้นภายใน 12 เดือนนับจากวันที่
ในงบดุล ทั้งนี้ ถารอบระยะเวลาการดําเนินงานตามปกติของสหกรณสั้นกวา 1 ป ใหถือระยะเวลา 1 ป เปนเกณฑ
ในการพิจารณาจัดประเภทของสินทรัพยหมุนเวียน
        1.1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
                เงินสด หมายถึง ธนบัตรและเหรียญกษาปณที่สหกรณมีอยู รวมทั้งเช็คที่ยังไมไดนาฝาก  ํ
เช็คเดินทาง ดราฟทของธนาคาร ตั๋วแลกเงินไปรษณีย และธนาณัติ ทั้งนี้ ไมรวมดวงตราไปรษณีย
อากรแสตมป เช็คลงวันที่ลวงหนา ใบยืมและเอกสารทางการเงิน ไดแก ตั๋วเงิน พันธบัตรรัฐบาล ใบหุนกู
                              
ใบหุนทุน ฯลฯ
                เงินฝากธนาคาร หมายถึง เงินฝากธนาคารทุกประเภท เงินฝากธนาคารออมสินเพื่อการ
โอนรับจาย (เงิน อ.ร.จ.) รวมทั้งบัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารและสถาบันการเงิน
                อนึ่ง กรณีมีเงินสดขาดบัญชีใหแสดง รายการเปนเอกเทศถัดจากรายการเงินสดและเงินฝาก
ธนาคาร โดยแสดง เงินสดขาดบัญชี หักดวย คาเผื่อเงินสดขาดบัญชี ดังนี้
                เงินสดและเงินฝากธนาคาร                         ............................
                เงินสดขาดบัญชี                                      50,000.00
                                                               ............................
                หัก คาเผื่อเงินสดขาดบัญชี                          50,000.00
                                                               ............................
                                                                              0.00
                                                               ............................
4
           1.2 เงินฝากสหกรณอื่น หมายถึง เงินที่สหกรณฝากไวที่ชุมนุมสหกรณและสหกรณอ่น          ื
                 หากมีเงินฝากชุมนุมสหกรณเพียงแหงเดียว ใหระบุชื่อรายการเปน “เงินฝากชุมนุมสหกรณ”
แทนชื่อรายการ “เงินฝากสหกรณอื่น”
           1.3 เงินสงชําระหนี้ระหวางทาง หมายถึง เงินที่สหกรณสงชําระหนี้ แตยังไมอาจจําแนกเงินที่สงนั้น
ไดวาเปนสวนที่ชําระดอกเบีย และสวนที่ชาระตนเงินเปนจํานวนเทาใด หรือยังไมไดรับหลักฐานการชําระหนี้
                               ้           ํ
           1.4 เงินลงทุน หมายถึง หลักทรัพยที่สหกรณถอไวโดยมีวัตถุประสงคที่จะไดรบประโยชนในรูป
                                                            ื                             ั
ของรายไดหรือผลตอบแทนอื่น เชน หุนชุมนุมสหกรณ หุนของธนาคารที่มีวัตถุประสงคเพื่อใหความ
ชวยเหลือทางการเงินแกสหกรณ หุนบริษัทสหประกันชีวิต พันธบัตรรัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ ตั๋วสัญญาใชเงิน
ของชุมนุมสหกรณ กองทุนวายุภักษหนึ่ง ตราสารแสดงสิทธิในหนี้ที่ธนาคารเปนผูออกให เปนตน
                 เงินลงทุนระยะสั้น หมายถึง หลักทรัพยที่สหกรณตั้งใจถือไวไมเกิน 1 ป โดยจะขายเมื่อมี
ความตองการเงินสด รวมทั้งสวนของเงินลงทุนระยะยาวทีจะครบกําหนดไถถอนภายในรอบหนึ่งปบญชีถัดไป
                                                          ่                                        ั
                 การจัดประเภทของเงินลงทุนและการตีราคา ณ วันสิ้นปทางบัญชี
                 1.4.1 เงินลงทุนที่อยูในความตองการของตลาด หมายถึง หลักทรัพยหรือเงินลงทุนที่มีการ
ซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตลาดหลักทรัพยอื่นที่ทําการเผยแพรราคาตอสาธารณชน
เชน หุนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย หุนของธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงิน ตราสาร
แสดงสิทธิในหนี้ที่มีการซื้อขายกันผานธนาคารซึ่งมีการเผยแพรราคาตอสาธารณชน เปนตน ใหตีราคาตาม
มูลคายุตธรรม เงินลงทุนดังกลาวใหแสดงมูลคาสุทธิหลังหักคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน
           ิ
                 1.4.2 เงินลงทุนที่ไมอยูในความตองการของตลาด หมายถึง หลักทรัพยหรือเงินลงทุน
ที่ไมมีการซื้อ–ขายกันในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือตลาดหลักทรัพยอื่นที่ทาการเผยแพรราคา
                                                                                        ํ
ตอสาธารณชน เชน หุนชุมนุมสหกรณ ตัวสัญญาใชเงินของชุมนุมสหกรณ เปนตน ใหตีราคาตามราคาทุน
                                         ๋
           1.5 เงินใหกยืมระยะสั้น – สุทธิ หมายถึง เงินใหสหกรณอื่นและใหสมาชิกกูยืมทุกประเภท โดยมี
                           ู
สัญญาการกูยมเปนหลักฐาน ซึ่งยังคงคางชําระตอสหกรณ หักคาเผือหนี้สงสัยจะสูญ (สวนที่กันไวสําหรับ
               ื                                                     ่
ลูกหนี้ท่คาดวาจะเรียกเก็บไมได) และคาเผื่อหนี้คลาดเคลื่อน (สวนที่ตั้งไวสําหรับลูกหนี้ที่พบวาบัญชียอย
         ี
มียอดรวมสูงกวาบัญชีคุมยอด)
           1.6 ลูกหนี้ระยะสั้น – สุทธิ หมายถึง สิทธิเรียกรองจากบุคคลอื่น ไมวาจะเปนในรูปเงินสด
                                                                                      
สินคาหรือบริการที่มกาหนดระยะเวลาชําระคืนภายในหนึ่งรอบปบัญชีถัดไป และลูกหนี้ที่ถึงกําหนดชําระแลว
                       ี ํ
แตยังไมไดรับชําระคืน รวมกันทุกประเภทหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และคาเผื่อหนี้คลาดเคลื่อน ทั้งนี้
ลูกหนี้ระยะสั้น - สุทธิ ประกอบดวย ลูกหนี้ประเภทตาง ๆ ไดแก
                       ตั๋วเงินรับ หมายถึง ตั๋วเงินรับชําระคาสินคาและบริการ อันเกิดจากการที่สหกรณ
ขายสินคาหรือบริการและไดรับตั๋วเงินรับเปนการชําระหนี้จากลูกหนี้
                      ลูกหนี้การคา หมายถึง เงินที่คางชําระคาสินคาที่สหกรณไดขายไปตามปกติ
                      ลูกหนี้ขายผานบัญชี หมายถึง เงินที่สมาชิกคางชําระคาสินคาที่สหกรณเปนคนกลาง
ในการขายตามวิธีการขายผานบัญชี
5
                      ลูกหนี้จากการขายผอนชําระ หมายถึง เงินที่สมาชิกคางชําระคาสินคาที่สหกรณไดขายไป
ตามวิธีการขายผอนชําระ ซึงการแสดงรายการลูกหนี้ประเภทนี้จะยังไมมการตั้งคาเผือหนี้สงสัยจะสูญ แตจะ
                                   ่                                         ี           ่
ตองหักดอกผลจากการขายผอนชําระรอตัดบัญชีดวย
                       ลูกหนี้คาบริการ หมายถึง เงินทีสมาชิกคางชําระคาบริการที่สหกรณไดใหบริการไปแลว
                                                          ่
                       ลูกหนี้อื่นๆ หมายถึง ลูกหนี้ทไมอาจจัดอยูในประเภทของลูกหนีดังกลาวขางตนได เชน
                                                        ี่                                  ้
เงินยืมทดรองที่กรรมการและเจาหนาที่ยืมไปจากสหกรณ รวมทั้งหนี้สนที่กรรมการและเจาหนาที่มตอสหกรณ
                                                                       ิ                                 ี 
ไมวาในลักษณะใดก็ตาม เชน ลูกหนี้เงินสดขาดบัญชี ลูกหนี้สินคาขาดบัญชี (ที่มีการทําหนังสือรับรอง
จํานวนเงินสดและหนังสือรับรองจํานวนสินคาขาดบัญชี) ลูกหนี้คลาดเคลื่อน (ผลตางระหวางยอดรวมของ
บัญชียอยที่ต่ํากวาบัญชีคุมยอดลูกหนี้) ลูกหนี้ระหวางดําเนินคดี (ลูกหนี้ที่สหกรณไดยื่นฟองตอศาล และ
       
ศาลไดมคําสั่งประทับรับฟองแลว) ลูกหนี้ตามคําพิพากษา (ลูกหนีที่สหกรณไดดาเนินคดี และศาลไดมี
          ี                                                                ้               ํ
คําพิพากษาหรือมีสัญญาประนีประนอมยอมความใหชดใชเงินแกสหกรณแลว) เปนตน
            ขอสังเกตเกี่ยวกับการแสดงรายการลูกหนี้
                 ลูกหนี้ที่มียอดคงเหลือดานเครดิต (เกิดจากการชําระหนี้เกิน) ใหนาไปแสดงรายการในํ
หนี้สินหมุนเวียนอื่น
                 กรณีที่ลูกหนี้มรายการเดียวและไมมีคาเผือหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้คลาดเคลื่อน การแสดงรายการ
                                       ี                ่
ใหระบุประเภทลูกหนี้ใหชัดเจน โดยตัดคําวา “สุทธิ” ออก และไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน
                 กรณีลูกหนี้ทกประเภทมีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจํานวน ใหแสดงรายการลูกหนี้แตละ
                                 ุ
ประเภทใหชดเจน พรอมกับแสดงรายการหักคาเผื่อหนีสงสัยจะสูญดวย ตามตัวอยางดังนี้
               ั                                             ้
                                เงินลงทุนระยะสั้น                               ........................
                                ลูกหนี้การคา                                              3,000.00
                                ลูกหนี้เงินสดขาดบัญชี                                   10,000.00
                                ลูกหนี้สินคาขาดบัญชี                                      7,000.00
                                         รวม                                            20,000.00
                                หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ                              20,000.00
                                                                                                 0.00
                  ทั้งนี้ ไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน
                              
                 กรณีปปจจุบันตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้ทุกประเภทเต็มจํานวน แตปกอนตั้งไว
ไมเต็มจํานวน การแสดงรายการใหถือปปจจุบันเปนเกณฑ โดยระบุลูกหนีแตละประเภทใหชัดเจน พรอมกับแสดง
                                                                         ้
รายการหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดวย ตามตัวอยางดังนี้
6
                                                              ปปจจุบน
                                                                   ั                              ปกอน
                          เงินลงทุนระยะสั้น            .....................               ....................
                          ลูกหนี้การคา                       3,000.00                           3,000.00
                          ลูกหนี้เงินสดขาดบัญชี            10,000.00                          10,000.00
                          ลูกหนี้สินคาขาดบัญชี               7,000.00                           7,000.00
                                    รวม                    20,000.00                          20,000.00
                          หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ       20,000.00                          18,000.00
                                                                     0.00                       2,000.00
               ทั้งนี้ ไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน
                  กรณีปปจจุบนตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้ทุกประเภทไมเต็มจํานวน แตปกอน
                              ั
ตั้งไวเต็มจํานวน การแสดงรายการใหถอปปจจุบนเปนเกณฑ โดยแสดงตามรูปแบบปกติ ดังนี้
                                        ื          ั
                                                                        ปปจจุบัน           ปกอน
                         ......................................... ....................   .................
                         เงินลงทุนระยะสั้น                         ....................   .................
                         ลูกหนี้ระยะสั้น – สุทธิ                   ....................   .................
                         ......................................... ....................   .................
        1.7 ดอกเบี้ยเงินใหกูคางรับ – สุทธิ หมายถึง ดอกเบี้ยจากเงินใหสมาชิกหรือสหกรณอื่นกู
ทุกประเภททีลูกหนี้คางชําระตอสหกรณ หักคาเผื่อหนีสงสัยจะสูญ
            ่                                           ้
               กรณีไมมีคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญใหตดคําวา “สุทธิ” ออก และไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบ
                                                    ั
งบการเงิน
        1.8 สินคาคงเหลือ หมายถึง สินทรัพยที่มีไวเพื่อขายตามลักษณะการประกอบธุรกิจโดยปกติ
กรณีเปนสหกรณที่มีการดําเนินงานดานแปรรูป สินคาคงเหลือใหรวมถึงสินคาที่อยูระหวางกระบวนการผลิต
และวัตถุดิบที่มีไวเพื่อการผลิต ทั้งนี้ สินคาคงเหลือไมรวมถึงสินคาที่รับฝากขาย วัสดุที่มีไวใชในโรงงาน
และในสํานักงาน สินคาที่ลงบัญชีขายแลวแตผูซื้อยังไมไดรับสินคา ตลอดจนสินคาที่สั่งซื้อและผูขายสง
สินคามาใหแลวแตยังไมไดลงบัญชีซื้อในงวดนั้น สําหรับสินคาที่สั่งซือและลงบัญชีซื้อแลวแตไดรบสินคานัน
                                                                      ้                          ั       ้
ยังไมครบ ใหถือจํานวนทีไมครบนั้นเปนสินคาคงเหลือดวย
                           ่
              สินคาคงเหลือขางตนจะเปนสินคาทีมีสภาพปกติ บวกดวย สินคาเสื่อมชํารุด โดยยอดสินคา
                                                  ่
คงเหลือจะเทากับสินคาคงเหลือที่ตรวจนับไดจริง ณ วันสิ้นปทางบัญชี ซึ่งมีทั้งสภาพปกติและเสือมชํารุด
                                                                                               ่
              อนึ่ง กรณีที่สหกรณมีสินคาขาดบัญชี(สินคาขาดบัญชีที่ยังไมมีผรับผิดชอบหรืออยูระหวางการ
                                                                            ู
พิจารณาหาผูรับผิดชอบ) ใหแสดงรายการในงบดุลเปนรายการตอจาก “สินคาคงเหลือ” โดยใหแสดง
รายการ หักดวย คาเผื่อสินคาขาดบัญชี (สวนที่ตั้งไวสาหรับสินคาขาดหายที่ยังไมมีผูรับผิดชอบ) ดังนี้
                                                      ํ
7
                                                             ปปจจุบัน
                                                                                        ปกอน
                ดอกเบี้ยเงินใหกูคางรับ – สุทธิ         ....................     ....................
                สินคาคงเหลือ                             ....................     ....................
                สินคาขาดบัญชี                            ....................     ....................
                หัก คาเผื่อสินคาขาดบัญชี                ....................     ....................
                                                          ....................     ....................
                  สินทรัพยหมุนเวียนอื่น                  ....................     ....................
          1.9 สินทรัพยหมุนเวียนอื่น หมายถึง
              1.9.1 วัสดุคงเหลือ หมายถึง ของสวนนอยที่ใชในการทําหรือผลิตสินคาสําเร็จรูป อาจเปน
สวนผสมหรือสวนประกอบหรือไมกได เชน กระสอบ หินขัด น้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันหลอลื่น เชือก ฯลฯ
                                     ็
รวมทั้งของที่ซื้อหรือไดมาเพือใชในการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ ซึ่งจะใชหมดไปในระยะเวลาสั้น
                             ่
เชน เครื่องเขียนแบบพิมพ วัสดุสํานักงาน เปนตน
              1.9.2 คาใชจายลวงหนา เชน คาเชาจายลวงหนา คาเบียประกันภัยจายลวงหนา เปนตน
                                                                    ้
              1.9.3 รายไดคางรับ เชน คาปรับคางรับ (ใหแสดงจํานวนสุทธิหลังจากหักคาเผื่อหนีสงสัยจะสูญ)
                                                                                              ้
คาเชาคางรับ คานายหนาคางรับ เปนตน
              1.9.4 เงินชําระหนี้เกินรอเรียกคืน หรือเจาหนี้ยอดเดบิต
              1.9.5 เงินปนผลและเงินเฉลี่ยคืนคลาดเคลื่อน
              1.9.6 ทรัพยสินรอการขาย หมายถึง ทรัพยสินที่ตกเปนของสหกรณ เนื่องจากการชําระหนี้
หรือเนื่องจากการที่สหกรณไดซื้อทรัพยสนที่จํานองไวกบสหกรณจากการขายทอดตลาด โดยคําสั่งของศาล
                                         ิ             ั
หรือเจาพนักงานพิทักษทรัพย
              1.9.7 สินทรัพยหมุนเวียนอื่นที่ไมอาจแสดงไวในรายการที่ 1.1 ถึง 1.8 ได
              อนึ่ง สําหรับเงินทดรองจายดําเนินคดี กรณีท่ีทราบแนชัดวาการดําเนินคดีสิ้นสุดในหนึ่งรอบ
ปบัญชีถัดไป ใหแสดงรายการเงินทดรองจายดําเนินคดีเฉพาะสวนที่คดีกาลังจะสิ้นสุดนั้นไวเปนสินทรัพย
                                                                       ํ
หมุนเวียนอื่น
              สําหรับกรณีที่สหกรณจดทะเบียนเขาสูระบบภาษีมลคาเพิ่ม หากในวันสินป บัญชีภาษีมูลคาเพิ่ม
                                                            ู                  ้
มียอดคงเหลือยกไปทางดาน “เดบิต” ใหแสดงรายการภาษีมูลคาเพิ่มดังกลาวภายใตรายการสินทรัพย
หมุนเวียนอื่น
             ในกรณีที่สนทรัพยหมุนเวียนอื่นใดมีจานวนเงินตั้งแตรอยละ 5 ของยอดรวมสินทรัพยหมุนเวียน
                        ิ                       ํ               
ทั้งสิ้น ใหแสดงรายการสินทรัพยหมุนเวียนนั้น ๆ ไวแตละประเภทเปนเอกเทศ โดยระบุชื่อใหชัดเจนและ
เรียงลําดับกอนรายการ ”สินทรัพยหมุนเวียนอื่น” ตามตัวอยางดังนี้
8
                      ........................................        ........................
                        สินคาคงเหลือ                                       100,000.00
                        คาเบี้ยประกันจายลวงหนา                              2,000.00
                        สินทรัพยหมุนเวียนอื่น                                     500.00
                                    รวมสินทรัพยหมุนเวียน                   300,000.00
              กรณีรายการรอยละ 5 ของสินทรัพยหมุนเวียนอื่นในปปจจุบนและปกอนไมเทากัน ใหยึดถือ
                                                                    ั
ปปจจุบนเปนหลักในการแสดงรายการ
        ั
             อนึ่ง กรณีสินทรัพยหมุนเวียนอื่นมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชอสินทรัพยหมุนเวียนอื่นนัน
                                                                        ื่                       ้
ไวแทนที่รายการ “สินทรัพยหมุนเวียนอื่น” ตามตัวอยาง ดังนี้
                        ........................................       ........................
                        สินคาคงเหลือ                                      100,000.00
                        คาเบี้ยประกันจายลวงหนา                              2,500.00
                                   รวมสินทรัพยหมุนเวียน                   300,000.00
2. สินทรัพยไมหมุนเวียน หมายถึง สินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยหมุนเวียนที่มีตัวตน รวมถึงสินทรัพย
ไมมีตัวตน สินทรัพยทางการเงิน และสินทรัพยดําเนินงานที่มีระยะยาวโดยลักษณะ ซึ่งปกตินบระยะเวลาที่
                                                                                            ั
คาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยนั้นเกินกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล
         2.1 เงินลงทุนระยะยาว หมายถึง หลักทรัพยที่สหกรณตั้งใจถือไวเปนระยะเวลานานเกินกวา
1 ป รวมทั้งเงินลงทุนที่ไมมกําหนดอายุไถถอน
                              ี
         2.2 เงินใหกยืมระยะยาว หมายถึง เงินใหสหกรณอนและใหสมาชิกกูยืมทุกประเภทที่มีกําหนด
                         ู                                         ื่
ชําระคืนเกินกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล
         2.3 ลูกหนี้ระยะยาว - สุทธิ หมายถึง ลูกหนี้ที่มีอายุการเปนหนี้หรือสิทธิในการเรียกรองยังไมครบ
กําหนดเรียกคืนในรอบปบญชีถัดไป หักดวย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
                            ั
         2.4 มูลคาพันธุสัตว – สุทธิ หมายถึง มูลคาพันธุสตวที่มิไดมีไวเพื่อขายโดยตรงแตมไวเพื่อใช
                                                                       ั                        ี
ทําพันธุหรือใหผลผลิต ซึ่งมีอายุการใชประโยชนเกินกวา 1 ป หักดวย คาเสื่อมพันธุสะสม
                 ทั้งนี้ หากมูลคาพันธุสัตวที่มีอายุการใชประโยชนนอยกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล
ใหนาไปแสดงไวในสินทรัพยหมุนเวียนอืน ๆ โดยแสดงดวยยอดมูลคาพันธุสตว หักดวย คาเสื่อมพันธุสะสม
     ํ                                    ่                                   ั
เชน ไกพนธุไข เปนตน
          ั
         2.5 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ หมายถึง สินทรัพยที่มีตัวตนที่สหกรณมีไวเพื่อใช
ประโยชนในการผลิตเพื่อใชในการจําหนายสินคาหรือใหบริการ เพื่อใหเชาหรือเพื่อใชในการบริหารงาน
ซึ่งคาดวาจะใชประโยชนมากกวาหนึ่งรอบปบัญชี รวมถึงสิ่งที่มีไวเพื่อใชในการบํารุงรักษาหรือซอมแซม
สินทรัพยดังกลาว ทั้งนี้ ตองเปนสินทรัพยที่มิไดมีไวเพื่อขาย ซึ่งอาจจําแนกเปน
9
                2.5.1 สินทรัพยที่ไมตองหักคาเสื่อมราคา ไดแก ที่ดิน
                                       
                2.5.2 สินทรัพยที่ตองหักคาเสื่อมราคา ไดแก อาคาร สิ่งปลูกสราง เครื่องจักรและอุปกรณ
ยานพาหนะ เครื่องใชสํานักงาน (รวมเครืองคอมพิวเตอรและอุปกรณ) ฯลฯ การแสดงรายการใหแสดงดวย
                                          ่
ยอดสุทธิหลังจากหักคาเสื่อมราคาสะสมแลว
                อนึ่ง กรณีสหกรณมีที่ดิน อาคารและอุปกรณมีเพียงรายการเดียวใหระบุชื่อไวแทนที่รายการ
“ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ” หากสหกรณใชวิธีบันทึกคาเสื่อมราคาหักจากยอดสินทรัพยโดยตรง
ใหแสดงรายการดวยยอดคงเหลือตามบัญชี โดยไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน แตถา
สหกรณบันทึกคาเสื่อมราคาไวในบัญชีคาเสื่อมราคาสะสม ใหแสดงรายการดวยยอดสุทธิหลังจากหัก
คาเสื่อมราคาสะสม และตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน
           2.6 สินทรัพยไมมีตัวตน หมายถึง สินทรัพยประเภทที่ไมอาจแลเห็นและจับตองไมได มีลักษณะ
เปนสิทธิตาง ๆ ตามที่กฎหมายกําหนด การแสดงรายการใหแสดงดวยยอดสุทธิหลังจากหักคาตัดจาย
ซึ่งไดแก
                2.6.1 สิทธิการเชา หมายถึง สิทธิที่ผูเชาไดรับเหนืออสังหาริมทรัพยที่เชาจากเจาของ
สินทรัพยโดยตรง โดยผูเชาจะตองจายเงินคาเชาสิทธิดวยเงินจํานวนมาก ทั้งนี้ สิทธิการเชาสวนใหญจะเปน
                                                        
การเชาในระยะยาว
                2.6.2 สิทธิการใชประโยชนในที่ดิน อาคาร อุปกรณและอื่น ๆ หมายถึง สิทธิที่สหกรณ
ไดใชประโยชนในทีดิน อาคาร อุปกรณและอื่น ๆ โดยไมไดเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในสินทรัพยนั้น ทั้งนี้
                     ่
สหกรณจะตองจายเงินเพื่อใหไดสิทธิในการใชประโยชนดังกลาว
                2.6.3 สิทธิบตร เปนสิทธิตามกฎหมายซึ่งรัฐบาลมอบใหแกบคคลหนึ่งบุคคลใดในการผลิต
                               ั                                            ุ
จําหนาย หรือไดรับผลประโยชนจากสิ่งประดิษฐขึ้นใหม ในกรณีที่สหกรณซื้อสิทธิบตรจากผูอื่น ใหบันทึกบัญชี
                                                                                ั
ดวยราคาที่จายซื้อ และในกรณีที่สหกรณจดทะเบียนสิ่งประดิษฐของตนเอง คาใชจายทั้งสิ้นทีเสียไปในการ
                                                                                                ่
ไดสิทธิบตร ไดแก คาใชจายในการทดลอง คนควา คาจดทะเบียน ฯลฯ ถือเปนราคาทุนของสิทธิบัตร
           ั
                2.6.4 สัมปทาน เปนสัญญาที่รัฐบาลตกลงใหสิทธิในการดําเนินงานอันเกี่ยวกับสินทรัพย
ของรัฐบาล โดยราคาทุนของสัมปทานก็คือคาใชจายในการขอสัมปทาน
                                                   
                2.6.5 สิทธิในการใชซอฟทแวรตาง ๆ หมายถึง สิทธิในการขอใชซอฟทแวรที่ผูอื่นเปน
เจาของลิขสิทธิ์
                ใหเปดเผยเกี่ยวกับการไดมาซึ่งสิทธิในการใชและอายุการใชประโยชนไวในหมายเหตุประกอบ
งบการเงิน
                อนึ่ง กรณีสินทรัพยไมมีตัวตนมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชื่อสินทรัพยไมมีตัวตนนั้นไวแทนที่
รายการ “สินทรัพยไมมีตัวตน” ตามตัวอยางดังนี้
                           ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ                  .....................
                           สิทธิการใชประโยชนในอาคาร                               50,000
                           สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น                       ....................
                                            รวมสินทรัพย                            80,000
10
         2.7 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หมายถึง สินทรัพยไมหมุนเวียนนอกเหนือจากรายการ 2.1 ถึง
2.6 ประกอบดวยรายการตอไปนี้
                   2.7.1 คาใชจายรอตัดบัญชี ซึ่งไดแก คาใชจายหรือตนทุนที่เกิดขึ้นแลวและกอใหเกิด
ประโยชนแกสหกรณเปนระยะเวลานานเกินกวา 1 งวดบัญชี เชน คาปรับปรุง คาตกแตงหรือคาซอมแซม
สินทรัพยที่ใชเงินจํานวนมากและทําใหสนทรัพยนั้นคงสภาพดีดังเดิม ทั้งนี้ คาใชจายรอตัดบัญชีไมใหรวมถึง
                                          ิ
ผลเสียหายหรือผลขาดทุนที่เกิดขึ้นแลวเปนจํานวนมากที่ประสงคจะตัดบัญชีเปนคาใชจายในระยะเวลา
นานกวา 1 งวดบัญชี
                            การแสดงรายการคาใชจายรอตัดบัญชี ใหแสดงดวยยอดคงเหลือหลังจากปรับปรุง
บัญชีตดจายบางสวนเปนคาใชจายประจําปแลว
       ั
                   2.7.2 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เชน ที่ดินที่มิไดใชในการดําเนินงานในปปจจุบันและไมมี
                                                                                                 
จุดประสงคทจะรอจําหนาย ที่ดินที่ถือไวเพื่อขยายงาน เงินมัดจํา เงินประกัน เงินทดรองจายดําเนินคดี
              ี่
ในสวนที่ระยะเวลาดําเนินคดีเกินกวา 1 ป เปนตน
                   ในกรณีท่ีสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นรายการใดมีจานวนเงินตั้งแตรอยละ 5 ของยอดรวม
                                                                   ํ
สินทรัพยท้ังสิ้น ใหแสดงสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นนั้นแตละประเภทเปนเอกเทศ โดยระบุชื่อและเรียงลําดับ
ไวกอนรายการ “สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น” ตามตัวอยาง ดังนี้
    
                     ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ                       ......................
                     สินทรัพยไมมีตวตน
                                    ั                                     ......................
                     เงินประกัน                                                        5,000
                     สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น                            ......................
                                      รวมสินทรัพย                                   80,000
                   กรณีรายการรอยละ 5 ของสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นในปปจจุบันและปกอนไมเทากัน
ใหถือตามปปจจุบันเปนเกณฑในการแสดงรายการ
                 
                   อนึ่ง กรณีสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชื่อสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น
ประเภทนั้นไวแทนที่รายการ “สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น” ตามตัวอยาง ดังนี้
                  ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ                     .......................
                  สินทรัพยไมมีตัวตน                                .......................
                  เงินประกัน                                                      1,000
                                   รวมสินทรัพย                                 80,000
              ทั้งนี้ ไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน
11

   หนี้สนและทุนของสหกรณ
        ิ


  หนี้สน หมายถึง ภาระผูกพันในปจจุบันของสหกรณ ซึ่งเปนผลของรายการและเหตุการณทางบัญชี
       ิ
ในอดีต อาจเกิดจากการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ หรือจากประเพณีการคา ซึ่งสหกรณจะตองชําระ
ภาระผูกพันดวยสินทรัพยหรือบริการ เชน การจายเงินสด การโอนสินทรัพย การใหบริการ และมูลคาของ
ภาระผูกพันทีตองชําระนั้นสามารถวัดไดอยางนาเชื่อถือ
            ่
1. หนี้สินหมุนเวียน หมายถึง หนี้สินซึงมีระยะเวลาการชําระคืนภายใน 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล
                                          ่
หรือภายในวัฏจักรการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ ซึ่งคาดวาจะตองจายชําระดวยสินทรัพยหมุนเวียน
หรือดวยการกอหนี้สินระยะสั้นอื่นแทน หนี้สินบางชนิดควรจัดประเภทไวเปนหนี้สินหมุนเวียน แมวาจะ
ครบกําหนดเกินกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุลก็ตาม เชน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจายตางๆ
เนื่องจากถือเปนสวนหนึ่งของเงินทุนหมุนเวียนที่ใชในรอบระยะเวลาการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ
         1.1 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้น
                                                    
               1.1.1 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร หมายถึง จํานวนเงินซึ่งสหกรณเปนหนีธนาคารอันเกิดจาก
                                                                                       ้
การสั่งจายเงินเกินกวาจํานวนที่ฝากไว โดยมีการทําสัญญาเงินเบิกเกินบัญชีกบธนาคารไวเปนหลักฐาน
                                                                           ั
               1.1.2 เงินกูยมระยะสั้น หมายถึง หนี้สินระยะสั้นที่เกิดจากการกูยืม โดยมีการทําสัญญากูยม
                              ื                                                                         ื
ไวเปนหลักฐาน
               ทั้งนี้ ใหแสดงรายการ 1.1.1 และ 1.1.2 รวมไวเปนรายการเดียวกัน
         1.2 เจาหนี้การคา หมายถึง ภาระผูกพันที่จะตองชําระคาสินคาหรือคาบริการที่สหกรณไดรับตามปกติ
         1.3 สวนของหนี้สินไมหมุนเวียนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หมายถึง สวนของหนี้สิน
ไมหมุนเวียนที่ถึงกําหนดชําระคืนในรอบหนึ่งปบัญชีถดไป รวมทั้งสวนของหนี้สินไมหมุนเวียนที่พนกําหนด
                                                        ั
การชําระแลว แตยงไมมีการชําระ
                     ั
         1.4 เงินรับฝาก หมายถึง เงินที่สหกรณรับฝากไวจากสมาชิก และ/หรือสหกรณอื่นทั้งประเภท
ออมทรัพย ประจํา และเงินรับฝากประเภทอื่น
         1.5 คาบํารุงสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยคางจาย หมายถึง เงินที่สหกรณจัดสรรจาก
กําไรสุทธิประจําป เพื่อจายเปนคาบํารุงใหกับสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยตามที่กฎหมายกําหนด
แตสหกรณยังไมไดชําระใหแกสันนิบาตสหกรณฯ
         1.6 หนีสินหมุนเวียนอื่น หมายถึง คาใชจายคางจาย รายไดรับลวงหนา เงินยืมทดรอง เงินปนผล/
                   ้                                  
เฉลี่ยคืนคางจาย เงินรอจายคืนหรือลูกหนี้ยอดเครดิต และหนี้สินหมุนเวียนอื่นที่ไมอาจแสดงรวมอยูใน
รายการที่ 1.1 ถึง 1.5 ได
               สําหรับกรณีที่สหกรณจดทะเบียนเขาสูระบบภาษีมูลคาเพิ่ม หากในวันสิ้นป บัญชีภาษีมูลคาเพิ่ม
                                                  
มียอดคงเหลือยกไปทางดาน “เครดิต” ใหแสดงรายการภาษีมูลคาเพิ่มดังกลาวภายใตรายการหนี้สิน
หมุนเวียนอื่น
12

                   ในกรณีทหนี้สินหมุนเวียนอื่นใดมีจํานวนเงินตั้งแตรอยละ 5 ของยอดรวมหนี้สินหมุนเวียนทั้งสิ้น
                          ี่
ใหแสดงหนี้สนหมุนเวียนอืนนั้นไวแตละประเภทเปนเอกเทศ โดยระบุชื่อและเรียงลําดับไวกอนรายการ
                 ิ             ่                                                                  
หนี้สินหมุนเวียนอืน ซึ่งแสดงรายการในทํานองเดียวกับตัวอยางทีใหไวในรายการ “สินทรัพยหมุนเวียนอื่น”
                      ่                                                 ่
ถารายการรอยละ 5 ของหนี้สินหมุนเวียนอื่นในปปจจุบันและปกอนไมเทากัน ใหยึดถือปปจจุบนเปนหลัก ั
ในการแสดงรายการ นอกจากนี้ กรณีหนี้สนหมุนเวียนอืนมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชื่อหนี้สนหมุนเวียนอื่น
                                                 ิ            ่                                ิ
นั้นไวแทนที่รายการ “หนี้สินหมุนเวียนอื่น” โดยแสดงรายการในทํานองเดียวกับตัวอยางที่ใหไวในรายการ
“สินทรัพยหมุนเวียนอื่น” เชนเดียวกัน
2. หนีสนไมหมุนเวียน หมายถึง หนี้สนซึ่งมีระยะเวลาการชําระคืนเกินกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล
        ้ ิ                                    ิ
หรือเกินกวารอบระยะเวลาการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ ไดแก เจาหนี้คาเชาซื้อทรัพยสิน เงินกูยืม
                                                                                      
ระยะยาว ฯลฯ
          2.1 เงินกูยืมระยะยาว หมายถึง หนี้สินระยะยาวที่เกิดจากการกูยม โดยมีการทําสัญญากูยืมไว
                                                                                    ื
เปนหลักฐาน หักดวยสวนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป (ซึ่งไดแยกไปแสดงไวใน 1.3 แลว)
          2.2 เจาหนี้คาเชาซื้อสินทรัพย หมายถึง ภาระผูกพันที่สหกรณตองชําระคาสินทรัพยโดยการ
ผอนชําระเปนงวดๆ
          2.3 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น หมายถึง หนี้สินที่ไมอาจแสดงไวในรายการหนี้สินหมุนเวียนได
ไดแก รายไดรอการตัดบัญชี ภาษีขายจากการเชาซื้อรอการตัดบัญชี (ถามี) สํารองบําเหน็จเจาหนาที่
เงินประกันความเสียหายเจาหนาที่ เงินประกันการกอสราง เงินรับบริจาคที่มีวัตถุประสงคเพื่อการใด
การหนึ่งโดยเฉพาะ เงินทุนหรือกองทุนตาง ๆ ที่เกิดจากการตัดเปนคาใชจายประจําป ฯลฯ
                    ในกรณีที่หนี้สินไมหมุนเวียนอื่นรายการใดมีจํานวนเงินตั้งแตรอยละ 5 ของยอดรวมหนี้สินทั้งสิ้น
ใหแสดงหนี้สนไมหมุนเวียนอื่นนันไวแตละประเภทเปนเอกเทศ โดยระบุชื่อและเรียงลําดับไวกอนรายการ
               ิ                       ้
หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น ซึ่งแสดงรายการในทํานองเดียวกับตัวอยางทีใหไวในรายการ “สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น”
                                                                      ่
ถารายการรอยละ 5 ของหนี้สินไมหมุนเวียนอื่นในปปจจุบันและปกอนไมเทากัน ใหยึดถือปปจจุบนเปนหลักั
ในการแสดงรายการ นอกจากนี้ กรณีหนี้สนไมหมุนเวียนอืนมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชื่อหนี้สินไมหมุนเวียนอื่น
                                             ิ              ่
นั้นไวแทนที่รายการ “หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น” โดยแสดงรายการในทํานองเดียวกับตัวอยางที่ใหไวในรายการ
“สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น” เชนเดียวกัน
13


   ทุนของสหกรณ           หมายถึง สวนของสมาชิกผูลงทุนถือหุนในสหกรณ ประกอบดวย
1. ทุนเรือนหุน หมายถึง จํานวนเงินคาหุนที่สมาชิกไดชาระมูลคาแลว ทั้งหุนที่ชําระเต็มมูลคาและที่ยัง
                                                            ํ
ชําระไมครบมูลคา การแสดงรายการใหแยกแสดงเปน 2 รายการ คือ หุนที่ชําระเต็มมูลคา และหุนที่ชําระ
ไมครบมูลคา นอกจากนี้ กรณีที่สหกรณมีเฉพาะหุนปกติซึ่งชําระเต็มมูลคาแลวใหแสดงรายการไวเปน
รายการหุนที่ชาระเต็มมูลคาแลวและตัดรายการอื่นที่ไมมีออก
                   ํ
2. ทุนสํารอง หมายถึง สวนของทุนของสหกรณที่ไดจากการจัดสรรกําไรสุทธิประจําปที่สหกรณจัดสรร
ไวตามขอบังคับ รวมทั้งไดจากเงินอุดหนุนหรือสินทรัพยที่สหกรณไดรับบริจาคโดยมิไดมีการกําหนด
วัตถุประสงควาใหใชเพื่อการใด เงินโอนจากทุนสะสมตาง ๆ ทีไดจดสรรเพื่อจัดใหมีสินทรัพย และไดมีการ
                                                              ่ ั
จัดหาสินทรัพยแลว เงินโอนจากทุนสะสมตาง ๆ คงเหลือเมื่อสิ้นสุดวัตถุประสงคของทุนแลว ทั้งนี้ ทุนสํารอง
จะถอนจากบัญชีไดเพื่อชดเชยการขาดทุน หรือเพื่อจัดสรรเขาบัญชีทุนสํารองใหแกสหกรณใหมที่ไดจดทะเบียน
แบงแยกจากสหกรณเดิม
       ในกรณีทสหกรณประสบผลขาดทุน ใหแสดงทุนสํารอง หักดวย ขาดทุนสุทธิ
                     ่ี
3. ทุนสะสมตามขอบังคับ ระเบียบและอื่น ๆ หมายถึง สวนทุนของสหกรณที่จัดสรรจากกําไรสุทธิ
ประจําปตามขอบังคับ เพื่อตอบแทนแกสมาชิก กรรมการและเจาหนาที่สหกรณ หรือเพื่อดําเนินการอยางใด
อยางหนึ่งตามที่กาหนดไวในขอบังคับ ระเบียบและอืน ๆ ไดแก ทุนสาธารณประโยชน ทุนศึกษาอบรมทาง
                        ํ                            ่
สหกรณ ทุนเพื่อขยายงาน ทุนเพื่อใหการสงเคราะห ทุนเพื่อสงเสริมสวัสดิการ รวมทั้งเงินทุนหรือเงินกองทุนตาง ๆ
ที่เกิดจากการตัดจายเปนคาใชจายประจําป และจากการจัดสรรจากกําไรสุทธิประจําปรวมกัน
4. กําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้น
      4.1 กําไรจากเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้น หมายถึง สวนตางระหวางราคาตามบัญชีรวม (ราคาทุนรวม)
ของเงินลงทุนที่อยูในความตองการของตลาดที่ตากวามูลคายุติธรรมรวมของเงินลงทุนนั้น ซึ่งถือเปน
                                                  ่ํ
สวนเกินทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาของเงินลงทุน โดยใหตั้งพักไวจนกวาจะจําหนายเงินลงทุนนั้นได
จึงจะรับรูสวนตางเปนรายไดในงบกําไรขาดทุน
     4.2 ขาดทุนจากเงินลงทุนที่ยงไมเกิดขึ้น หมายถึง สวนตางระหวางราคาตามบัญชีรวม (ราคาทุนรวม)
                                  ั
ของเงินลงทุนที่อยูในความตองการของตลาดทีสูงกวามูลคายุติธรรมรวมของเงินลงทุนนั้น ซึ่งถือเปนสวนต่ํากวาทุน
                                           ่
ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาของเงินลงทุน โดยใหตงพักไวจนกวาจะจําหนายเงินลงทุนนั้นได จึงจะรับรู
                                                       ั้
สวนตางเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน
          สําหรับการแสดงรายการกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้นนี้ ใหแสดงสวนตางของ
ทั้ง 2 กรณีดงกลาวขางตน โดยในกรณีที่เปนผลขาดทุนใหแสดงตัวเลขไวในวงเล็บ
               ั
5. สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย หมายถึง สวนตางระหวางราคาตามบัญชี (ราคาทุน) ของ
สินทรัพยที่ตองการตีราคาเพิ่มใหเทากับมูลคายุติธรรม (ราคาตลาด) ของสินทรัพยนั้น สวนเกินทุน
จากการตีราคาสินทรัพยเพิ่มนี้ ใหตั้งพักไวจนกวาจะจําหนายสินทรัพยนั้นได จึงโอนไปยังบัญชีทนสํารอง
                                                                                                  ุ
14

6. ขาดทุนสะสม หมายถึง ผลของขาดทุนสุทธิประจําปที่เกินกวาทุนสํารอง ซึ่งจะแสดงตัวเลขไวในวงเล็บ
7. กําไร (ขาดทุน) สุทธิประจําป
   กําไร (ขาดทุน) สุทธิ หมายถึง ผลการดําเนินงานของสหกรณในรอบปทางบัญชี ซึ่งคํานวณไดจาก
การนํารายไดเปรียบเทียบกับคาใชจายของสหกรณ หากรายไดสูงกวาคาใชจายจะเปนกําไรสุทธิ ในทางตรงกันขาม
                                 
หากคาใชจายสูงกวารายไดจะเปนขาดทุนสุทธิ ทั้งนี้ จะปรากฏเปนรายการสุดทายในงบกําไรขาดทุน โดยกรณีที่
ขาดทุนสุทธิใหแสดงตัวเลขในวงเล็บ และสหกรณสามารถถอนทุนสํารองที่มีอยูมาชดเชยผลขาดทุนสุทธิได
    กําไรสุทธิประจําป หมายถึง ยอดคงเหลือของกําไรสุทธิทนําไปหักขาดทุนสะสมแลว ซึ่งเปนผลลัพธ
                                                                ี่
จากกําไรสุทธิสูงกวาขาดทุนสะสม
งบกําไรขาดทุน

รูปแบบ

คําอธิบายรายการในงบกําไรขาดทุน
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3
Co 3

More Related Content

What's hot

หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
WeIvy View
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
Chenchira Chaengson
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา Wee Angela
 
Ch1
Ch1Ch1
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คAttaporn Ninsuwan
 
หนี้สิน
หนี้สินหนี้สิน
หนี้สินpeepai
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการple2516
 
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
องค์การบริหารส่วนตำบล ห้วยยาง
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือple2516
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ
Areeluk Ngankoh
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารple2516
 

What's hot (20)

Accout
AccoutAccout
Accout
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา การนำฝากเิงินประกันสัญญา
การนำฝากเิงินประกันสัญญา
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
 
หนี้สิน
หนี้สินหนี้สิน
หนี้สิน
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
 
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
ข้อบัญญัติ เรื่อง งบประมาณราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
 
กระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณกระบวนการงบประมาณ
กระบวนการงบประมาณ
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 
04 01-2013 16-09-13
04 01-2013 16-09-1304 01-2013 16-09-13
04 01-2013 16-09-13
 

Viewers also liked

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
Doungrat Panyawan
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
Totsaporn Inthanin
 
.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty
ntc thailand
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
Chainarong Maharak
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำNan Su'p
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
Thidarat Termphon
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
Piyarerk Bunkoson
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่มpaka10011
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
Teacher Sophonnawit
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 

Viewers also liked (18)

คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
Dd
DdDd
Dd
 
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
ชื่อ หลักสูตร สาขา และปริญญา ของสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ
 
.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty.. Up news_139c3c_computer_safty
.. Up news_139c3c_computer_safty
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
 
คค
 
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่านการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนและการอ่าน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 

Similar to Co 3

Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
ASpyda Ch
 
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552P Pattarawit
 
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556waranyuati
 
Ch3
Ch3Ch3
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2Mobile_Clinic
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้WeIvy View
 
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report522009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
Invest Ment
 
Annual Report 2009
Annual Report 2009Annual Report 2009
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
Puff Pie
 
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลหลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
wasan
 
ข้อบังคับกลาโหมว่าด้วยการเงิน
ข้อบังคับกลาโหมว่าด้วยการเงินข้อบังคับกลาโหมว่าด้วยการเงิน
ข้อบังคับกลาโหมว่าด้วยการเงินCookie Pia
 
Ch2
Ch2Ch2
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
Finanacial Management on
Finanacial Management on Finanacial Management on
Finanacial Management on
Teeraset Siratananont
 
15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt
wasan
 
Update 05 01-12
Update 05 01-12Update 05 01-12
Update 05 01-12c2s_slide
 

Similar to Co 3 (20)

Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
 
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
 
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
งบประมาณโดยสังเขป ประจำปีงบประมาณ 2556
 
Ch3
Ch3Ch3
Ch3
 
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ2
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
 
SCG Financial Presentation
SCG Financial PresentationSCG Financial Presentation
SCG Financial Presentation
 
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report522009 11 11 Pm Kwtc Report52
2009 11 11 Pm Kwtc Report52
 
Annual Report 2009
Annual Report 2009Annual Report 2009
Annual Report 2009
 
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
6. กองทุนเปิดกรุงศรีหุ้นระยะยาวอิควิตี้ 70 ปันผล (kfltfeq70 d)
 
Question ausanee toy
Question ausanee toyQuestion ausanee toy
Question ausanee toy
 
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบลหลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
หลักการบริหารงบประมาณของสถานศึกษาอุบล
 
ข้อบังคับกลาโหมว่าด้วยการเงิน
ข้อบังคับกลาโหมว่าด้วยการเงินข้อบังคับกลาโหมว่าด้วยการเงิน
ข้อบังคับกลาโหมว่าด้วยการเงิน
 
05 businessfinance v1
05 businessfinance v105 businessfinance v1
05 businessfinance v1
 
Ch2
Ch2Ch2
Ch2
 
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
Finanacial Management on
Finanacial Management on Finanacial Management on
Finanacial Management on
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt15 จุดอันตรายPpt
15 จุดอันตรายPpt
 
Update 05 01-12
Update 05 01-12Update 05 01-12
Update 05 01-12
 

Co 3

  • 1. คูมือการจัดทํางบการเงิน สหกรณประเภทการเกษตร รานคา บริการ และเครดิตยูเนี่ยน กรมตรวจบัญชีสหกรณ สํานักนโยบายและมาตรฐาน
  • 2. ที่ กษ 0406/ว.1544 กรมตรวจบัญชีสหกรณ เทเวศร กทม. 10200 2 ธันวาคม 2548 เรื่อง การจัดทํางบการเงินของสหกรณ เรียน ผูสอบบัญชี / ประธานกรรมการสหกรณ อางถึง 1. ระเบียบนายทะเบียนสหกรณ วาดวยการบัญชีของสหกรณ พ.ศ. 2542 2. หนังสือกรมตรวจบัญชีสหกรณ ที่ กษ 0406/ว.1089 ลงวันที่ 8 กันยายน 2548 ตามหนังสือที่อางถึง 1 นายทะเบียนสหกรณไดใหสหกรณจัดทํางบการเงินตามแบบที่  กรมตรวจบัญชีสหกรณกําหนด และหนังสือที่อางถึง 2 กรมตรวจบัญชีสหกรณไดกําหนดเกี่ยวกับการ จัดทํา งบการเงินของสหกรณ นั้น เพื่อใหการจัดทํางบการเงินของสหกรณแสดงขอมูลที่เปนประโยชนตอสหกรณและผูใช งบการเงินโดยทั่วไปมากยิ่งขึ้น และเปนไปอยางมีมาตรฐาน กรมตรวจบัญชีสหกรณจึงไดทําการ ปรับเปลี่ยนรูปแบบงบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน พรอมกับไดใหคําแนะนําเพื่อ ประกอบการจัดทํา ตามที่แนบทายนี้ ทั้งนี้ ใหถือปฏิบัติสําหรับงบการเงินที่มีปบัญชีสิ้นสุดตั้งแตวันที่ 31 ธันวาคม 2548 เปนตนไป อนึ่ง เฉพาะในการจัดทํางบการเงินตามรูปแบบใหมในปแรก ไมตองจัดทํางบการเงิน เปรียบเทียบกับปกอน จึงเรียนมาเพื่อทราบและถือปฏิบัติตอไป ขอแสดงความนับถือ (นางสาวสุพัตรา ธนเสนีวัฒน) อธิบดีกรมตรวจบัญชีสหกรณ สํานักนโยบายและมาตรฐาน โทร. 0 2281 1491 โทรสาร 0 2628 5769
  • 3. คํานํา งบการเงินเปนการเสนอขอมูลทางการเงินการบัญชี เพื่อแสดงฐานะการเงินและรายการ ทางบัญชีของสหกรณ งบการเงินที่จดทําขึ้น มีวตถุประสงคเพือใหขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ั ั ่ ผลการดําเนินงาน รวมทั้งขอมูลอื่นซึ่งเปดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ซึ่งจะเปนประโยชน ตอผูใชงบการเงินในการตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจ นอกจากนี้งบการเงินยังแสดงถึงผลการบริหารงาน ของคณะกรรมการสหกรณอกดวย ี คูมือการจัดทํางบการเงินของสหกรณประเภทการเกษตร รานคา บริการ และ เครดิตยูเนี่ยนเลมนี้ จัดทําขึ้นเพื่อใหสหกรณใชประกอบการจัดทํางบการเงินของสหกรณเปนไป อยางมีมาตรฐานและปฏิบตในแนวทางเดียวกัน โดยเนื้อหาสาระของคูมอนี้ เปนการนํารูปแบบ ั ิ ื งบการเงินของสหกรณ ซึ่งประกอบดวย งบดุล งบกําไรขาดทุน งบตนทุนขายและงบตนทุนการผลิต รวมทั้งหมายเหตุประกอบงบการเงินที่กรมตรวจบัญชีสหกรณไดกําหนดขึ้นใหมมาจัดทําคําอธิบาย โดยไดจดทําตัวอยาง และแสดงแนวทางในการนําเสนองบการเงิน ตลอดจนการจัดทํางบการเงิน ั ของสหกรณในกรณีท่สหกรณตกคางการตรวจสอบ กรณีสหกรณเปลี่ยนปทางบัญชี และกรณี ี สหกรณจัดตั้งใหมไวดวย กรมตรวจบัญชีสหกรณหวังเปนอยางยิ่งวา คูมือเลมนี้จะเปนประโยชนตอสหกรณ ตลอดจนบุคคลที่สนใจในเรื่องนี้ตามสมควร สํานักนโยบายและมาตรฐาน กรมตรวจบัญชีสหกรณ ธันวาคม 2548
  • 4. สารบัญ หนา คํานํา งบดุล แบบงบดุล 1 คําอธิบายรายการในงบดุล 3 งบกําไรขาดทุน แบบงบกําไรขาดทุน 15 คําอธิบายรายการในงบกําไรขาดทุน 28 งบตนทุนขาย/บริการ แบบงบตนทุนขาย/บริการ 33 คําอธิบายรายการในงบตนทุนขาย/บริการ 38 งบตนทุนการผลิต แบบงบตนทุนการผลิต 41 คําอธิบายรายการในงบตนทุนการผลิต 45 หมายเหตุประกอบงบการเงิน แบบหมายเหตุประกอบงบการเงิน 47 ตัวอยางหมายเหตุประกอบงบการเงิน 48 คําอธิบายเกี่ยวกับหมายเหตุประกอบงบการเงิน 60 ภาคผนวก การจัดทํางบการเงินกรณีสหกรณตกคางการตรวจสอบ 71 การจัดทํางบการเงินกรณีสหกรณเปลี่ยนปทางบัญชี กรณีการเปลี่ยนปทางบัญชีมีผลบังคับหลังวันสิ้นสุดปทางบัญชีใหม 73 กรณีการเปลี่ยนปทางบัญชีมีผลบังคับกอนวันสิ้นสุดปทางบัญชีใหม 77 การจัดทํางบการเงินกรณีสหกรณจัดตั้งใหม 78
  • 6. 1 สหกรณ จํากัด งบดุล ณ วันที่ และ ป 25…….. ป 25……. หมายเหตุ บาท บาท สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและเงินฝากธนาคาร 2 …………… …………… เงินฝากสหกรณอื่น …………… …………… เงินสงชําระหนี้ระหวางทาง …………… …………… เงินลงทุนระยะสั้น 3 …………… …………… เงินใหกูยืมระยะสั้น - สุทธิ 4 …………… …………… ลูกหนี้ระยะสั้น - สุทธิ 5 …………… …………… ดอกเบี้ยเงินใหกูคางรับ - สุทธิ 6 …………… …………… สินคาคงเหลือ 7 …………… …………… สินทรัพยหมุนเวียนอื่น 8 …………… …………… รวมสินทรัพยหมุนเวียน …………… …………… สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินลงทุนระยะยาว 3 …………… …………… เงินใหกยืมระยะยาว ู 4 …………… …………… ลูกหนี้ระยะยาว - สุทธิ 5 …………… …………… มูลคาพันธุสัตว - สุทธิ 9 …………… …………… ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ 10 …………… …………… สินทรัพยไมมตัวตน ี 11 …………… …………… สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น 12 …………… …………… รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน …………… …………… รวมสินทรัพย …………… ……………
  • 7. 2 ป 25…….. ป 25……. หมายเหตุ บาท บาท หนี้สินและทุนของสหกรณ หนี้สนหมุนเวียน ิ เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้น 13 …………… …………… เจาหนี้การคา …………… …………… สวนของหนี้สนไมหมุนเวียนทีถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป ิ ่ 16,17 …………… …………… เงินรับฝาก 14 …………… …………… คาบํารุงสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยคางจาย …………… …………… หนี้สินหมุนเวียนอื่น 15 …………… …………… รวมหนี้สินหมุนเวียน …………… …………… หนี้สนไมหมุนเวียน ิ เงินกูยืมระยาว 16 …………… …………… เจาหนี้คาเชาซื้อสินทรัพย 17 …………… …………… หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น 18 …………… …………… รวมหนี้สินไมหมุนเวียน …………… …………… รวมหนีสิน ้ …………… …………… ทุนของสหกรณ ทุนเรือนหุน (มูลคาหุนละ………..บาท) …………… …………… หุนที่ชําระเต็มมูลคาแลว  …………… …………… หุนที่ชําระไมครบมูลคา  …………… …………… ทุนสํารอง …………… …………… ทุนสะสมตามขอบังคับ ระเบียบและอื่นๆ 19 …………… …………… กําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้น 20 …………… …………… สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย …………… …………… (ขาดทุนสะสม) …………… …………… กําไร (ขาดทุน) สุทธิประจําป …………… …………… รวมทุนของสหกรณ …………… …………… รวมหนี้สินและทุนของสหกรณ …………… …………… หมายเหตุประกอบงบการเงินเปนสวนหนึงของงบการเงินนี้ ่ (ลงชื่อ) .......................................... (..........................................) ประธานกรรมการ (ลงชื่อ) .......................................... (..........................................) เลขานุการ วันที่...................................
  • 8. 3 คําอธิบายประกอบการจัดทํางบการเงิน คําอธิบายรายการในงบดุล การแสดงรายการในงบดุลของสหกรณประเภทการเกษตร นิคม ประมง รานคา บริการ และเครดิตยูเนี่ยน ใหแสดงตามรูปแบบที่กําหนดขางตน โดยตองแสดงใหถูกตองตามประเภทและขอบเขตความหมาย ดังนี้ สวนหัวของงบดุล ณ วันที่.........................และ......................ใหใช ณ วันสิ้นปทางบัญชี ปปจจุบนและปทางบัญชีปกอน เชน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 และ 2548 เปนตน ั  สินทรัพย หมายถึง สิ่งที่มีตัวตนหรือไมมีตัวตนที่อยูในความควบคุมของสหกรณ ซึ่งเปนผลของ เหตุการณในอดีตที่อาจไดมาจากการซื้อหรือสรางขึ้นเอง เชาซื้อ รับบริจาค โดยสหกรณจะไดรับประโยชน เชิงเศรษฐกิจในอนาคตจากกระแสเงินสดหรือรายการเทียบเทาเงินสดทั้งทางตรงและทางออม รวมทั้งตอง สามารถวัดมูลคาไดอยางนาเชื่อถือ สินทรัพย ประกอบดวย 1. สินทรัพยหมุนเวียน 2. สินทรัพยไมหมุนเวียน 1. สินทรัพยหมุนเวียน หมายถึง เงินสดหรือสินทรัพยที่สหกรณถือไวเพื่อขายหรือนํามาใชในการ ดําเนินงานตามปกติ และสหกรณคาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยนั้นภายใน 12 เดือนนับจากวันที่ ในงบดุล ทั้งนี้ ถารอบระยะเวลาการดําเนินงานตามปกติของสหกรณสั้นกวา 1 ป ใหถือระยะเวลา 1 ป เปนเกณฑ ในการพิจารณาจัดประเภทของสินทรัพยหมุนเวียน 1.1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร เงินสด หมายถึง ธนบัตรและเหรียญกษาปณที่สหกรณมีอยู รวมทั้งเช็คที่ยังไมไดนาฝาก ํ เช็คเดินทาง ดราฟทของธนาคาร ตั๋วแลกเงินไปรษณีย และธนาณัติ ทั้งนี้ ไมรวมดวงตราไปรษณีย อากรแสตมป เช็คลงวันที่ลวงหนา ใบยืมและเอกสารทางการเงิน ไดแก ตั๋วเงิน พันธบัตรรัฐบาล ใบหุนกู  ใบหุนทุน ฯลฯ เงินฝากธนาคาร หมายถึง เงินฝากธนาคารทุกประเภท เงินฝากธนาคารออมสินเพื่อการ โอนรับจาย (เงิน อ.ร.จ.) รวมทั้งบัตรเงินฝากที่ออกโดยธนาคารและสถาบันการเงิน อนึ่ง กรณีมีเงินสดขาดบัญชีใหแสดง รายการเปนเอกเทศถัดจากรายการเงินสดและเงินฝาก ธนาคาร โดยแสดง เงินสดขาดบัญชี หักดวย คาเผื่อเงินสดขาดบัญชี ดังนี้ เงินสดและเงินฝากธนาคาร ............................ เงินสดขาดบัญชี 50,000.00 ............................ หัก คาเผื่อเงินสดขาดบัญชี 50,000.00 ............................ 0.00 ............................
  • 9. 4 1.2 เงินฝากสหกรณอื่น หมายถึง เงินที่สหกรณฝากไวที่ชุมนุมสหกรณและสหกรณอ่น ื หากมีเงินฝากชุมนุมสหกรณเพียงแหงเดียว ใหระบุชื่อรายการเปน “เงินฝากชุมนุมสหกรณ” แทนชื่อรายการ “เงินฝากสหกรณอื่น” 1.3 เงินสงชําระหนี้ระหวางทาง หมายถึง เงินที่สหกรณสงชําระหนี้ แตยังไมอาจจําแนกเงินที่สงนั้น ไดวาเปนสวนที่ชําระดอกเบีย และสวนที่ชาระตนเงินเปนจํานวนเทาใด หรือยังไมไดรับหลักฐานการชําระหนี้ ้ ํ 1.4 เงินลงทุน หมายถึง หลักทรัพยที่สหกรณถอไวโดยมีวัตถุประสงคที่จะไดรบประโยชนในรูป ื ั ของรายไดหรือผลตอบแทนอื่น เชน หุนชุมนุมสหกรณ หุนของธนาคารที่มีวัตถุประสงคเพื่อใหความ ชวยเหลือทางการเงินแกสหกรณ หุนบริษัทสหประกันชีวิต พันธบัตรรัฐบาล/รัฐวิสาหกิจ ตั๋วสัญญาใชเงิน ของชุมนุมสหกรณ กองทุนวายุภักษหนึ่ง ตราสารแสดงสิทธิในหนี้ที่ธนาคารเปนผูออกให เปนตน เงินลงทุนระยะสั้น หมายถึง หลักทรัพยที่สหกรณตั้งใจถือไวไมเกิน 1 ป โดยจะขายเมื่อมี ความตองการเงินสด รวมทั้งสวนของเงินลงทุนระยะยาวทีจะครบกําหนดไถถอนภายในรอบหนึ่งปบญชีถัดไป ่ ั การจัดประเภทของเงินลงทุนและการตีราคา ณ วันสิ้นปทางบัญชี 1.4.1 เงินลงทุนที่อยูในความตองการของตลาด หมายถึง หลักทรัพยหรือเงินลงทุนที่มีการ ซื้อขายในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย หรือตลาดหลักทรัพยอื่นที่ทําการเผยแพรราคาตอสาธารณชน เชน หุนของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย หุนของธนาคารพาณิชยและสถาบันการเงิน ตราสาร แสดงสิทธิในหนี้ที่มีการซื้อขายกันผานธนาคารซึ่งมีการเผยแพรราคาตอสาธารณชน เปนตน ใหตีราคาตาม มูลคายุตธรรม เงินลงทุนดังกลาวใหแสดงมูลคาสุทธิหลังหักคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน ิ 1.4.2 เงินลงทุนที่ไมอยูในความตองการของตลาด หมายถึง หลักทรัพยหรือเงินลงทุน ที่ไมมีการซื้อ–ขายกันในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือตลาดหลักทรัพยอื่นที่ทาการเผยแพรราคา ํ ตอสาธารณชน เชน หุนชุมนุมสหกรณ ตัวสัญญาใชเงินของชุมนุมสหกรณ เปนตน ใหตีราคาตามราคาทุน ๋ 1.5 เงินใหกยืมระยะสั้น – สุทธิ หมายถึง เงินใหสหกรณอื่นและใหสมาชิกกูยืมทุกประเภท โดยมี ู สัญญาการกูยมเปนหลักฐาน ซึ่งยังคงคางชําระตอสหกรณ หักคาเผือหนี้สงสัยจะสูญ (สวนที่กันไวสําหรับ ื ่ ลูกหนี้ท่คาดวาจะเรียกเก็บไมได) และคาเผื่อหนี้คลาดเคลื่อน (สวนที่ตั้งไวสําหรับลูกหนี้ที่พบวาบัญชียอย ี มียอดรวมสูงกวาบัญชีคุมยอด) 1.6 ลูกหนี้ระยะสั้น – สุทธิ หมายถึง สิทธิเรียกรองจากบุคคลอื่น ไมวาจะเปนในรูปเงินสด  สินคาหรือบริการที่มกาหนดระยะเวลาชําระคืนภายในหนึ่งรอบปบัญชีถัดไป และลูกหนี้ที่ถึงกําหนดชําระแลว ี ํ แตยังไมไดรับชําระคืน รวมกันทุกประเภทหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ และคาเผื่อหนี้คลาดเคลื่อน ทั้งนี้ ลูกหนี้ระยะสั้น - สุทธิ ประกอบดวย ลูกหนี้ประเภทตาง ๆ ไดแก ตั๋วเงินรับ หมายถึง ตั๋วเงินรับชําระคาสินคาและบริการ อันเกิดจากการที่สหกรณ ขายสินคาหรือบริการและไดรับตั๋วเงินรับเปนการชําระหนี้จากลูกหนี้ ลูกหนี้การคา หมายถึง เงินที่คางชําระคาสินคาที่สหกรณไดขายไปตามปกติ ลูกหนี้ขายผานบัญชี หมายถึง เงินที่สมาชิกคางชําระคาสินคาที่สหกรณเปนคนกลาง ในการขายตามวิธีการขายผานบัญชี
  • 10. 5 ลูกหนี้จากการขายผอนชําระ หมายถึง เงินที่สมาชิกคางชําระคาสินคาที่สหกรณไดขายไป ตามวิธีการขายผอนชําระ ซึงการแสดงรายการลูกหนี้ประเภทนี้จะยังไมมการตั้งคาเผือหนี้สงสัยจะสูญ แตจะ ่ ี ่ ตองหักดอกผลจากการขายผอนชําระรอตัดบัญชีดวย ลูกหนี้คาบริการ หมายถึง เงินทีสมาชิกคางชําระคาบริการที่สหกรณไดใหบริการไปแลว  ่ ลูกหนี้อื่นๆ หมายถึง ลูกหนี้ทไมอาจจัดอยูในประเภทของลูกหนีดังกลาวขางตนได เชน ี่  ้ เงินยืมทดรองที่กรรมการและเจาหนาที่ยืมไปจากสหกรณ รวมทั้งหนี้สนที่กรรมการและเจาหนาที่มตอสหกรณ ิ ี  ไมวาในลักษณะใดก็ตาม เชน ลูกหนี้เงินสดขาดบัญชี ลูกหนี้สินคาขาดบัญชี (ที่มีการทําหนังสือรับรอง จํานวนเงินสดและหนังสือรับรองจํานวนสินคาขาดบัญชี) ลูกหนี้คลาดเคลื่อน (ผลตางระหวางยอดรวมของ บัญชียอยที่ต่ํากวาบัญชีคุมยอดลูกหนี้) ลูกหนี้ระหวางดําเนินคดี (ลูกหนี้ที่สหกรณไดยื่นฟองตอศาล และ  ศาลไดมคําสั่งประทับรับฟองแลว) ลูกหนี้ตามคําพิพากษา (ลูกหนีที่สหกรณไดดาเนินคดี และศาลไดมี ี ้ ํ คําพิพากษาหรือมีสัญญาประนีประนอมยอมความใหชดใชเงินแกสหกรณแลว) เปนตน ขอสังเกตเกี่ยวกับการแสดงรายการลูกหนี้ ลูกหนี้ที่มียอดคงเหลือดานเครดิต (เกิดจากการชําระหนี้เกิน) ใหนาไปแสดงรายการในํ หนี้สินหมุนเวียนอื่น กรณีที่ลูกหนี้มรายการเดียวและไมมีคาเผือหนี้สงสัยจะสูญ คาเผื่อหนี้คลาดเคลื่อน การแสดงรายการ ี  ่ ใหระบุประเภทลูกหนี้ใหชัดเจน โดยตัดคําวา “สุทธิ” ออก และไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน กรณีลูกหนี้ทกประเภทมีการตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเต็มจํานวน ใหแสดงรายการลูกหนี้แตละ ุ ประเภทใหชดเจน พรอมกับแสดงรายการหักคาเผื่อหนีสงสัยจะสูญดวย ตามตัวอยางดังนี้ ั ้ เงินลงทุนระยะสั้น ........................ ลูกหนี้การคา 3,000.00 ลูกหนี้เงินสดขาดบัญชี 10,000.00 ลูกหนี้สินคาขาดบัญชี 7,000.00 รวม 20,000.00 หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 20,000.00 0.00 ทั้งนี้ ไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน  กรณีปปจจุบันตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้ทุกประเภทเต็มจํานวน แตปกอนตั้งไว ไมเต็มจํานวน การแสดงรายการใหถือปปจจุบันเปนเกณฑ โดยระบุลูกหนีแตละประเภทใหชัดเจน พรอมกับแสดง ้ รายการหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญดวย ตามตัวอยางดังนี้
  • 11. 6 ปปจจุบน  ั ปกอน เงินลงทุนระยะสั้น ..................... .................... ลูกหนี้การคา 3,000.00 3,000.00 ลูกหนี้เงินสดขาดบัญชี 10,000.00 10,000.00 ลูกหนี้สินคาขาดบัญชี 7,000.00 7,000.00 รวม 20,000.00 20,000.00 หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 20,000.00 18,000.00 0.00 2,000.00 ทั้งนี้ ไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน กรณีปปจจุบนตั้งคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสําหรับลูกหนี้ทุกประเภทไมเต็มจํานวน แตปกอน ั ตั้งไวเต็มจํานวน การแสดงรายการใหถอปปจจุบนเปนเกณฑ โดยแสดงตามรูปแบบปกติ ดังนี้ ื ั ปปจจุบัน ปกอน ......................................... .................... ................. เงินลงทุนระยะสั้น .................... ................. ลูกหนี้ระยะสั้น – สุทธิ .................... ................. ......................................... .................... ................. 1.7 ดอกเบี้ยเงินใหกูคางรับ – สุทธิ หมายถึง ดอกเบี้ยจากเงินใหสมาชิกหรือสหกรณอื่นกู ทุกประเภททีลูกหนี้คางชําระตอสหกรณ หักคาเผื่อหนีสงสัยจะสูญ ่ ้ กรณีไมมีคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญใหตดคําวา “สุทธิ” ออก และไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบ ั งบการเงิน 1.8 สินคาคงเหลือ หมายถึง สินทรัพยที่มีไวเพื่อขายตามลักษณะการประกอบธุรกิจโดยปกติ กรณีเปนสหกรณที่มีการดําเนินงานดานแปรรูป สินคาคงเหลือใหรวมถึงสินคาที่อยูระหวางกระบวนการผลิต และวัตถุดิบที่มีไวเพื่อการผลิต ทั้งนี้ สินคาคงเหลือไมรวมถึงสินคาที่รับฝากขาย วัสดุที่มีไวใชในโรงงาน และในสํานักงาน สินคาที่ลงบัญชีขายแลวแตผูซื้อยังไมไดรับสินคา ตลอดจนสินคาที่สั่งซื้อและผูขายสง สินคามาใหแลวแตยังไมไดลงบัญชีซื้อในงวดนั้น สําหรับสินคาที่สั่งซือและลงบัญชีซื้อแลวแตไดรบสินคานัน ้ ั ้ ยังไมครบ ใหถือจํานวนทีไมครบนั้นเปนสินคาคงเหลือดวย ่ สินคาคงเหลือขางตนจะเปนสินคาทีมีสภาพปกติ บวกดวย สินคาเสื่อมชํารุด โดยยอดสินคา ่ คงเหลือจะเทากับสินคาคงเหลือที่ตรวจนับไดจริง ณ วันสิ้นปทางบัญชี ซึ่งมีทั้งสภาพปกติและเสือมชํารุด ่ อนึ่ง กรณีที่สหกรณมีสินคาขาดบัญชี(สินคาขาดบัญชีที่ยังไมมีผรับผิดชอบหรืออยูระหวางการ ู พิจารณาหาผูรับผิดชอบ) ใหแสดงรายการในงบดุลเปนรายการตอจาก “สินคาคงเหลือ” โดยใหแสดง รายการ หักดวย คาเผื่อสินคาขาดบัญชี (สวนที่ตั้งไวสาหรับสินคาขาดหายที่ยังไมมีผูรับผิดชอบ) ดังนี้ ํ
  • 12. 7 ปปจจุบัน  ปกอน ดอกเบี้ยเงินใหกูคางรับ – สุทธิ .................... .................... สินคาคงเหลือ .................... .................... สินคาขาดบัญชี .................... .................... หัก คาเผื่อสินคาขาดบัญชี .................... .................... .................... .................... สินทรัพยหมุนเวียนอื่น .................... .................... 1.9 สินทรัพยหมุนเวียนอื่น หมายถึง 1.9.1 วัสดุคงเหลือ หมายถึง ของสวนนอยที่ใชในการทําหรือผลิตสินคาสําเร็จรูป อาจเปน สวนผสมหรือสวนประกอบหรือไมกได เชน กระสอบ หินขัด น้ํามันเชื้อเพลิง น้ํามันหลอลื่น เชือก ฯลฯ ็ รวมทั้งของที่ซื้อหรือไดมาเพือใชในการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ ซึ่งจะใชหมดไปในระยะเวลาสั้น ่ เชน เครื่องเขียนแบบพิมพ วัสดุสํานักงาน เปนตน 1.9.2 คาใชจายลวงหนา เชน คาเชาจายลวงหนา คาเบียประกันภัยจายลวงหนา เปนตน  ้ 1.9.3 รายไดคางรับ เชน คาปรับคางรับ (ใหแสดงจํานวนสุทธิหลังจากหักคาเผื่อหนีสงสัยจะสูญ) ้ คาเชาคางรับ คานายหนาคางรับ เปนตน 1.9.4 เงินชําระหนี้เกินรอเรียกคืน หรือเจาหนี้ยอดเดบิต 1.9.5 เงินปนผลและเงินเฉลี่ยคืนคลาดเคลื่อน 1.9.6 ทรัพยสินรอการขาย หมายถึง ทรัพยสินที่ตกเปนของสหกรณ เนื่องจากการชําระหนี้ หรือเนื่องจากการที่สหกรณไดซื้อทรัพยสนที่จํานองไวกบสหกรณจากการขายทอดตลาด โดยคําสั่งของศาล ิ ั หรือเจาพนักงานพิทักษทรัพย 1.9.7 สินทรัพยหมุนเวียนอื่นที่ไมอาจแสดงไวในรายการที่ 1.1 ถึง 1.8 ได อนึ่ง สําหรับเงินทดรองจายดําเนินคดี กรณีท่ีทราบแนชัดวาการดําเนินคดีสิ้นสุดในหนึ่งรอบ ปบัญชีถัดไป ใหแสดงรายการเงินทดรองจายดําเนินคดีเฉพาะสวนที่คดีกาลังจะสิ้นสุดนั้นไวเปนสินทรัพย ํ หมุนเวียนอื่น สําหรับกรณีที่สหกรณจดทะเบียนเขาสูระบบภาษีมลคาเพิ่ม หากในวันสินป บัญชีภาษีมูลคาเพิ่ม ู ้ มียอดคงเหลือยกไปทางดาน “เดบิต” ใหแสดงรายการภาษีมูลคาเพิ่มดังกลาวภายใตรายการสินทรัพย หมุนเวียนอื่น ในกรณีที่สนทรัพยหมุนเวียนอื่นใดมีจานวนเงินตั้งแตรอยละ 5 ของยอดรวมสินทรัพยหมุนเวียน ิ ํ  ทั้งสิ้น ใหแสดงรายการสินทรัพยหมุนเวียนนั้น ๆ ไวแตละประเภทเปนเอกเทศ โดยระบุชื่อใหชัดเจนและ เรียงลําดับกอนรายการ ”สินทรัพยหมุนเวียนอื่น” ตามตัวอยางดังนี้
  • 13. 8 ........................................ ........................ สินคาคงเหลือ 100,000.00 คาเบี้ยประกันจายลวงหนา 2,000.00 สินทรัพยหมุนเวียนอื่น 500.00 รวมสินทรัพยหมุนเวียน 300,000.00 กรณีรายการรอยละ 5 ของสินทรัพยหมุนเวียนอื่นในปปจจุบนและปกอนไมเทากัน ใหยึดถือ ั ปปจจุบนเปนหลักในการแสดงรายการ ั อนึ่ง กรณีสินทรัพยหมุนเวียนอื่นมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชอสินทรัพยหมุนเวียนอื่นนัน ื่ ้ ไวแทนที่รายการ “สินทรัพยหมุนเวียนอื่น” ตามตัวอยาง ดังนี้ ........................................ ........................ สินคาคงเหลือ 100,000.00 คาเบี้ยประกันจายลวงหนา 2,500.00 รวมสินทรัพยหมุนเวียน 300,000.00 2. สินทรัพยไมหมุนเวียน หมายถึง สินทรัพยที่ไมใชสินทรัพยหมุนเวียนที่มีตัวตน รวมถึงสินทรัพย ไมมีตัวตน สินทรัพยทางการเงิน และสินทรัพยดําเนินงานที่มีระยะยาวโดยลักษณะ ซึ่งปกตินบระยะเวลาที่ ั คาดวาจะไดรับประโยชนจากสินทรัพยนั้นเกินกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล 2.1 เงินลงทุนระยะยาว หมายถึง หลักทรัพยที่สหกรณตั้งใจถือไวเปนระยะเวลานานเกินกวา 1 ป รวมทั้งเงินลงทุนที่ไมมกําหนดอายุไถถอน ี 2.2 เงินใหกยืมระยะยาว หมายถึง เงินใหสหกรณอนและใหสมาชิกกูยืมทุกประเภทที่มีกําหนด ู ื่ ชําระคืนเกินกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล 2.3 ลูกหนี้ระยะยาว - สุทธิ หมายถึง ลูกหนี้ที่มีอายุการเปนหนี้หรือสิทธิในการเรียกรองยังไมครบ กําหนดเรียกคืนในรอบปบญชีถัดไป หักดวย คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ั 2.4 มูลคาพันธุสัตว – สุทธิ หมายถึง มูลคาพันธุสตวที่มิไดมีไวเพื่อขายโดยตรงแตมไวเพื่อใช ั ี ทําพันธุหรือใหผลผลิต ซึ่งมีอายุการใชประโยชนเกินกวา 1 ป หักดวย คาเสื่อมพันธุสะสม ทั้งนี้ หากมูลคาพันธุสัตวที่มีอายุการใชประโยชนนอยกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล ใหนาไปแสดงไวในสินทรัพยหมุนเวียนอืน ๆ โดยแสดงดวยยอดมูลคาพันธุสตว หักดวย คาเสื่อมพันธุสะสม ํ ่ ั เชน ไกพนธุไข เปนตน ั 2.5 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ หมายถึง สินทรัพยที่มีตัวตนที่สหกรณมีไวเพื่อใช ประโยชนในการผลิตเพื่อใชในการจําหนายสินคาหรือใหบริการ เพื่อใหเชาหรือเพื่อใชในการบริหารงาน ซึ่งคาดวาจะใชประโยชนมากกวาหนึ่งรอบปบัญชี รวมถึงสิ่งที่มีไวเพื่อใชในการบํารุงรักษาหรือซอมแซม สินทรัพยดังกลาว ทั้งนี้ ตองเปนสินทรัพยที่มิไดมีไวเพื่อขาย ซึ่งอาจจําแนกเปน
  • 14. 9 2.5.1 สินทรัพยที่ไมตองหักคาเสื่อมราคา ไดแก ที่ดิน  2.5.2 สินทรัพยที่ตองหักคาเสื่อมราคา ไดแก อาคาร สิ่งปลูกสราง เครื่องจักรและอุปกรณ ยานพาหนะ เครื่องใชสํานักงาน (รวมเครืองคอมพิวเตอรและอุปกรณ) ฯลฯ การแสดงรายการใหแสดงดวย ่ ยอดสุทธิหลังจากหักคาเสื่อมราคาสะสมแลว อนึ่ง กรณีสหกรณมีที่ดิน อาคารและอุปกรณมีเพียงรายการเดียวใหระบุชื่อไวแทนที่รายการ “ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ” หากสหกรณใชวิธีบันทึกคาเสื่อมราคาหักจากยอดสินทรัพยโดยตรง ใหแสดงรายการดวยยอดคงเหลือตามบัญชี โดยไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน แตถา สหกรณบันทึกคาเสื่อมราคาไวในบัญชีคาเสื่อมราคาสะสม ใหแสดงรายการดวยยอดสุทธิหลังจากหัก คาเสื่อมราคาสะสม และตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน 2.6 สินทรัพยไมมีตัวตน หมายถึง สินทรัพยประเภทที่ไมอาจแลเห็นและจับตองไมได มีลักษณะ เปนสิทธิตาง ๆ ตามที่กฎหมายกําหนด การแสดงรายการใหแสดงดวยยอดสุทธิหลังจากหักคาตัดจาย ซึ่งไดแก 2.6.1 สิทธิการเชา หมายถึง สิทธิที่ผูเชาไดรับเหนืออสังหาริมทรัพยที่เชาจากเจาของ สินทรัพยโดยตรง โดยผูเชาจะตองจายเงินคาเชาสิทธิดวยเงินจํานวนมาก ทั้งนี้ สิทธิการเชาสวนใหญจะเปน  การเชาในระยะยาว 2.6.2 สิทธิการใชประโยชนในที่ดิน อาคาร อุปกรณและอื่น ๆ หมายถึง สิทธิที่สหกรณ ไดใชประโยชนในทีดิน อาคาร อุปกรณและอื่น ๆ โดยไมไดเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในสินทรัพยนั้น ทั้งนี้ ่ สหกรณจะตองจายเงินเพื่อใหไดสิทธิในการใชประโยชนดังกลาว 2.6.3 สิทธิบตร เปนสิทธิตามกฎหมายซึ่งรัฐบาลมอบใหแกบคคลหนึ่งบุคคลใดในการผลิต ั ุ จําหนาย หรือไดรับผลประโยชนจากสิ่งประดิษฐขึ้นใหม ในกรณีที่สหกรณซื้อสิทธิบตรจากผูอื่น ใหบันทึกบัญชี ั ดวยราคาที่จายซื้อ และในกรณีที่สหกรณจดทะเบียนสิ่งประดิษฐของตนเอง คาใชจายทั้งสิ้นทีเสียไปในการ  ่ ไดสิทธิบตร ไดแก คาใชจายในการทดลอง คนควา คาจดทะเบียน ฯลฯ ถือเปนราคาทุนของสิทธิบัตร ั 2.6.4 สัมปทาน เปนสัญญาที่รัฐบาลตกลงใหสิทธิในการดําเนินงานอันเกี่ยวกับสินทรัพย ของรัฐบาล โดยราคาทุนของสัมปทานก็คือคาใชจายในการขอสัมปทาน  2.6.5 สิทธิในการใชซอฟทแวรตาง ๆ หมายถึง สิทธิในการขอใชซอฟทแวรที่ผูอื่นเปน เจาของลิขสิทธิ์ ใหเปดเผยเกี่ยวกับการไดมาซึ่งสิทธิในการใชและอายุการใชประโยชนไวในหมายเหตุประกอบ งบการเงิน อนึ่ง กรณีสินทรัพยไมมีตัวตนมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชื่อสินทรัพยไมมีตัวตนนั้นไวแทนที่ รายการ “สินทรัพยไมมีตัวตน” ตามตัวอยางดังนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ ..................... สิทธิการใชประโยชนในอาคาร 50,000 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น .................... รวมสินทรัพย 80,000
  • 15. 10 2.7 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หมายถึง สินทรัพยไมหมุนเวียนนอกเหนือจากรายการ 2.1 ถึง 2.6 ประกอบดวยรายการตอไปนี้ 2.7.1 คาใชจายรอตัดบัญชี ซึ่งไดแก คาใชจายหรือตนทุนที่เกิดขึ้นแลวและกอใหเกิด ประโยชนแกสหกรณเปนระยะเวลานานเกินกวา 1 งวดบัญชี เชน คาปรับปรุง คาตกแตงหรือคาซอมแซม สินทรัพยที่ใชเงินจํานวนมากและทําใหสนทรัพยนั้นคงสภาพดีดังเดิม ทั้งนี้ คาใชจายรอตัดบัญชีไมใหรวมถึง ิ ผลเสียหายหรือผลขาดทุนที่เกิดขึ้นแลวเปนจํานวนมากที่ประสงคจะตัดบัญชีเปนคาใชจายในระยะเวลา นานกวา 1 งวดบัญชี การแสดงรายการคาใชจายรอตัดบัญชี ใหแสดงดวยยอดคงเหลือหลังจากปรับปรุง บัญชีตดจายบางสวนเปนคาใชจายประจําปแลว ั 2.7.2 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น เชน ที่ดินที่มิไดใชในการดําเนินงานในปปจจุบันและไมมี  จุดประสงคทจะรอจําหนาย ที่ดินที่ถือไวเพื่อขยายงาน เงินมัดจํา เงินประกัน เงินทดรองจายดําเนินคดี ี่ ในสวนที่ระยะเวลาดําเนินคดีเกินกวา 1 ป เปนตน ในกรณีท่ีสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นรายการใดมีจานวนเงินตั้งแตรอยละ 5 ของยอดรวม ํ สินทรัพยท้ังสิ้น ใหแสดงสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นนั้นแตละประเภทเปนเอกเทศ โดยระบุชื่อและเรียงลําดับ ไวกอนรายการ “สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น” ตามตัวอยาง ดังนี้  ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ ...................... สินทรัพยไมมีตวตน ั ...................... เงินประกัน 5,000 สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ...................... รวมสินทรัพย 80,000 กรณีรายการรอยละ 5 ของสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นในปปจจุบันและปกอนไมเทากัน ใหถือตามปปจจุบันเปนเกณฑในการแสดงรายการ  อนึ่ง กรณีสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่นมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชื่อสินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น ประเภทนั้นไวแทนที่รายการ “สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น” ตามตัวอยาง ดังนี้ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ – สุทธิ ....................... สินทรัพยไมมีตัวตน ....................... เงินประกัน 1,000 รวมสินทรัพย 80,000 ทั้งนี้ ไมตองจัดทําหมายเหตุประกอบงบการเงิน
  • 16. 11 หนี้สนและทุนของสหกรณ ิ หนี้สน หมายถึง ภาระผูกพันในปจจุบันของสหกรณ ซึ่งเปนผลของรายการและเหตุการณทางบัญชี ิ ในอดีต อาจเกิดจากการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ หรือจากประเพณีการคา ซึ่งสหกรณจะตองชําระ ภาระผูกพันดวยสินทรัพยหรือบริการ เชน การจายเงินสด การโอนสินทรัพย การใหบริการ และมูลคาของ ภาระผูกพันทีตองชําระนั้นสามารถวัดไดอยางนาเชื่อถือ ่ 1. หนี้สินหมุนเวียน หมายถึง หนี้สินซึงมีระยะเวลาการชําระคืนภายใน 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล ่ หรือภายในวัฏจักรการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ ซึ่งคาดวาจะตองจายชําระดวยสินทรัพยหมุนเวียน หรือดวยการกอหนี้สินระยะสั้นอื่นแทน หนี้สินบางชนิดควรจัดประเภทไวเปนหนี้สินหมุนเวียน แมวาจะ ครบกําหนดเกินกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุลก็ตาม เชน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจายตางๆ เนื่องจากถือเปนสวนหนึ่งของเงินทุนหมุนเวียนที่ใชในรอบระยะเวลาการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ 1.1 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารและเงินกูยืมระยะสั้น  1.1.1 เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร หมายถึง จํานวนเงินซึ่งสหกรณเปนหนีธนาคารอันเกิดจาก ้ การสั่งจายเงินเกินกวาจํานวนที่ฝากไว โดยมีการทําสัญญาเงินเบิกเกินบัญชีกบธนาคารไวเปนหลักฐาน ั 1.1.2 เงินกูยมระยะสั้น หมายถึง หนี้สินระยะสั้นที่เกิดจากการกูยืม โดยมีการทําสัญญากูยม ื ื ไวเปนหลักฐาน ทั้งนี้ ใหแสดงรายการ 1.1.1 และ 1.1.2 รวมไวเปนรายการเดียวกัน 1.2 เจาหนี้การคา หมายถึง ภาระผูกพันที่จะตองชําระคาสินคาหรือคาบริการที่สหกรณไดรับตามปกติ 1.3 สวนของหนี้สินไมหมุนเวียนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หมายถึง สวนของหนี้สิน ไมหมุนเวียนที่ถึงกําหนดชําระคืนในรอบหนึ่งปบัญชีถดไป รวมทั้งสวนของหนี้สินไมหมุนเวียนที่พนกําหนด ั การชําระแลว แตยงไมมีการชําระ ั 1.4 เงินรับฝาก หมายถึง เงินที่สหกรณรับฝากไวจากสมาชิก และ/หรือสหกรณอื่นทั้งประเภท ออมทรัพย ประจํา และเงินรับฝากประเภทอื่น 1.5 คาบํารุงสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยคางจาย หมายถึง เงินที่สหกรณจัดสรรจาก กําไรสุทธิประจําป เพื่อจายเปนคาบํารุงใหกับสันนิบาตสหกรณแหงประเทศไทยตามที่กฎหมายกําหนด แตสหกรณยังไมไดชําระใหแกสันนิบาตสหกรณฯ 1.6 หนีสินหมุนเวียนอื่น หมายถึง คาใชจายคางจาย รายไดรับลวงหนา เงินยืมทดรอง เงินปนผล/ ้  เฉลี่ยคืนคางจาย เงินรอจายคืนหรือลูกหนี้ยอดเครดิต และหนี้สินหมุนเวียนอื่นที่ไมอาจแสดงรวมอยูใน รายการที่ 1.1 ถึง 1.5 ได สําหรับกรณีที่สหกรณจดทะเบียนเขาสูระบบภาษีมูลคาเพิ่ม หากในวันสิ้นป บัญชีภาษีมูลคาเพิ่ม  มียอดคงเหลือยกไปทางดาน “เครดิต” ใหแสดงรายการภาษีมูลคาเพิ่มดังกลาวภายใตรายการหนี้สิน หมุนเวียนอื่น
  • 17. 12 ในกรณีทหนี้สินหมุนเวียนอื่นใดมีจํานวนเงินตั้งแตรอยละ 5 ของยอดรวมหนี้สินหมุนเวียนทั้งสิ้น ี่ ใหแสดงหนี้สนหมุนเวียนอืนนั้นไวแตละประเภทเปนเอกเทศ โดยระบุชื่อและเรียงลําดับไวกอนรายการ ิ ่  หนี้สินหมุนเวียนอืน ซึ่งแสดงรายการในทํานองเดียวกับตัวอยางทีใหไวในรายการ “สินทรัพยหมุนเวียนอื่น” ่ ่ ถารายการรอยละ 5 ของหนี้สินหมุนเวียนอื่นในปปจจุบันและปกอนไมเทากัน ใหยึดถือปปจจุบนเปนหลัก ั ในการแสดงรายการ นอกจากนี้ กรณีหนี้สนหมุนเวียนอืนมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชื่อหนี้สนหมุนเวียนอื่น ิ ่ ิ นั้นไวแทนที่รายการ “หนี้สินหมุนเวียนอื่น” โดยแสดงรายการในทํานองเดียวกับตัวอยางที่ใหไวในรายการ “สินทรัพยหมุนเวียนอื่น” เชนเดียวกัน 2. หนีสนไมหมุนเวียน หมายถึง หนี้สนซึ่งมีระยะเวลาการชําระคืนเกินกวา 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล ้ ิ ิ หรือเกินกวารอบระยะเวลาการดําเนินงานตามปกติของสหกรณ ไดแก เจาหนี้คาเชาซื้อทรัพยสิน เงินกูยืม  ระยะยาว ฯลฯ 2.1 เงินกูยืมระยะยาว หมายถึง หนี้สินระยะยาวที่เกิดจากการกูยม โดยมีการทําสัญญากูยืมไว ื เปนหลักฐาน หักดวยสวนของหนี้สินระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป (ซึ่งไดแยกไปแสดงไวใน 1.3 แลว) 2.2 เจาหนี้คาเชาซื้อสินทรัพย หมายถึง ภาระผูกพันที่สหกรณตองชําระคาสินทรัพยโดยการ ผอนชําระเปนงวดๆ 2.3 หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น หมายถึง หนี้สินที่ไมอาจแสดงไวในรายการหนี้สินหมุนเวียนได ไดแก รายไดรอการตัดบัญชี ภาษีขายจากการเชาซื้อรอการตัดบัญชี (ถามี) สํารองบําเหน็จเจาหนาที่ เงินประกันความเสียหายเจาหนาที่ เงินประกันการกอสราง เงินรับบริจาคที่มีวัตถุประสงคเพื่อการใด การหนึ่งโดยเฉพาะ เงินทุนหรือกองทุนตาง ๆ ที่เกิดจากการตัดเปนคาใชจายประจําป ฯลฯ ในกรณีที่หนี้สินไมหมุนเวียนอื่นรายการใดมีจํานวนเงินตั้งแตรอยละ 5 ของยอดรวมหนี้สินทั้งสิ้น ใหแสดงหนี้สนไมหมุนเวียนอื่นนันไวแตละประเภทเปนเอกเทศ โดยระบุชื่อและเรียงลําดับไวกอนรายการ ิ ้ หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น ซึ่งแสดงรายการในทํานองเดียวกับตัวอยางทีใหไวในรายการ “สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น” ่ ถารายการรอยละ 5 ของหนี้สินไมหมุนเวียนอื่นในปปจจุบันและปกอนไมเทากัน ใหยึดถือปปจจุบนเปนหลักั ในการแสดงรายการ นอกจากนี้ กรณีหนี้สนไมหมุนเวียนอืนมีเพียงรายการเดียว ใหระบุชื่อหนี้สินไมหมุนเวียนอื่น ิ ่ นั้นไวแทนที่รายการ “หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น” โดยแสดงรายการในทํานองเดียวกับตัวอยางที่ใหไวในรายการ “สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น” เชนเดียวกัน
  • 18. 13 ทุนของสหกรณ หมายถึง สวนของสมาชิกผูลงทุนถือหุนในสหกรณ ประกอบดวย 1. ทุนเรือนหุน หมายถึง จํานวนเงินคาหุนที่สมาชิกไดชาระมูลคาแลว ทั้งหุนที่ชําระเต็มมูลคาและที่ยัง ํ ชําระไมครบมูลคา การแสดงรายการใหแยกแสดงเปน 2 รายการ คือ หุนที่ชําระเต็มมูลคา และหุนที่ชําระ ไมครบมูลคา นอกจากนี้ กรณีที่สหกรณมีเฉพาะหุนปกติซึ่งชําระเต็มมูลคาแลวใหแสดงรายการไวเปน รายการหุนที่ชาระเต็มมูลคาแลวและตัดรายการอื่นที่ไมมีออก ํ 2. ทุนสํารอง หมายถึง สวนของทุนของสหกรณที่ไดจากการจัดสรรกําไรสุทธิประจําปที่สหกรณจัดสรร ไวตามขอบังคับ รวมทั้งไดจากเงินอุดหนุนหรือสินทรัพยที่สหกรณไดรับบริจาคโดยมิไดมีการกําหนด วัตถุประสงควาใหใชเพื่อการใด เงินโอนจากทุนสะสมตาง ๆ ทีไดจดสรรเพื่อจัดใหมีสินทรัพย และไดมีการ  ่ ั จัดหาสินทรัพยแลว เงินโอนจากทุนสะสมตาง ๆ คงเหลือเมื่อสิ้นสุดวัตถุประสงคของทุนแลว ทั้งนี้ ทุนสํารอง จะถอนจากบัญชีไดเพื่อชดเชยการขาดทุน หรือเพื่อจัดสรรเขาบัญชีทุนสํารองใหแกสหกรณใหมที่ไดจดทะเบียน แบงแยกจากสหกรณเดิม ในกรณีทสหกรณประสบผลขาดทุน ใหแสดงทุนสํารอง หักดวย ขาดทุนสุทธิ ่ี 3. ทุนสะสมตามขอบังคับ ระเบียบและอื่น ๆ หมายถึง สวนทุนของสหกรณที่จัดสรรจากกําไรสุทธิ ประจําปตามขอบังคับ เพื่อตอบแทนแกสมาชิก กรรมการและเจาหนาที่สหกรณ หรือเพื่อดําเนินการอยางใด อยางหนึ่งตามที่กาหนดไวในขอบังคับ ระเบียบและอืน ๆ ไดแก ทุนสาธารณประโยชน ทุนศึกษาอบรมทาง ํ ่ สหกรณ ทุนเพื่อขยายงาน ทุนเพื่อใหการสงเคราะห ทุนเพื่อสงเสริมสวัสดิการ รวมทั้งเงินทุนหรือเงินกองทุนตาง ๆ ที่เกิดจากการตัดจายเปนคาใชจายประจําป และจากการจัดสรรจากกําไรสุทธิประจําปรวมกัน 4. กําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้น 4.1 กําไรจากเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้น หมายถึง สวนตางระหวางราคาตามบัญชีรวม (ราคาทุนรวม) ของเงินลงทุนที่อยูในความตองการของตลาดที่ตากวามูลคายุติธรรมรวมของเงินลงทุนนั้น ซึ่งถือเปน ่ํ สวนเกินทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาของเงินลงทุน โดยใหตั้งพักไวจนกวาจะจําหนายเงินลงทุนนั้นได จึงจะรับรูสวนตางเปนรายไดในงบกําไรขาดทุน 4.2 ขาดทุนจากเงินลงทุนที่ยงไมเกิดขึ้น หมายถึง สวนตางระหวางราคาตามบัญชีรวม (ราคาทุนรวม) ั ของเงินลงทุนที่อยูในความตองการของตลาดทีสูงกวามูลคายุติธรรมรวมของเงินลงทุนนั้น ซึ่งถือเปนสวนต่ํากวาทุน ่ ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาของเงินลงทุน โดยใหตงพักไวจนกวาจะจําหนายเงินลงทุนนั้นได จึงจะรับรู ั้ สวนตางเปนคาใชจายในงบกําไรขาดทุน สําหรับการแสดงรายการกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนที่ยังไมเกิดขึ้นนี้ ใหแสดงสวนตางของ ทั้ง 2 กรณีดงกลาวขางตน โดยในกรณีที่เปนผลขาดทุนใหแสดงตัวเลขไวในวงเล็บ ั 5. สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย หมายถึง สวนตางระหวางราคาตามบัญชี (ราคาทุน) ของ สินทรัพยที่ตองการตีราคาเพิ่มใหเทากับมูลคายุติธรรม (ราคาตลาด) ของสินทรัพยนั้น สวนเกินทุน จากการตีราคาสินทรัพยเพิ่มนี้ ใหตั้งพักไวจนกวาจะจําหนายสินทรัพยนั้นได จึงโอนไปยังบัญชีทนสํารอง ุ
  • 19. 14 6. ขาดทุนสะสม หมายถึง ผลของขาดทุนสุทธิประจําปที่เกินกวาทุนสํารอง ซึ่งจะแสดงตัวเลขไวในวงเล็บ 7. กําไร (ขาดทุน) สุทธิประจําป กําไร (ขาดทุน) สุทธิ หมายถึง ผลการดําเนินงานของสหกรณในรอบปทางบัญชี ซึ่งคํานวณไดจาก การนํารายไดเปรียบเทียบกับคาใชจายของสหกรณ หากรายไดสูงกวาคาใชจายจะเปนกําไรสุทธิ ในทางตรงกันขาม  หากคาใชจายสูงกวารายไดจะเปนขาดทุนสุทธิ ทั้งนี้ จะปรากฏเปนรายการสุดทายในงบกําไรขาดทุน โดยกรณีที่ ขาดทุนสุทธิใหแสดงตัวเลขในวงเล็บ และสหกรณสามารถถอนทุนสํารองที่มีอยูมาชดเชยผลขาดทุนสุทธิได กําไรสุทธิประจําป หมายถึง ยอดคงเหลือของกําไรสุทธิทนําไปหักขาดทุนสะสมแลว ซึ่งเปนผลลัพธ ี่ จากกําไรสุทธิสูงกวาขาดทุนสะสม