SlideShare a Scribd company logo
1 of 162
การดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี  ว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕
มติคณะรัฐมนตรี ผลการเบิกจ่าย งบลงทุนต้องเบิกจ่ายในปีงบประมาณ ๒๕๕๐ ได้ร้อยละ ๗๓ ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนของแต่ละส่วนราชการ ๖  กุมภาพันธ์  ๒๕๕๐ งบประมาณเบิกจ่ายในปีงบประมาณ ๒๕๕๐  ได้ร้อยละ ๙๓ ของวงเงินงบประมาณของแต่ละส่วนราชการ
เป้าหมายการจัดซื้อ - จัดจ้าง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน 1.  ความซื่อสัตย์ 2.  ความรับผิดชอบ 3.  ความคิดริเริ่ม 4.  ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น 5.  ความสามารถในเชิงวิเคราะห์ 6.  ความยืดหยุ่น
คุณสมบัติของแหล่งขาย/รับจ้างที่ดี 1.  มีความซื่อสัตย์ สุจริต และยุติธรรม 3.  มีการกำหนดราคาอย่างยุติธรรม 5.  มีฐานะการเงินที่ดี  4.  มีกำลังผลิตหรือความสามารถในการจัดหาวัสดุมาสนอง  ความต้องการของผู้ซื้อได้อย่างเพียงพอและทันเวลา 6.  มีนโยบายและทัศนคติที่จะพัฒนาคุณภาพให้มี  ความก้าวหน้าอยู่เสมอ 2.  มีความสามารถในการทำงานหรือให้ความร่วมมือกับ ผู้ซื้อ / ผู้ว่าจ้างได้เป็นอย่างดี
[object Object],หลักการจัดหาพัสดุ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
15. อันตราย
15.อันตราย 1.  การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.  วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4.  การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5.  การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6.  การปิดอากรแสตมป์ 7.  การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ  39  วรรคสอง 8.  ระยะเวลาการตรวจรับ
9.  การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11.  การตรวจสอบ  BOQ  งานจ้างก่อสร้าง 10.  การจัดทำราคากลาง 13.  การตรวจสอบพัสดุประจำปี 14.  การเปลี่ยนแปลงรายการ 15.  การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12.  เอกสารส่วนที่  1  ไม่ครบ
15  จุดอันตราย 1.  การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.  วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4.  การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5.  การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6.  การปิดอากรแสตมป์ 7.  การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ  39  วรรคสอง 8.  ระยะเวลาการตรวจรับ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
15  จุดอันตราย 1.  การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.  วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4.  การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5.  การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6.  การปิดอากรแสตมป์ 7.  การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ  39  วรรคสอง 8.  ระยะเวลาการตรวจรับ ,[object Object],[object Object]
15  จุดอันตราย 1.  การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.  วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4.  การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5.  การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6.  การปิดอากรแสตมป์ 7.  การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ  39  วรรคสอง 8.  ระยะเวลาการตรวจรับ ,[object Object],[object Object]
15  จุดอันตราย 1.  การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.  วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4.  การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5.  การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6.  การปิดอากรแสตมป์ 7.  การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ  39  วรรคสอง 8.  ระยะเวลาการตรวจรับ ,[object Object],[object Object],[object Object]
15  จุดอันตราย 1.  การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.  วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4.  การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5.  การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6.  การปิดอากรแสตมป์ 7.  การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ  39  วรรคสอง 8.  ระยะเวลาการตรวจรับ อะไรเป็นวัสดุ  อะไรเป็นครุภัณฑ์
15  จุดอันตราย 1.  การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.  วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4.  การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5.  การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6.  การปิดอากรแสตมป์ 7.  การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ  39  วรรคสอง 8.  ระยะเวลาการตรวจรับ ,[object Object],[object Object]
15  จุดอันตราย 1.  การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.  วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4.  การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5.  การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6.  การปิดอากรแสตมป์ 7.  การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ  39  วรรคสอง 8.  ระยะเวลาการตรวจรับ ทุกเรื่องทำ  39  วรรคสอง
15  จุดอันตราย 1.  การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2.  การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3.  วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4.  การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5.  การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6.  การปิดอากรแสตมป์ 7.  การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ  39  วรรคสอง 8.  ระยะเวลาการตรวจรับ ตรวจนาน ๆ
9.  การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11.  การตรวจสอบ  BOQ  งานจ้างก่อสร้าง 10.  การจัดทำราคากลาง 13.  การตรวจสอบพัสดุประจำปี -  แจ้งการเรียกค่าปรับ -  แจ้งสงวนสิทธิ์การปรับ 14.  การเปลี่ยนแปลงรายการ 15.  การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12.  เอกสารส่วนที่  1  ไม่ครบ
9.  การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11.  การตรวจสอบ  BOQ  งานจ้างก่อสร้าง 10.  การจัดทำราคากลาง 13.  การตรวจสอบพัสดุประจำปี งานก่อสร้าง 14.  การเปลี่ยนแปลงรายการ 15.  การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12.  เอกสารส่วนที่  1  ไม่ครบ
9.  การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11.  การตรวจสอบ  BOQ  งานจ้างก่อสร้าง 10.  การจัดทำราคากลาง 13.  การตรวจสอบพัสดุประจำปี การประเมินงานก่อสร้าง 14.  การเปลี่ยนแปลงรายการ 15.  การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12.  เอกสารส่วนที่  1  ไม่ครบ
9.  การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11.  การตรวจสอบ  BOQ  งานจ้างก่อสร้าง 10.  การจัดทำราคากลาง 12.  เอกสารส่วนที่  1  ไม่ครบ 13.  การตรวจสอบพัสดุประจำปี 14.  การเปลี่ยนแปลงรายการ 15.  การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา
9.  การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11.  การตรวจสอบ  BOQ  งานจ้างก่อสร้าง 10.  การจัดทำราคากลาง 13.  การตรวจสอบพัสดุประจำปี -  ไม่ทำการตรวจสอบ -  เกินกำหนดเวลา 14.  การเปลี่ยนแปลงรายการ 15.  การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12.  เอกสารส่วนที่  1  ไม่ครบ
9.  การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11.  การตรวจสอบ  BOQ  งานจ้างก่อสร้าง 10.  การจัดทำราคากลาง 13.  การตรวจสอบพัสดุประจำปี 14.  การเปลี่ยนแปลงรายการ ไม่เป็นไปตามสัญญา 15.  การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12.  เอกสารส่วนที่  1  ไม่ครบ
9.  การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11.  การตรวจสอบ  BOQ  งานจ้างก่อสร้าง 10.  การจัดทำราคากลาง 13.  การตรวจสอบพัสดุประจำปี 14.  การเปลี่ยนแปลงรายการ 15.  การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา -  ขยายเวลาโดยไม่อิง ระเบียบพัสดุฯ  -  ไม่มีหลักฐาน 12.  เอกสารส่วนที่  1  ไม่ครบ
ผู้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อจัดจ้าง
ผู้เกี่ยวข้องกับการซื้อ/จ้าง -  จนท . พัสดุ -  หน . จนท . พัสดุ -  หัวหน้าส่วนราชการ -  ผู้สั่งซื้อ สั่งจ้าง -  คณะกรรมการต่าง ๆ -  ผู้ควบคุมงาน หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรี
๑  คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา ๒  คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา ๓ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ๔  คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ ๕  คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ๖  คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ๗  คณะกรรมการตรวจการจ้าง ๘  ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการในการซื้อ  -  การจ้าง ประเภท พัสดุ
ผู้แต่งตั้ง :  หัวหน้าส่วนราชการ องค์ประกอบ  :  ประธาน  ( ระดับ  3  ขึ้นไป )   :  กรรมการ  ( ปกติระดับ  3  ขึ้นไป )     จำนวนอย่างน้อย  3  คน  ( อาจตั้งบุคคลภายนอกร่วมก็ได้ )   เงื่อนไข   :  ต้องตั้งเป็นครั้ง ๆ ไป  ( ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ ) หลักการ   :  ไม่ตั้งกรรมการซ้ำกัน    แต่ระเบียบฯ ห้ามเฉพาะกรรมการรับและเปิดซองเป็น   คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา  /   กรรมการเปิดซองสอบราคาและกรรมการพิจารณาผล   เป็นกรรมการตรวจรับ :  ต้องกำหนดระยะเวลาในการพิจารณา การแต่งตั้งคณะกรรมการ
1.  งบบุคลากร 2.  งบดำเนินงาน 3.  งบลงทุน 4.  งบเงินอุดหนุน 5.  งบรายจ่ายอื่น หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
1.  งบบุคลากร 2.  งบดำเนินงาน 3.  งบลงทุน 4.  งบเงินอุดหนุน 5.  งบรายจ่ายอื่น 1.  เงินเดือน 2.  ค่าจ้างประจำ 3.  ค่าจ้างชั่วคราว 4.  ค่าตอบแทนพนักงานราชการ หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
1.  งบบุคลากร 2.  งบดำเนินงาน 3.  งบลงทุน 4.  งบเงินอุดหนุน 5.  งบรายจ่ายอื่น 1.  ค่าตอบแทน 2.  ค่าใช้สอย 3.  ค่าวัสดุ 4.  ค่าสาธารณูปโภค หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
เงินที่จ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลังกำหนด เช่น ค่าจ้างนอกเวลา ค่าอาหารทำการนอกเวลา ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้างละควบคุมงานก่อสร้างที่มีคำสั่งแต่งตั้งจากทางราชการ ค่าตอบแทน
รายจ่ายประเภทค่าตอบแทน ลักษณะ เงินเดือน นอกเหนือเงินเดือน -  นอกเวลาราชการปกติ -  นอกเหนืองานในหน้าที่ -  เงินเพิ่มรายเดือน
รายจ่ายที่เบิกได้ เงินเดือน กระทรวงการคลัง มติ ครม . คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ อนุมัติให้จ่ายได้
ค่าใช้สอย ค่าปักเสาพาดสายภายนอกสถานที่ราชการรวมถึงค่าติดตั้งหม้อแปลง เครื่องวัด และอุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการไฟฟ้า ค่าจ้างเหมาเดินสายไฟฟ้าและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มเติม รวมถึงการซ่อมแซม บำรุงรักษาหรือปรับปรุงระบบไฟฟ้า การเพิ่มกำลังไฟฟ้า การขยายเขตไฟฟ้า
ค่าวางท่อประปาภายนอกสถานที่ราชการเพื่อให้ราชการได้ใช้บริการประปา รวมถึงค่าติดตั้งมาตรวัดน้ำและอุปกรณ์ประปา ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการประปา ค่าจ้างเหมาเดินท่อประปาและติดตั้งอุปกรณ์ประปาเพิ่มเติม รวมถึงการซ่อมแซม บำรุงรักษาหรือปรับปรุงระบบประปา
ค่าติดตั้งโทรศัพท์ พื้นฐาน ค่าเช่าทรัพย์สิน รวมถึงเงินที่ต้องจ่ายพร้อมกับการเช่าทรัพย์สิน เช่น ค่าเช่ารถยนต์ อาคารสิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน ยกเว้นค่าเช่าบ้านและเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าเบี้ยประกัน ค่าจ้างเหมาบริการ   แต่มิใช่เป็นการประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง  ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน  เพื่อให้ใช้งานได้ตามปกติ
รายจ่ายเกี่ยวกับพิธีการและเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ เช่น 3.  ค่าของขวัญ ของรางวัล หรือเงินรางวัล 4.  ค่าพวงมาลัย ช่อดอกไม้ กระเช้าดอกไม้ หรือพวงมาลา  5.  เงินประกันสังคม 1.  ค่าใช้จ่ายในพิธีทางศาสนา 2.  ค่ารับรองประเภทเครื่องดื่ม
ต่อหน่วย / ชุด รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของ ใช้แล้ว สิ้นปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม คงทนถาวร ไม่เกิน  5,000  บาท
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ค่าสาธารณูปโภค รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภคสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าบริการ  ค่าภาษี  เช่น  ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าน้ำบาดาล  ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข เช่น  ค่าดวงตราไปรษณียากร ค่าเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินผ่านธนาคาร ค่าบริการสื่อสารและ  โทรคมคม เช่น ค่าระบบอินเทอร์เน็ต  ค่าเคเบิ้ลทีวี
หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย 1.  งบบุคลากร 2.  งบดำเนินงาน 3.  งบลงทุน 4.  งบเงินอุดหนุน 5.  งบรายจ่ายอื่น 2.  ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 1.  ค่าครุภัณฑ์ หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
[object Object],2.  รายจ่ายเพื่อจัดหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีราคาต่อหน่วยหรือต่อชุดเกินกว่า  20,000  บาท 3.  รายจ่ายเพื่อประกอบ ดัดแปลง ต่อเติมหรือปรับปรุงครุภัณฑ์ รวมทั้งครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ที่มีวงเงินเกินกว่า  5,000  บาท ค่าครุภัณฑ์
4.  รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะเป็นต้น ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง 5.  รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหารือปรับปรุงครุภัณฑ์
รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างรวมถึงสิ่งต่าง ๆ ซึ่งติดตรึงกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้างเช่น อาคาร บ้านพัก สนามเด็กเล่น สนามกีฬา สนามบิน สระว่ายน้ำ สะพาน ถนน รั้ว บ่อน้ำ อ่างเก็บน้ำ เขื่อน เป็นต้น รวมถึงรายจ่ายดังต่อไปนี้ ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง ,[object Object]
[object Object],[object Object]
3.  รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชน หรือนิติบุคคล 4.  รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง 5.  รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าชดเชยผลอาสิน เป็นต้น
สรุป ครุภัณฑ์ วัสดุ 5,000  บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม คงทนถาวร  +  ไม่เกิน  5,000  บาท คงทนถาวร  +  เกิน  5,000  บาท
สรุป ครุภัณฑ์ วัสดุ 5,000  บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม คงทนถาวร  +  ไม่เกิน  5,000  บาท คงทนถาวร  +  เกิน  5,000  บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม
5,000  บาท ปรับปรุงครุภัณฑ์ / คอมพิวเตอร์ งบลงทุน งบดำเนินงาน
50,000  บาท ปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง งบลงทุน งบดำเนินงาน
ซ่อมแซม งบดำเนินงาน งบดำเนินงาน บาท บาท
สอบราคา ( เกิน  1  แสน  ไม่เกิน  2  ล้าน ) ประกวดราคา ( เกิน  2  ล้าน ) วิธีพิเศษ ( เกิน  1  แสน ) วิธีกรณีพิเศษ ตกลงราคา ( ไม่เกิน  1  เสน ) ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์  ( เกิน  2  ล้าน ) การจัดซื้อ/จ้าง
[object Object],ตกลงราคา ตามข้อ  39  วรรคหนึ่ง ตรวจรับ หน . จนท . พัสดุ ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง ผู้บริหาร รร . ส่งพัสดุ จนท . พัสดุ ผู้บริหาร เบิกจ่าย
ตามข้อ  39  วรรคสอง จนท . ผู้รับผิดชอบ ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง หน . จนท . พัสดุ จนท . พัสดุ ผู้บริหาร เบิกจ่ายเงิน
คำสั่งซื้อถาวร (Blanket Orders) สั่งซื้อพัสดุชนิดเดียวแต่ราคาตายตัว  คำสั่งซื้ออาจจะเป็นสัญญาหรือข้อตกลง ของการจัดหาพัสดุจำนวนหนึ่งให้ได้ในปริมาณที่กำหนด และในราคาที่ตกลงกันไว้  ถ้ามิได้ระบุราคาไว้ก็ต้องมีวิธีการคิดราคาระบุไว้ในสัญญา การส่งของมีการกำหนดในข้อตกลงที่จะส่งพัสดุตามที่ระบุไว้ไปให้ผู้ซื้อตามที่ต้องการภายในระยะเวลาที่กำหนด  มิได้ระบุปริมาณทั้งหมดไว้  แต่มีการคำนวณระยะเวลาสิ้นสุด
1.  เกิดความง่ายในงานเอกสารเพื่อออกคำสั่งซื้อ และใบส่งของ 2.  เป็นการยืนยันให้แน่ใจว่ามีการส่งของสม่ำเสมอ  3.  ลดการลงทุนในพัสดุคงคลังจากจำนวนมากลงสู่ จำนวนพอเหมาะกับการใช้ 4.  ลดเวลาการจัดซื้อ  / สามารถรวบรวมข้อมูลได้ง่าย ข้อดี ,[object Object],[object Object],[object Object]
1.  สัญญามีกำหนดระยะเวลา เริ่ม  -  จบ 2.  ผู้ขายจำเป็นต้องมีสินค้าสำรองไว้ในคลังเพื่อ ให้ผู้ซื้อตามสัญญา 3.  กำหนดเวลาส่งของต้องได้ตามสัญญา 4.  กำหนดให้ผู้ซื้อสามารถยกเลิกสัญญาได้ -  กรณีสินค้าไม่ได้คุณภาพ -  ไม่ตรงตามกำหนดเวลา สัญญา
การตรวจการจ้าง การ ส่งมอบงาน ผู้รับจ้าง ผู้ควบคุมงาน งานสารบรรณ เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้ควบคุมงาน
การนับระยะเวลา ผู้ควบคุมงาน 3  วันทำการ คณะกรรมการตรวจการจ้าง 3 วันทำการ 5 วันทำการ ทุกงวด งวดงาน งวดสุดท้าย
ระยะเวลาในการตรวจรับพัสดุ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุดำเนินการตรวจรับในวันที่คู่สัญญานำพัสดุมาส่งมอบและให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สุด แต่อย่างช้าไม่เกิน  5  วันทำการนับแต่วันที่คู่สัญญานำพัสดุมาส่งมอบ  ( ไม่รวมถึงระยะเวลาในการตรวจทดลอง หรือตรวจสอบในทางเทคนิค หรือทางวิทยาศาสตร์ )  หากไม่สามารถดำเนินการได้ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการ พร้อมเหตุผล ความจำเป็น พร้อมกับสำเนาแจงให้คู่สัญญาทราบ
กำหนดราคากลาง การคำนวณราคากลาง องค์ประกอบ 1.  ประธาน ข้าราชการตั้งแต่ระดับ  3  หรือเทียบเท่า  ขึ้นไป  1  คน ,[object Object],3.  ควรมีผู้มีความรู้เกี่ยวกับการประมาณราคาร่วมเป็นกรรมการด้วย  กรณีจำเป็นหรือเพื่อประโยชน์ของทางราชการจะแต่งตั้งบุคคลภายนอกซึ่งไม่มีส่วนได้เสียกับการก่อสร้างร่วมเป็นกรรมการด้วยก็ได้
อำนาจหน้าที่ คำนวณราคากลางงานก่อสร้างให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์แล้วนำเสนอหัวหน้าส่วนราชการก่อนวันประกาศสอบราคาหรือประกวดราคาหรือก่อนดำเนินการจัดทำ  TOR  สำหรับ การจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
กรณีราคากลางแตกต่างกับราคาของผู้เสนอราคารายที่เห็นสมควรจ้างตั้งแต่ร้อยละ  15  ขึ้นไป ให้คณะกรรมการกำหนดราคากลางแจ้งรายละเอียดการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างให้ สตง . ทราบโดยเร็ว   การแจ้ง สตง . ไม่มีผลผูกพันต่อผู้มีอำนาจในการพิจารณารับหรือไม่รับราคาของผู้เสนอราคา
ในการจ้างก่อสร้างให้ประกาศราคากลางที่คณะกรรมการกำหนดราคากลางได้คำนวณไว้ในประกาศสอบราคา ประกาศประกวดราคา หรือการจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ รายละเอียดของการคำนวณราคากลางตาม  BOQ   ( Bill of Quantities)  ให้จัดเตรียมไว้ หากมีผู้สนใจขอตรวจดูหรือขอถ่ายสำเนา จะต้องดำเนินการตามคำขอทันที และให้ปฏิบัติตาม พรบ . ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ . ศ .  ๒๕๔๐
การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างของทางราชการ ราคาวัสดุก่อสร้างให้ใช้ราคาปัจจุบัน ส่วนกลาง  ( กรุงเทพฯ ปริมณฑล )  ใช้ราคา  สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์  ส่วนภูมิภาคใช้ราคาสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
ถ้าไม่ได้กำหนดราคาไว้ ให้ผู้มีหน้าที่คำนวณราคากลางสืบราคาเอง พร้อมทั้งจัดทำบันทึกแสดงรายละเอียดของการสืบราคา  และการกำหนดราคาดังกล่าวไว้เป็นหลักฐาน
 
 
 
 
 
 
 
การเบิกเงินค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค  0502/ ว  172  ลงวันที่  26  ตุลาคม  2535
หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง 1.  อัตราค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้าง  -  สัญญาที่มีวงเงินตั้งแต่  15  ล้านบาทขึ้นไป อัตราคนละ ครั้งละ  300 บาท / วัน  -  สัญญาวงเงินต่ำกว่า  15  ล้านบาท อัตราคนละ 250  บาท / วัน
2.  ผู้ควบคุมงาน  -  หัวหน้า อัตราคนละวันละ  250  บาท  -  ผู้ควบคุมงาน อัตราคนละวันละ  200  บาท  3.  การเบิกจ่าย เฉพาะวันที่มีการปฏิบัติงานไม่เกินคนละ 1  ครั้ง / 1  วัน  4.  การเบิกจ่ายไม่กระทบในการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดิน ทางไปราชการ ตาม พรก . ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ราชการ  5.  กรณีแต่งตั้งบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่ข้าราชการ ให้ได้รับ เงินเพิ่มอีก  1  เท่า
คณะกรรมการตรวจการจ้าง 1.  สำเนาคำสั่งแต่งตั้ง  2.  สำเนาใบตรวจการจ้าง 3.  ใบสำคัญรับเงิน  ผู้ควบคุมงาน   1.  สำเนาคำสั่งแต่งตั้ง  2.  สำเนาบันทึกการคุมงาน  3.  ใบสำคัญรับเงิน หลักฐานที่ใช้ในการเบิกจ่าย
การประเมินราคาและการต่อรองราคา 1.  ขอบเขตของการประเมิน -  เฉพาะงานก่อสร้าง -  ผู้เสนอราคาที่คัดเลือกไว้แล้วเสนอราคาอยู่ในวงเงิน ที่จะจ้าง -  ประเมินราคาเฉพาะผู้เสนอราคาที่คัดเลือกไว้แล้ว ซึ่งเสนอราคาต่ำสุดเท่านั้น
2.  วิธีการประเมิน ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาตรวจสอบราคาที่ผู้เสนอราคาได้เสนอไว้ในรายการที่เป็นหัวข้อใหญ่ของส่วนการก่อสร้างว่าถูกต้องหรือไม่ หากปรากฏว่าราคาของรายการใดสูงผิดปกติ  ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง ให้เชิญผู้เสนอราคารายนั้น  มาเจรจาเพื่อปรับลดราคาลงมา  แล้วแก้ไขยอดรวมให้ตรงกัน  ซึ่งเมื่อประเมินราคาปรับลดแล้ว จะทำให้ยอดรวมใหม่ต่ำกว่ายอดรวมที่ผู้เสนอราคาได้เสนอไว้เดิม
การต่อรองราคา กรณีผู้เสนอราคาเสนอราคาไม่เกินราคาและเป็นราคาซึ่งได้มีการประเมินแล้ว ห้ามต่อรองราคาอีก ในกรณีปรากฏว่าราคาของผู้เสนอราคาที่คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเห็นสมควรจ้างยังสูงกว่าวงเงิน งปม . ค่าก่อสร้างให้ดำเนินการต่อรองตามลำดับขั้นตอนดังนี้ 1.  เรียกผู้เสนอราคารายนั้นมาต่อรองราคาให้ต่ำสุดเท่าที่  จะทำได้ หากยอมลดราคาให้ และมีราคาสูงกว่า งปม . ไม่เกินร้อยละ  10  ถ้าเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็นราคาที่เหมาะสมให้เสนอจ้างจากผู้เสนอราคารายนั้น
2.  ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกผู้เสนอราคารายที่ผ่านการพิจารณาตรวจสอบและคัดเลือกทุกรายมาต่อรองราคาใหม่พร้อมกันด้วยวิธีการให้เสนอราคาใหม่พร้อมกัน หากรายใดยอมลดราคาให้และมีราคาสุงกว่า งปม . ไม่เกินร้อยละ  10  ถ้าคณะกรรมการเห็นว่าเป็นราคาที่เหมาะสมให้เสนอจ้างจากผู้เสนอราคารายนั้น 3.  ถ้าไม่ได้ผลให้เสนอทางเลือกทางหนึ่งทางใดดังนี้  -  ยกเลิก ดำเนินการใหม่ -  ขอ งปม . เพิ่มเติม -  ปรับลดรายการในการก่อสร้าง
ให้ส่วนราชการจัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สินเพียงแบบเดียวเฉพาะทรัพย์สินที่จัดซื้อจัดหามาใหม่ตั้งแต่ปีงบประมาณ  2547  เป็นต้นไป การจัดทำทะเบียนทรัพย์สิน หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค  0410.3/ ว  338  ลงวันที่  5  พฤศจิกายน  2546
การตรวจสอบพัสดุ  ( เก่า ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การตรวจสอบและจำหน่ายพัสดุประจำปี
หน่วยงานที่ต้องตรวจสอบพัสดุ 1.  หน่วยงานที่จัดซื้อพัสดุใช้เอง 2.  หน่วยงานที่จัดซื้อพัสดุแล้วนำไปจ่ายกับหน่วยงานรอง 3.  หน่วยงานที่เบิกพัสดุแล้วนำไปจ่ายกับหน่วยงานรอง
หลักการแต่งตั้ง ,[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],(ตามระเบียบข้อ 155 วรรคสอง)
ขอบเขตการตรวจสอบ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1.  ส่งสำเนารายงานการตรวจสอบจำนวน 1  ชุดไปยัง  สตง . / สตง .  ภูมิภาค 2.  หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบหา ข้อเท็จจริง  ในกรณีมีพัสดุชำรุด  เสื่อมคุณภาพ  หรือสูญไป  หรือไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป ข้อ 1 ตามระเบียบ ข้อ 155 วรรคสาม ข้อ 2 ตามระเบียบ ข้อ 156 วรรคหนึ่ง  เมื่อหัวหน้าสถานศึกษาได้รับรายงานผล การตรวจสอบแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
[object Object],[object Object],[object Object],(ตามระเบียบข้อ 156)
การรายงานผลการตรวจสอบ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
หัวหน้าส่วนราชการพิจารณาดำเนินการดังนี้ ,[object Object],[object Object],2.  กรณีไม่มีผู้ต้องรับผิดชอบ และเห็นว่าพัสดุหมดความ จำเป็นหรือหากใช้ต่อไปจะสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายมากให้ สั่งการให้เจ้าหน้าที่พัสดุตรวจสอบสภาพพัสดุเพื่อ  เสนอความคิดเห็นวิธีในการจำหน่ายตามระเบียบพัสดุ ตามระเบียบข้อ 157 วรรคหนึ่ง ข้อ 2
[object Object],[object Object],[object Object],1.  ขาย 5.  เป็นสูญ ในวงเงินที่ซื้อหรือได้มารวมกันไม่เกิน  500,000  บาท  * * 2.  แลกเปลี่ยน 3.  โอน  4.  แปรสภาพ ตามระเบียบข้อ 157(1) ถึง (4) และข้อ 159 (1)
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตามระเบียบข้อ 157 วรรคสอง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การตรวจสอบ/จำหน่ายพัสดุ หาตัวผู้รับผิด ไม่มีตัวผู้รับผิด คณะกรรมการ ตรวจสอบ พัสดุประจำปี คณะกรรมการ สอบหาข้อเท็จจริง ห . จนท . พัสดุ . สตง . ขาย ทอดตลาด ตกลงราคา แลกเปลี่ยน  แปรสภาพ  เป็นสูญ  โอน  หน . ส่วน ราชการ หน . ส่วน ราชการ หน . ส่วน ราชการ
[object Object],-  ยังคงสาระสำคัญของสัญญา หรือข้อตกลงที่มีอยู่เดิม -  ดำเนินการก่อนการตรวจรับมอบงาน การเปลี่ยนแปลงหลังทำสัญญา
สาเหตุของการแก้ไข ,[object Object],[object Object],[object Object]
การตกลงกับผู้ขาย / ผู้รับจ้าง ,[object Object],ผู้ขอเปลี่ยนแปลง ,[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],การขยายเวลา
2.  เหตุสุดวิสัย “ เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลพิบัติก็ดี ไม่มีใครจะอาจป้องกันได้ แม้บุคคลผู้ต้องประสบ หรือใกล้จะต้องประสบเหตุนั้นจะได้จัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายได้จากบุคคลนั้นในฐานะเช่นนั้น
3.  เหตุเกิดจากพฤติการณ์อันหนึ่งอันใดที่คู่สัญญา ไม่ต้องรับผิดตามกฎหมาย
กรณีมีผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ๑ .  ไม่ประกาศรายชื่อผู้เสนอราคาทุกราย ๒ .  แจ้งให้ผู้เสนอราคาทราบโดยพลัน  ๓ .  ไม่เปิดซองใบเสนอราคา ๔ .  ผู้เสนอราคามีสิทธิ์อุทธรณ์ต่อปลัดกระทรวงภายใน  3  วัน ๕ .  การยื่นอุทธรณ์ไม่เป็นการขยายเวลา เว้นแต่ปลัดกระทรวงเห็นว่า เป็นประโยชน์แก่ทางราชการ ๖ .  ปลัดกระทรวงเห็นด้วยกับคำคัดค้านของผู้อุทธรณ์  ปลัดกระทรวงมีอำนาจยกเลิก
กรณีผู้เสนอราคายื่นเอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ ๑ .  ไม่ประกาศรายชื่อผู้เสนอราคา  ( เฉพาะกรณีที่ยื่นไม่ครบ )  ๒ .  แจ้งให้ผู้เสนอราคาทราบ ๓ .  ไม่เปิดซองใบเสนอราคา ๔ .  ไม่มีสิทธ์อุทธรณ์ตามระเบียบข้อ  15  เบญจ วรรคสอง
หลักการจัดหาพัสดุ -  ความคุ้มค่า  (Value for Money) -  ความโปร่งใส  (Transparency) ,[object Object],[object Object],-  ความรับผิดชอบต่อผลสำเร็จของงาน  (Accountability)
วิธีการจะได้มา ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เป้าหมายในการจัดซื้อ 6 R 1.  คุณภาพที่ถูกต้อง  ( R ight  Quality) 2.  ปริมาณที่ถูกต้อง  ( R ight  Quantity) 3.  ณ เวลาที่ถูกต้อง  ( R ight  Time) 4.  จากแหล่งขายที่ถูกต้อง  ( R ight Source) 5.  ในราคาที่ถูกต้อง  ( R ight  Pricey) 6.  กฎระเบียบที่ถูกต้อง  ( R ight Regulation)
การเตรียมการจัดหาพัสดุ    ด้านการเงิน ,[object Object],[object Object],-  กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ อนุญาตให้จ่ายได้
-  วางแผนการจัดหา    ด้านพัสดุ -  กำหนดรูปแบบรายการ รายละเอียดคุณลักษณะของพัสดุที่จะ จัดหา หรือขอบเขตรายละเอียดการดำเนินงาน -  พิจารณาประเภทพัสดุที่ต้องการจัดหา    ประเภทพัสดุ -  วัสดุ -  ครุภัณฑ์ -  ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
การกำหนด Spec.ในการจัดซื้อ ๑ .  ต้องสอดคล้องกับระเบียบพัสดุ ฯ ข้อ  ๑๖ ,[object Object],[object Object],กรณีมีคุณลักษณะเฉพาะในบัญชีราคามาตรฐานให้ใช้ตามบัญชีราคามาตรฐาน หรือหาก สพฐ . มี  Spec . ให้ใช้ของ สพฐ .
2.  แต่งตั้ง 1.  ตำแหน่ง จนท.พัสดุ/หน.จนท.พัสดุ
จนท.พัสดุ เจ้าหน้าที่ซึ่งดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุ หรือผู้ได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้มีหน้าที่ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุตามระเบียบนี้ หน.จนท.พัสดุ หัวหน้าหน่วยงาน ระดับกองหรือที่มีฐานะเทียบกองซึ่งปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับการพัสดุตามที่องค์กร กลางบริหารงานบุคคลกำหนดหรือ ข้าราชการ อื่นซึ่งได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
หน้าที่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ 1.  จัดซื้อหรือจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา  (39) 2.  รวบรวมความเห็นของคณะกรรมการ -  เปิดซองสอบราคา  42 (5) -  พิจารณาผลการประกวดราคา  50 (3) -  จัดซื้อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษ  (57)  (58) เสนอหัวหน้าส่วนราชการ / ผู้รับมอบอำนาจ
3.  เก็บรักษาซองในการสอบราคา ตามข้อ  41 4.  รับผิดชอบควบคุมดูแล และจัดทำหลักฐาน การเผยแพร่ ในการปิดประกาศประกวดราคา ภายในระยะเวลาที่กำหนด ตามข้อ  45 5.  จัดซื้อหรือจัดจ้างวิธีกรณีพิเศษ  (59)  ครั้งหนึ่ง ไม่เกิน  100,000  บาท 6.  ดูแลบำรุงรักษาและตรวจสอบความชำรุด บกพร่องภายในกำหนดเวลารับประกัน
หน้าที่ของเจ้าหน้าที่พัสดุ 1.  ทำรายงานขอซื้อขอจ้าง  (27)  และดำเนินการ ตามวิธีซื้อ หรือวิธีจ้าง  (29) 2.  ต่อรองและตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง วิธีตกลงราคา  (39) 3.  ปิดประกาศ ส่งประกาศสอบราคาไปร้านค้า (41)  จัดทำเอกสารสอบราคา  (40)
5.  การประกวดราคา -  จัดเตรียมเอกสารส่งมอบให้ ผู้นำส่งไปประกาศทางวิทยุ ส่วนราชการ  (45) 4.  จัดทำเอกสารประกวดราคา  (44) -  จัดเตรียมตู้ที่มีกุญแจ ปิดตลอดเวลา
7.  เตรียมการเกี่ยวกับการให้หรือ ขายแบบตาม  (46) 6.  รับซองใบเสนอราคาในการซื้อหรือการจ้าง โดยวิธีสอบราคากรณียื่นซองโดยตรง  (41)
8.  รับใบตรวจรับพัสดุ หรืองานจ้างจากคณะกรรมการ ตรวจรับ  และดำเนินการเบิกเงิน  ให้ผู้ขายหรือ ผู้รับจ้าง  (71, 72) 9.  จัดทำรายงานเสนอความเห็นในการแลกเปลี่ยน พัสดุ  (124)  และทำรายงานการเช่าตามข้อ  130 10.  ลงบัญชี หรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ ที่ได้ รับมอบ เรียบร้อยแล้ว  (152)
11.  เสนอรายงานเกี่ยวกับการจำหน่ายพัสดุ  (157) 12.  ลงจ่ายพัสดุที่ได้จำหน่ายแล้วออกจากบัญชี  หรือทะเบียน  (160)
สอบราคา จนท . พัสดุ หน . จนท . พัสดุ จัดทำรายงานประกาศ เอกสาร คณะกรรมการ หนังสือแจ้ง ผู้บริหาร ลงนามในเอกสาร
[object Object],-  เจ้าหน้าที่พัสดุจัดทำเอกสารตามข้อ  40  การดำเนินการสอบราคา -  การเผยแพร่เอกสาร ก่อนวันปิดการรับซองไม่น้อยกว่า  10  วัน ปิดประกาศ / ส่งโดยตรงทางไปรษณีย์ลงทะเบียน
[object Object],-  ยื่นด้วยตนเอง  / ไปรษณีย์ -  ส่งถึงโรงเรียนภายในวันเวลาที่กำหนด การรับซอง -  ส่งมอบหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุทันที -  เจ้าหน้าที่รับโดยไม่เปิดซอง การยื่นซอง
ระยะเวลาการสอบราคา ประกาศ / ปิด /  ส่งประกาศ แจก / รับซอง เปิด ซอง ไม่น้อยกว่า  10  วัน
การเก็บรักษาซอง -  หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุเก็บรักษาซอง -  ส่งมอบคณะกรรมการเปิดซองสอบราคาโดยพลัน การพิจารณาในการสอบราคา -  เปิดซอง อ่านราคา ลงชื่อกำกับ -  ตรวจสอบคุณสมบัติ คัดเลือก -  คัดเลือกคุณภาพ คุณสมบัติ ตัดสินต่ำสุด  -  เสนอผู้บริหาร ผ่าน หน . จนท . พัสดุ
เจ้าหน้าที่ การรับและเปิดซองสอบราคา ผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา / บัญชีรายการก่อสร้าง เอกสารส่วนที่  1 /2 หน . จนท . พัสดุ คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
ตรวจสอบเอกสาร 1  ก่อนเปิดซองใบเสนอราคา คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันหรือไม่ ประกาศรายชื่อ  ผู้มีสิทธิ์ ตัดรายชื่อผู้มีผลประโยชน์  ร่วมกัน / แจ้งโดยพลัน
1.  เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้มีสิทธิได้รับการ  คัดเลือก  อ่านราคา  - บัญชีรายการเอกสาร / ตรวจ สอบรายการเอกสารตามบัญชีของผู้เสนอราคา  ลงลายมือชื่อ 2.  ตรวจสอบคุณสมบัติ ใบเสนอราคา ราละเอียด คัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้อง 3.  คัดเลือกที่มีคุณภาพ / คุณสมบัติเป็นประโยชน์ ต่อทางราชการ ให้ซื้อ / จ้างที่เสนอราคาต่ำสุด
เป็นผู้มีส่วนได้เสีย  ( ทางตรง / อ้อม ) การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน บุคคล/นิติบุคคลอื่น บุคคลนิติบุคคล ในการเสนอราคา / เสนองาน ในคราวเดียวกัน เชิงบริหาร เชิงทุน ไขว้กัน
เชิงบริหาร ผู้จัดการ  หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจในการ ดำเนินงาน บุคคลหรือ นิติบุคคล อีกรายหนึ่ง หรือหลาย ราย มีอำนาจ หรือสามารถ ใช้อำนาจ ในการบริหาร จัดการกิจการ
หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วนสามัญ หุ้นส่วนไม่จำกัด ความรับผิดใน หจก . ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก .  บ . มหาชน หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วน สามัญ / หจก . ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ใน บจก . / บ มหาชน เชิงทุน
ผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ ไขว้กัน กรรมการผู้จัดการ  ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจ ในการดำเนินงาน หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วน สามัญ /  หจก . ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ใน บจก . บ . มหาชน
กรณีอื่น ๆ -  เสนอราคาเท่ากัน  ( เสนอราคาใหม่โดยยื่นซอง ) -  มีรายเดียว  ( ไม่ยกเลิก ) -  รายต่ำสุดเสนอเกินวงเงิน  ( ข้อ  43)
[object Object],การรับประกัน งานซื้อ
สัญญา  1.  สัญญาลดรูป 2.  สัญญาชนิดไม่มีรูป 3.  สัญญาเต็มรูป ประเภทสัญญา
สัญญา 34 134 135 139 136 137 138 145
สัญญาจ้างก่อสร้าง 1.  หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา  ให้ตรวจสอบกับธนาคาร 2.  กำหนดเวลาแล้วเสร็จ ข้อ  5  ผู้รับจ้างต้องเริ่มทำงานที่รับจ้างภายในวันที่  …………… และจะต้องทำงานให้แล้วเสร็จภายในวันที่  …………………… .. 3.  การรับประกันความรับผิดชอบในความชำรุดบกพร่องของงานจ้าง 4.  การจ้างช่วง ข้อ  7 5.  การควบคุมงานของผู้รับจ้าง ข้อ  8
6.  ค่าปรับ ตามข้อ  15 “ และจะต้องชำระค่าใช้จ่ายในการควบคุมงานในเมื่อผู้ว่าจ้างต้องจ้างผู้ควบคุมงานอีกต่อหนึ่งเป็นจำนวนเงินวันละ  …………… . บาท”  7.  การขยายเวลาปฏิบัติงานตามสัญญา ตามข้อ  19
8.  ผู้รับจ้างต้องจัดทำและติดตั้งแผ่นป้ายแสดงรายละเอียด  (1)  ชื่อหน่วยงานเจ้าของโครงการ  ( ระบุชื่อโรงเรียนและ สพฐ .) สถานที่ติดต่อ และหมายเลขโทรศัพท์  (2)  ประเภท และชนิดของสิ่งก่อสร้าง  (3)  ปริมาณงานก่อสร้าง (4)  ชื่อ ที่อยู่ ผู้รับจ้าง พร้อมหมายเลขโทรศัพท์  (5)  ระยะเวลาเริ่มต้น และระยะเวลาสิ้นสุด (6)  วงเงินค่าก่อสร้าง
(7)  ชื่อเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการผู้ควบคุมงาน  พร้อมหมายเลขโทรศัพท์  (8)  ชื่อวิศวกรของผู้รับจ้าง  (9)  ข้อความที่ระบุว่า “กำลังก่อสร้างด้วยเงินภาษีอากรของ ประชาชน”
มาตรา  474 ความรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่อง มาตรา  474  ในข้อรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่องนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลาปีหนึ่งนับแต่เวลาที่ได้พบเห็นความชำรุดบกพร่อง
มาตรา  473 ผุ้ขายย่อมไม่ต้องรับผิดในกรณีดังต่อไปนี้ 1.  ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วแต่ในเวลาซื้อขายว่ามีความชำรุดบกพร่อง หรือควรจะได้รู้เช่นนั้นหากได้ใช้ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายได้ 2.  ถ้าความชำรุดบกพร่องนั้นเป็นอันเห็นประจักษ์แล้วในเวลาส่งมอบและผู้ซื้อรับเอาทรัพย์สินนั้นไว้โดยมิได้อิดเอื้อน 3.  ถ้าทรัพย์สินนั้นได้ขายทอดตลาด
มาตรา  601 ท่านห้ามมิให้ฟ้องผู้รับจ้างเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่วันการชำรุดบกพร่องได้ปรากฎขึ้น
การคืนหลักประกันสัญญา หัวหน้าหน่วยงานผู้ครอบครองพัสดุ  หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลบำรุงรักษา  และตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ ในกรณีไม่มีผู้ครอบครอง  หรือมีหลายหน่วยงานครอบครอง ให้หัวหน้าเจ้าที่พัสดุมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลบำรุงรักษา  และตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ ผู้รับผิดชอบ
ระยะเวลา ก่อนสิ้นสุดเวลาการประกันความชำรุดบกพร่องภายใน 15  วัน สำหรับหลักประกันสัญญาที่มีระยะเวลาของการประกันไม่เกิน  6  เดือน  หรือภายใน  30  วัน  สำหรับหลักประกันสัญญาที่มีระยะเวลาของการประกันตั้งแต่  6  เดือนขึ้นไปให้ผู้มีมีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ
การปฏิบัติ กรณีปรากฎความชำรุดบกพร่องของสิ่งของ หรืองานจ้างภายในระยะเวลาของการประกันความชำรุดบกพร่องให้  ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบรายงานผู้บริหาร เพื่อแจ้งผู้ขายหรือ  ผู้รับจ้างดำเนินการแก้ไขซ่อมแซมทันที  พร้อมแจ้งผู้ค้ำประกัน  ( ถ้ามี )
[object Object],การบอกเลิกสัญญา 2.  ไม่ปฏิบัติตามสัญญา และค่าปรับจะเกินร้อยละ  10  ของวงเงินค่าพัสดุ หรือค่าจ้าง
[object Object],ผลของการบอกเลิกสัญญา 2.  เป็นผู้ทิ้งงาน  3.  เรียกร้องค่าเสียหายจากผู้รับจ้าง  /  ธนาคารผู้ค้ำประกัน
ปพพ. 193/8 ถ้าวันสุดท้ายของระยะเวลาเป็นวันหยุดทำการตามประกาศเป็นทางการหรือตามประเพณี ให้นับวันที่เริ่มทำการใหม่ต่อจากวันที่หยุดทำการนั้นเป็นวัน  สุดท้ายของระยะเวลา
-  ตรวจสอบได้และเป็นธรรม หลักการควบคุมงาน -  งานที่ทำต้องเปิดเผย -  ยึดสัญญาในการทำงาน -  ประสานและโปร่งใส
ผู้ควบคุมงาน คุณสมบัติ -  มีความรู้ความชำนาญทางด้านช่าง -  มีคุณวุฒิตามที่ผู้ออกแบบเสนอแนะ โดย ปกติไม่ต่ำกว่าระดับ ปวช . -  เป็นข้าราชการ หรือลูกจ้างประจำ ในสังกัด  กรณีส่วนราชการอื่นต้องได้รับความยินยอมจาก ส่วนราชการต้นสังกัด
ผู้แต่งตั้ง ผู้บริหารสถานศึกษา / ศูนย์ ถ้าลักษณะงานก่อสร้างมีความจำเป็นต้องใช้ความรู้ความชำนาญหลายด้าน จะแต่งตั้งผู้ควบคุมงานเฉพาะด้านหรือเป็นกลุ่มบุคคลได้
1.  ตรวจและควบคุมงานทุกวันให้เป็นไปตามแบบรูป  รายการละเอียด  และข้อกำหนดไว้ในสัญญา 2.  ในกรณีแบบรูปรายการละเอียด หรือข้อกำหนดใน  สัญญามีข้อความขัดกัน  หรือเป็นที่คาดหมายได้ว่า  ถึงแม้ว่างานนั้น  จะได้เป็นไปตามแบบรูปรายการ ละเอียด  และข้อกำหนดในสัญญาแต่เมื่อสำเร็จ  แล้วจะไม่มั่นคงแข็งแรงหรือไม่เป็นไปตามหลักวิชา ช่างที่ดีหรือไม่ปลอดภัยให้สั่งพักงานนั้นไว้ก่อนแล้ว รายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างโดยเร็ว อำนาจหน้าที่
(3)  จดบันทึก อย่างน้อย  2  ฉบับ -  สภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง   -  เหตุการณ์แวดล้อมเป็นรายวัน -  ผลการปฏิบัติงาน  -  การหยุดงานและสาเหตุที่มีการหยุดงาน การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างให้ระบุ รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานและวัสดุที่ใช้ด้วย
(4)  ในวันกำหนดลงมือทำการของผู้รับจ้างตามสัญญา  และในวันถึงกำหนดส่งมอบงานแต่ละงวดให้ รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างว่าเป็นไป ตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง ทราบภายใน  3  วันทำการนับแต่วันถึงกำหนดนั้น
ตัวอย่าง โครงการ …………… ..……….……………  สัญญาเลขที่ ………………………………… .…  วันเริ่มทำงาน ……………………………  วันแล้วเสร็จ ………………… .…………………  จำนวนงวด …………… ..…………  งวด   วงเงินตามสัญญา ……………………………  รายงานการปฏิบัติงานในการควบคุมงานก่อสร้าง ว . ด . ป . งานที่ปฏิบัติ วัสดุที่ใช้ จำนวน คนงาน เหตุการณ์ แวดล้อม หมายเหตุ
รายการแก้ไขงานที่แตกต่างจากสัญญา  ……………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ...………  ………………………………………………………………………………………………………………… ...……… ลงชื่อ …………………………………………… ...………   ( ………………………………………………… )   ผู้ควบคุมงาน   วัน / เดือน / ปี หมายเหตุ   สามารถดัดแปลงใช้ได้หรือเป็นแนวทางได้ตามความเหมาะสม ห
ของฝาก การเป็นครูคุมงานขอให้มีใจรัก หนึ่ง  งานหนักเท่าไรไม่หน่ายหนี สอง   ซื่อสัตย์และมีคุณธรรมดี สี่  จดบันทึกรายวันสม่ำเสมอ ห้า   อย่าเผลอใช้วัสดุไม่ได้มาตรฐาน หก   มีปัญหาปรึกษาอย่ารำคาญ ทั้งนี้  เพื่อให้งานสำเร็จเสร็จด้วยดี . สาม  ต้องมีความรู้คู่กับงาน
พระราชดำรัส ,[object Object]
นักพัสดุที่ดี ระเบียบแม่นยำ ทำงานโปร่งใส จริงใจช่วยเหลือ ไม่เบื่อปัญหา
สวัสดี ขอบคุณ

More Related Content

Similar to 15 จุดอันตรายPpt

การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕Prachoom Rangkasikorn
 
คชจ เตรียมเชียงใหม่
คชจ เตรียมเชียงใหม่  คชจ เตรียมเชียงใหม่
คชจ เตรียมเชียงใหม่ nanapholua
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้WeIvy View
 

Similar to 15 จุดอันตรายPpt (9)

พัสดุ
พัสดุพัสดุ
พัสดุ
 
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
 
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
 
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
เอกสารบรรยายค่า K อ.วรรณศักดิ์ แก่นทรัพย์
 
คชจ เตรียมเชียงใหม่
คชจ เตรียมเชียงใหม่  คชจ เตรียมเชียงใหม่
คชจ เตรียมเชียงใหม่
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
 
Accout
AccoutAccout
Accout
 
Manager
ManagerManager
Manager
 
Co 3
Co 3Co 3
Co 3
 

More from wasan

บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"wasan
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
แบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณแบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณwasan
 
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาแบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาwasan
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
Social media data-from
Social media data-fromSocial media data-from
Social media data-fromwasan
 

More from wasan (8)

บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
บทคัดย่อ "งานเกษตรคู่บ้าน"
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
แบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณแบบสำรวจงบประมาณ
แบบสำรวจงบประมาณ
 
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษาแบบสำรวจฯสถานศึกษา
แบบสำรวจฯสถานศึกษา
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
Social media data-from
Social media data-fromSocial media data-from
Social media data-from
 

15 จุดอันตรายPpt

  • 2. มติคณะรัฐมนตรี ผลการเบิกจ่าย งบลงทุนต้องเบิกจ่ายในปีงบประมาณ ๒๕๕๐ ได้ร้อยละ ๗๓ ของวงเงินงบประมาณรายจ่ายลงทุนของแต่ละส่วนราชการ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๐ งบประมาณเบิกจ่ายในปีงบประมาณ ๒๕๕๐ ได้ร้อยละ ๙๓ ของวงเงินงบประมาณของแต่ละส่วนราชการ
  • 3.
  • 4. คุณสมบัติของผู้ปฏิบัติงาน 1. ความซื่อสัตย์ 2. ความรับผิดชอบ 3. ความคิดริเริ่ม 4. ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่น 5. ความสามารถในเชิงวิเคราะห์ 6. ความยืดหยุ่น
  • 5. คุณสมบัติของแหล่งขาย/รับจ้างที่ดี 1. มีความซื่อสัตย์ สุจริต และยุติธรรม 3. มีการกำหนดราคาอย่างยุติธรรม 5. มีฐานะการเงินที่ดี 4. มีกำลังผลิตหรือความสามารถในการจัดหาวัสดุมาสนอง ความต้องการของผู้ซื้อได้อย่างเพียงพอและทันเวลา 6. มีนโยบายและทัศนคติที่จะพัฒนาคุณภาพให้มี ความก้าวหน้าอยู่เสมอ 2. มีความสามารถในการทำงานหรือให้ความร่วมมือกับ ผู้ซื้อ / ผู้ว่าจ้างได้เป็นอย่างดี
  • 6.
  • 8. 15.อันตราย 1. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2. การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3. วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4. การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5. การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6. การปิดอากรแสตมป์ 7. การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ 39 วรรคสอง 8. ระยะเวลาการตรวจรับ
  • 9. 9. การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11. การตรวจสอบ BOQ งานจ้างก่อสร้าง 10. การจัดทำราคากลาง 13. การตรวจสอบพัสดุประจำปี 14. การเปลี่ยนแปลงรายการ 15. การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12. เอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. 15 จุดอันตราย 1. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2. การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3. วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4. การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5. การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6. การปิดอากรแสตมป์ 7. การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ 39 วรรคสอง 8. ระยะเวลาการตรวจรับ อะไรเป็นวัสดุ อะไรเป็นครุภัณฑ์
  • 15.
  • 16. 15 จุดอันตราย 1. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2. การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3. วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4. การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5. การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6. การปิดอากรแสตมป์ 7. การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ 39 วรรคสอง 8. ระยะเวลาการตรวจรับ ทุกเรื่องทำ 39 วรรคสอง
  • 17. 15 จุดอันตราย 1. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง 2. การแต่งตั้งคณะกรรมการ 3. วงเงินเท่าไรควรแต่งตั้งกรรมการกี่คน 4. การจัดซื้อ / จ้างวิธีกรณีพิเศษ 5. การจำแนกประเภทไม่ถูกต้อง 6. การปิดอากรแสตมป์ 7. การจัดซื้อ / จ้างตามนัยข้อ 39 วรรคสอง 8. ระยะเวลาการตรวจรับ ตรวจนาน ๆ
  • 18. 9. การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11. การตรวจสอบ BOQ งานจ้างก่อสร้าง 10. การจัดทำราคากลาง 13. การตรวจสอบพัสดุประจำปี - แจ้งการเรียกค่าปรับ - แจ้งสงวนสิทธิ์การปรับ 14. การเปลี่ยนแปลงรายการ 15. การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12. เอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ
  • 19. 9. การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11. การตรวจสอบ BOQ งานจ้างก่อสร้าง 10. การจัดทำราคากลาง 13. การตรวจสอบพัสดุประจำปี งานก่อสร้าง 14. การเปลี่ยนแปลงรายการ 15. การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12. เอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ
  • 20. 9. การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11. การตรวจสอบ BOQ งานจ้างก่อสร้าง 10. การจัดทำราคากลาง 13. การตรวจสอบพัสดุประจำปี การประเมินงานก่อสร้าง 14. การเปลี่ยนแปลงรายการ 15. การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12. เอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ
  • 21. 9. การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11. การตรวจสอบ BOQ งานจ้างก่อสร้าง 10. การจัดทำราคากลาง 12. เอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ 13. การตรวจสอบพัสดุประจำปี 14. การเปลี่ยนแปลงรายการ 15. การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา
  • 22. 9. การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11. การตรวจสอบ BOQ งานจ้างก่อสร้าง 10. การจัดทำราคากลาง 13. การตรวจสอบพัสดุประจำปี - ไม่ทำการตรวจสอบ - เกินกำหนดเวลา 14. การเปลี่ยนแปลงรายการ 15. การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12. เอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ
  • 23. 9. การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11. การตรวจสอบ BOQ งานจ้างก่อสร้าง 10. การจัดทำราคากลาง 13. การตรวจสอบพัสดุประจำปี 14. การเปลี่ยนแปลงรายการ ไม่เป็นไปตามสัญญา 15. การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา 12. เอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ
  • 24. 9. การส่งมอบพัสดุ / งานจ้างเกินกำหนดสัญญา 11. การตรวจสอบ BOQ งานจ้างก่อสร้าง 10. การจัดทำราคากลาง 13. การตรวจสอบพัสดุประจำปี 14. การเปลี่ยนแปลงรายการ 15. การงดหรือลดค่าปรับ การขยายเวลาทำการตามสัญญา - ขยายเวลาโดยไม่อิง ระเบียบพัสดุฯ - ไม่มีหลักฐาน 12. เอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ
  • 26. ผู้เกี่ยวข้องกับการซื้อ/จ้าง - จนท . พัสดุ - หน . จนท . พัสดุ - หัวหน้าส่วนราชการ - ผู้สั่งซื้อ สั่งจ้าง - คณะกรรมการต่าง ๆ - ผู้ควบคุมงาน หัวหน้าส่วนราชการ ปลัดกระทรวง รัฐมนตรี
  • 27. ๑ คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา ๒ คณะกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา ๓ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา ๔ คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ ๕ คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ ๖ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ๗ คณะกรรมการตรวจการจ้าง ๘ ผู้ควบคุมงาน คณะกรรมการในการซื้อ - การจ้าง ประเภท พัสดุ
  • 28. ผู้แต่งตั้ง : หัวหน้าส่วนราชการ องค์ประกอบ : ประธาน ( ระดับ 3 ขึ้นไป ) : กรรมการ ( ปกติระดับ 3 ขึ้นไป ) จำนวนอย่างน้อย 3 คน ( อาจตั้งบุคคลภายนอกร่วมก็ได้ ) เงื่อนไข : ต้องตั้งเป็นครั้ง ๆ ไป ( ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ ) หลักการ : ไม่ตั้งกรรมการซ้ำกัน แต่ระเบียบฯ ห้ามเฉพาะกรรมการรับและเปิดซองเป็น คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา / กรรมการเปิดซองสอบราคาและกรรมการพิจารณาผล เป็นกรรมการตรวจรับ : ต้องกำหนดระยะเวลาในการพิจารณา การแต่งตั้งคณะกรรมการ
  • 29. 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
  • 30. 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น 1. เงินเดือน 2. ค่าจ้างประจำ 3. ค่าจ้างชั่วคราว 4. ค่าตอบแทนพนักงานราชการ หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
  • 31. 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น 1. ค่าตอบแทน 2. ค่าใช้สอย 3. ค่าวัสดุ 4. ค่าสาธารณูปโภค หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
  • 32. เงินที่จ่ายค่าตอบแทนให้แก่ผู้ที่ปฏิบัติงานให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลังกำหนด เช่น ค่าจ้างนอกเวลา ค่าอาหารทำการนอกเวลา ค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้างละควบคุมงานก่อสร้างที่มีคำสั่งแต่งตั้งจากทางราชการ ค่าตอบแทน
  • 33. รายจ่ายประเภทค่าตอบแทน ลักษณะ เงินเดือน นอกเหนือเงินเดือน - นอกเวลาราชการปกติ - นอกเหนืองานในหน้าที่ - เงินเพิ่มรายเดือน
  • 34. รายจ่ายที่เบิกได้ เงินเดือน กระทรวงการคลัง มติ ครม . คำสั่ง ระเบียบ ข้อบังคับ อนุมัติให้จ่ายได้
  • 35. ค่าใช้สอย ค่าปักเสาพาดสายภายนอกสถานที่ราชการรวมถึงค่าติดตั้งหม้อแปลง เครื่องวัด และอุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการไฟฟ้า ค่าจ้างเหมาเดินสายไฟฟ้าและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าเพิ่มเติม รวมถึงการซ่อมแซม บำรุงรักษาหรือปรับปรุงระบบไฟฟ้า การเพิ่มกำลังไฟฟ้า การขยายเขตไฟฟ้า
  • 36. ค่าวางท่อประปาภายนอกสถานที่ราชการเพื่อให้ราชการได้ใช้บริการประปา รวมถึงค่าติดตั้งมาตรวัดน้ำและอุปกรณ์ประปา ซึ่งเป็นกรรมสิทธิ์ของการประปา ค่าจ้างเหมาเดินท่อประปาและติดตั้งอุปกรณ์ประปาเพิ่มเติม รวมถึงการซ่อมแซม บำรุงรักษาหรือปรับปรุงระบบประปา
  • 37. ค่าติดตั้งโทรศัพท์ พื้นฐาน ค่าเช่าทรัพย์สิน รวมถึงเงินที่ต้องจ่ายพร้อมกับการเช่าทรัพย์สิน เช่น ค่าเช่ารถยนต์ อาคารสิ่งปลูกสร้าง ที่ดิน ยกเว้นค่าเช่าบ้านและเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าเบี้ยประกัน ค่าจ้างเหมาบริการ แต่มิใช่เป็นการประกอบ ดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุงครุภัณฑ์ ที่ดิน และสิ่งก่อสร้าง ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษาทรัพย์สิน เพื่อให้ใช้งานได้ตามปกติ
  • 38. รายจ่ายเกี่ยวกับพิธีการและเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายอื่น ๆ เช่น 3. ค่าของขวัญ ของรางวัล หรือเงินรางวัล 4. ค่าพวงมาลัย ช่อดอกไม้ กระเช้าดอกไม้ หรือพวงมาลา 5. เงินประกันสังคม 1. ค่าใช้จ่ายในพิธีทางศาสนา 2. ค่ารับรองประเภทเครื่องดื่ม
  • 39. ต่อหน่วย / ชุด รายจ่ายเพื่อจัดหาสิ่งของ ใช้แล้ว สิ้นปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม คงทนถาวร ไม่เกิน 5,000 บาท
  • 40.
  • 41. ค่าสาธารณูปโภค รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภคสื่อสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้องชำระพร้อมกัน เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เช่น ค่าไฟฟ้า ค่าประปา ค่าน้ำบาดาล ค่าโทรศัพท์ ค่าบริการไปรษณีย์โทรเลข เช่น ค่าดวงตราไปรษณียากร ค่าเช่าตู้ไปรษณีย์ ค่าธรรมเนียมการโอนเงินผ่านธนาคาร ค่าบริการสื่อสารและ โทรคมคม เช่น ค่าระบบอินเทอร์เน็ต ค่าเคเบิ้ลทีวี
  • 42. หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย 1. งบบุคลากร 2. งบดำเนินงาน 3. งบลงทุน 4. งบเงินอุดหนุน 5. งบรายจ่ายอื่น 2. ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง 1. ค่าครุภัณฑ์ หลักการจำแนกประเภทรายจ่าย
  • 43.
  • 44. 4. รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบำรุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน เครื่องจักรกลยานพาหนะเป็นต้น ซึ่งไม่รวมถึงค่าซ่อมบำรุงปกติหรือค่าซ่อมกลาง 5. รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหารือปรับปรุงครุภัณฑ์
  • 45.
  • 46.
  • 47. 3. รายจ่ายเพื่อจ้างออกแบบ จ้างควบคุมงานที่จ่ายให้แก่เอกชน หรือนิติบุคคล 4. รายจ่ายเพื่อจ้างที่ปรึกษาเพื่อการจัดหา หรือปรับปรุง ที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง 5. รายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องกับที่ดินและหรือสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธิ์ที่ดิน ค่าชดเชยผลอาสิน เป็นต้น
  • 48. สรุป ครุภัณฑ์ วัสดุ 5,000 บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม คงทนถาวร + ไม่เกิน 5,000 บาท คงทนถาวร + เกิน 5,000 บาท
  • 49. สรุป ครุภัณฑ์ วัสดุ 5,000 บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม คงทนถาวร + ไม่เกิน 5,000 บาท คงทนถาวร + เกิน 5,000 บาท สิ้นเปลือง หมดไป แปรสภาพ ไม่คงสภาพเดิม
  • 50. 5,000 บาท ปรับปรุงครุภัณฑ์ / คอมพิวเตอร์ งบลงทุน งบดำเนินงาน
  • 51. 50,000 บาท ปรับปรุงสิ่งก่อสร้าง งบลงทุน งบดำเนินงาน
  • 53. สอบราคา ( เกิน 1 แสน ไม่เกิน 2 ล้าน ) ประกวดราคา ( เกิน 2 ล้าน ) วิธีพิเศษ ( เกิน 1 แสน ) วิธีกรณีพิเศษ ตกลงราคา ( ไม่เกิน 1 เสน ) ประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ( เกิน 2 ล้าน ) การจัดซื้อ/จ้าง
  • 54.
  • 55. ตามข้อ 39 วรรคสอง จนท . ผู้รับผิดชอบ ผู้ขาย / ผู้รับจ้าง หน . จนท . พัสดุ จนท . พัสดุ ผู้บริหาร เบิกจ่ายเงิน
  • 56. คำสั่งซื้อถาวร (Blanket Orders) สั่งซื้อพัสดุชนิดเดียวแต่ราคาตายตัว คำสั่งซื้ออาจจะเป็นสัญญาหรือข้อตกลง ของการจัดหาพัสดุจำนวนหนึ่งให้ได้ในปริมาณที่กำหนด และในราคาที่ตกลงกันไว้ ถ้ามิได้ระบุราคาไว้ก็ต้องมีวิธีการคิดราคาระบุไว้ในสัญญา การส่งของมีการกำหนดในข้อตกลงที่จะส่งพัสดุตามที่ระบุไว้ไปให้ผู้ซื้อตามที่ต้องการภายในระยะเวลาที่กำหนด มิได้ระบุปริมาณทั้งหมดไว้ แต่มีการคำนวณระยะเวลาสิ้นสุด
  • 57.
  • 58. 1. สัญญามีกำหนดระยะเวลา เริ่ม - จบ 2. ผู้ขายจำเป็นต้องมีสินค้าสำรองไว้ในคลังเพื่อ ให้ผู้ซื้อตามสัญญา 3. กำหนดเวลาส่งของต้องได้ตามสัญญา 4. กำหนดให้ผู้ซื้อสามารถยกเลิกสัญญาได้ - กรณีสินค้าไม่ได้คุณภาพ - ไม่ตรงตามกำหนดเวลา สัญญา
  • 59. การตรวจการจ้าง การ ส่งมอบงาน ผู้รับจ้าง ผู้ควบคุมงาน งานสารบรรณ เจ้าหน้าที่พัสดุ ผู้ควบคุมงาน
  • 60. การนับระยะเวลา ผู้ควบคุมงาน 3 วันทำการ คณะกรรมการตรวจการจ้าง 3 วันทำการ 5 วันทำการ ทุกงวด งวดงาน งวดสุดท้าย
  • 61. ระยะเวลาในการตรวจรับพัสดุ ให้คณะกรรมการตรวจรับพัสดุดำเนินการตรวจรับในวันที่คู่สัญญานำพัสดุมาส่งมอบและให้ดำเนินการให้เสร็จสิ้นไปโดยเร็วที่สุด แต่อย่างช้าไม่เกิน 5 วันทำการนับแต่วันที่คู่สัญญานำพัสดุมาส่งมอบ ( ไม่รวมถึงระยะเวลาในการตรวจทดลอง หรือตรวจสอบในทางเทคนิค หรือทางวิทยาศาสตร์ ) หากไม่สามารถดำเนินการได้ให้รายงานหัวหน้าส่วนราชการ พร้อมเหตุผล ความจำเป็น พร้อมกับสำเนาแจงให้คู่สัญญาทราบ
  • 62.
  • 64. กรณีราคากลางแตกต่างกับราคาของผู้เสนอราคารายที่เห็นสมควรจ้างตั้งแต่ร้อยละ 15 ขึ้นไป ให้คณะกรรมการกำหนดราคากลางแจ้งรายละเอียดการคำนวณราคากลางงานก่อสร้างให้ สตง . ทราบโดยเร็ว การแจ้ง สตง . ไม่มีผลผูกพันต่อผู้มีอำนาจในการพิจารณารับหรือไม่รับราคาของผู้เสนอราคา
  • 65. ในการจ้างก่อสร้างให้ประกาศราคากลางที่คณะกรรมการกำหนดราคากลางได้คำนวณไว้ในประกาศสอบราคา ประกาศประกวดราคา หรือการจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ รายละเอียดของการคำนวณราคากลางตาม BOQ ( Bill of Quantities) ให้จัดเตรียมไว้ หากมีผู้สนใจขอตรวจดูหรือขอถ่ายสำเนา จะต้องดำเนินการตามคำขอทันที และให้ปฏิบัติตาม พรบ . ข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ . ศ . ๒๕๔๐
  • 66. การคำนวณราคากลาง งานก่อสร้างของทางราชการ ราคาวัสดุก่อสร้างให้ใช้ราคาปัจจุบัน ส่วนกลาง ( กรุงเทพฯ ปริมณฑล ) ใช้ราคา สำนักดัชนีเศรษฐกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ ส่วนภูมิภาคใช้ราคาสำนักงานพาณิชย์จังหวัด
  • 68.  
  • 69.  
  • 70.  
  • 71.  
  • 72.  
  • 73.  
  • 74.  
  • 76. หลักเกณฑ์กระทรวงการคลัง 1. อัตราค่าตอบแทนคณะกรรมการตรวจการจ้าง - สัญญาที่มีวงเงินตั้งแต่ 15 ล้านบาทขึ้นไป อัตราคนละ ครั้งละ 300 บาท / วัน - สัญญาวงเงินต่ำกว่า 15 ล้านบาท อัตราคนละ 250 บาท / วัน
  • 77. 2. ผู้ควบคุมงาน - หัวหน้า อัตราคนละวันละ 250 บาท - ผู้ควบคุมงาน อัตราคนละวันละ 200 บาท 3. การเบิกจ่าย เฉพาะวันที่มีการปฏิบัติงานไม่เกินคนละ 1 ครั้ง / 1 วัน 4. การเบิกจ่ายไม่กระทบในการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดิน ทางไปราชการ ตาม พรก . ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ราชการ 5. กรณีแต่งตั้งบุคคลภายนอกที่ไม่ใช่ข้าราชการ ให้ได้รับ เงินเพิ่มอีก 1 เท่า
  • 78. คณะกรรมการตรวจการจ้าง 1. สำเนาคำสั่งแต่งตั้ง 2. สำเนาใบตรวจการจ้าง 3. ใบสำคัญรับเงิน ผู้ควบคุมงาน 1. สำเนาคำสั่งแต่งตั้ง 2. สำเนาบันทึกการคุมงาน 3. ใบสำคัญรับเงิน หลักฐานที่ใช้ในการเบิกจ่าย
  • 79. การประเมินราคาและการต่อรองราคา 1. ขอบเขตของการประเมิน - เฉพาะงานก่อสร้าง - ผู้เสนอราคาที่คัดเลือกไว้แล้วเสนอราคาอยู่ในวงเงิน ที่จะจ้าง - ประเมินราคาเฉพาะผู้เสนอราคาที่คัดเลือกไว้แล้ว ซึ่งเสนอราคาต่ำสุดเท่านั้น
  • 80. 2. วิธีการประเมิน ให้คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาตรวจสอบราคาที่ผู้เสนอราคาได้เสนอไว้ในรายการที่เป็นหัวข้อใหญ่ของส่วนการก่อสร้างว่าถูกต้องหรือไม่ หากปรากฏว่าราคาของรายการใดสูงผิดปกติ ไม่ถูกต้องตามความเป็นจริง ให้เชิญผู้เสนอราคารายนั้น มาเจรจาเพื่อปรับลดราคาลงมา แล้วแก้ไขยอดรวมให้ตรงกัน ซึ่งเมื่อประเมินราคาปรับลดแล้ว จะทำให้ยอดรวมใหม่ต่ำกว่ายอดรวมที่ผู้เสนอราคาได้เสนอไว้เดิม
  • 81. การต่อรองราคา กรณีผู้เสนอราคาเสนอราคาไม่เกินราคาและเป็นราคาซึ่งได้มีการประเมินแล้ว ห้ามต่อรองราคาอีก ในกรณีปรากฏว่าราคาของผู้เสนอราคาที่คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเห็นสมควรจ้างยังสูงกว่าวงเงิน งปม . ค่าก่อสร้างให้ดำเนินการต่อรองตามลำดับขั้นตอนดังนี้ 1. เรียกผู้เสนอราคารายนั้นมาต่อรองราคาให้ต่ำสุดเท่าที่ จะทำได้ หากยอมลดราคาให้ และมีราคาสูงกว่า งปม . ไม่เกินร้อยละ 10 ถ้าเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็นราคาที่เหมาะสมให้เสนอจ้างจากผู้เสนอราคารายนั้น
  • 82. 2. ถ้าไม่ได้ผลให้เรียกผู้เสนอราคารายที่ผ่านการพิจารณาตรวจสอบและคัดเลือกทุกรายมาต่อรองราคาใหม่พร้อมกันด้วยวิธีการให้เสนอราคาใหม่พร้อมกัน หากรายใดยอมลดราคาให้และมีราคาสุงกว่า งปม . ไม่เกินร้อยละ 10 ถ้าคณะกรรมการเห็นว่าเป็นราคาที่เหมาะสมให้เสนอจ้างจากผู้เสนอราคารายนั้น 3. ถ้าไม่ได้ผลให้เสนอทางเลือกทางหนึ่งทางใดดังนี้ - ยกเลิก ดำเนินการใหม่ - ขอ งปม . เพิ่มเติม - ปรับลดรายการในการก่อสร้าง
  • 83. ให้ส่วนราชการจัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สินเพียงแบบเดียวเฉพาะทรัพย์สินที่จัดซื้อจัดหามาใหม่ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2547 เป็นต้นไป การจัดทำทะเบียนทรัพย์สิน หนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค 0410.3/ ว 338 ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2546
  • 84.
  • 85.
  • 86. หน่วยงานที่ต้องตรวจสอบพัสดุ 1. หน่วยงานที่จัดซื้อพัสดุใช้เอง 2. หน่วยงานที่จัดซื้อพัสดุแล้วนำไปจ่ายกับหน่วยงานรอง 3. หน่วยงานที่เบิกพัสดุแล้วนำไปจ่ายกับหน่วยงานรอง
  • 87.
  • 88.
  • 89.
  • 90. 1. ส่งสำเนารายงานการตรวจสอบจำนวน 1 ชุดไปยัง สตง . / สตง . ภูมิภาค 2. หัวหน้าส่วนราชการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบหา ข้อเท็จจริง ในกรณีมีพัสดุชำรุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไป หรือไม่จำเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป ข้อ 1 ตามระเบียบ ข้อ 155 วรรคสาม ข้อ 2 ตามระเบียบ ข้อ 156 วรรคหนึ่ง เมื่อหัวหน้าสถานศึกษาได้รับรายงานผล การตรวจสอบแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้
  • 91.
  • 92.
  • 93.
  • 94.
  • 95.
  • 96.
  • 97. การตรวจสอบ/จำหน่ายพัสดุ หาตัวผู้รับผิด ไม่มีตัวผู้รับผิด คณะกรรมการ ตรวจสอบ พัสดุประจำปี คณะกรรมการ สอบหาข้อเท็จจริง ห . จนท . พัสดุ . สตง . ขาย ทอดตลาด ตกลงราคา แลกเปลี่ยน แปรสภาพ เป็นสูญ โอน หน . ส่วน ราชการ หน . ส่วน ราชการ หน . ส่วน ราชการ
  • 98.
  • 99.
  • 100.
  • 101.
  • 102. 2. เหตุสุดวิสัย “ เหตุใด ๆ อันจะเกิดขึ้นก็ดี จะให้ผลพิบัติก็ดี ไม่มีใครจะอาจป้องกันได้ แม้บุคคลผู้ต้องประสบ หรือใกล้จะต้องประสบเหตุนั้นจะได้จัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายได้จากบุคคลนั้นในฐานะเช่นนั้น
  • 104. กรณีมีผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน ๑ . ไม่ประกาศรายชื่อผู้เสนอราคาทุกราย ๒ . แจ้งให้ผู้เสนอราคาทราบโดยพลัน ๓ . ไม่เปิดซองใบเสนอราคา ๔ . ผู้เสนอราคามีสิทธิ์อุทธรณ์ต่อปลัดกระทรวงภายใน 3 วัน ๕ . การยื่นอุทธรณ์ไม่เป็นการขยายเวลา เว้นแต่ปลัดกระทรวงเห็นว่า เป็นประโยชน์แก่ทางราชการ ๖ . ปลัดกระทรวงเห็นด้วยกับคำคัดค้านของผู้อุทธรณ์ ปลัดกระทรวงมีอำนาจยกเลิก
  • 105. กรณีผู้เสนอราคายื่นเอกสารส่วนที่ 1 ไม่ครบ ๑ . ไม่ประกาศรายชื่อผู้เสนอราคา ( เฉพาะกรณีที่ยื่นไม่ครบ ) ๒ . แจ้งให้ผู้เสนอราคาทราบ ๓ . ไม่เปิดซองใบเสนอราคา ๔ . ไม่มีสิทธ์อุทธรณ์ตามระเบียบข้อ 15 เบญจ วรรคสอง
  • 106.
  • 107.
  • 108.
  • 109. เป้าหมายในการจัดซื้อ 6 R 1. คุณภาพที่ถูกต้อง ( R ight Quality) 2. ปริมาณที่ถูกต้อง ( R ight Quantity) 3. ณ เวลาที่ถูกต้อง ( R ight Time) 4. จากแหล่งขายที่ถูกต้อง ( R ight Source) 5. ในราคาที่ถูกต้อง ( R ight Pricey) 6. กฎระเบียบที่ถูกต้อง ( R ight Regulation)
  • 110.
  • 111. - วางแผนการจัดหา  ด้านพัสดุ - กำหนดรูปแบบรายการ รายละเอียดคุณลักษณะของพัสดุที่จะ จัดหา หรือขอบเขตรายละเอียดการดำเนินงาน - พิจารณาประเภทพัสดุที่ต้องการจัดหา  ประเภทพัสดุ - วัสดุ - ครุภัณฑ์ - ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
  • 112.
  • 113. 2. แต่งตั้ง 1. ตำแหน่ง จนท.พัสดุ/หน.จนท.พัสดุ
  • 114. จนท.พัสดุ เจ้าหน้าที่ซึ่งดำรงตำแหน่งที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการพัสดุ หรือผู้ได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้มีหน้าที่ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวกับการพัสดุตามระเบียบนี้ หน.จนท.พัสดุ หัวหน้าหน่วยงาน ระดับกองหรือที่มีฐานะเทียบกองซึ่งปฏิบัติงานในสายงานที่เกี่ยวกับการพัสดุตามที่องค์กร กลางบริหารงานบุคคลกำหนดหรือ ข้าราชการ อื่นซึ่งได้รับแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้เป็นหัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ
  • 115. หน้าที่หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ 1. จัดซื้อหรือจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคา (39) 2. รวบรวมความเห็นของคณะกรรมการ - เปิดซองสอบราคา 42 (5) - พิจารณาผลการประกวดราคา 50 (3) - จัดซื้อหรือจ้างโดยวิธีพิเศษ (57) (58) เสนอหัวหน้าส่วนราชการ / ผู้รับมอบอำนาจ
  • 116. 3. เก็บรักษาซองในการสอบราคา ตามข้อ 41 4. รับผิดชอบควบคุมดูแล และจัดทำหลักฐาน การเผยแพร่ ในการปิดประกาศประกวดราคา ภายในระยะเวลาที่กำหนด ตามข้อ 45 5. จัดซื้อหรือจัดจ้างวิธีกรณีพิเศษ (59) ครั้งหนึ่ง ไม่เกิน 100,000 บาท 6. ดูแลบำรุงรักษาและตรวจสอบความชำรุด บกพร่องภายในกำหนดเวลารับประกัน
  • 117. หน้าที่ของเจ้าหน้าที่พัสดุ 1. ทำรายงานขอซื้อขอจ้าง (27) และดำเนินการ ตามวิธีซื้อ หรือวิธีจ้าง (29) 2. ต่อรองและตกลงราคากับผู้ขายหรือผู้รับจ้าง วิธีตกลงราคา (39) 3. ปิดประกาศ ส่งประกาศสอบราคาไปร้านค้า (41) จัดทำเอกสารสอบราคา (40)
  • 118. 5. การประกวดราคา - จัดเตรียมเอกสารส่งมอบให้ ผู้นำส่งไปประกาศทางวิทยุ ส่วนราชการ (45) 4. จัดทำเอกสารประกวดราคา (44) - จัดเตรียมตู้ที่มีกุญแจ ปิดตลอดเวลา
  • 119. 7. เตรียมการเกี่ยวกับการให้หรือ ขายแบบตาม (46) 6. รับซองใบเสนอราคาในการซื้อหรือการจ้าง โดยวิธีสอบราคากรณียื่นซองโดยตรง (41)
  • 120. 8. รับใบตรวจรับพัสดุ หรืองานจ้างจากคณะกรรมการ ตรวจรับ และดำเนินการเบิกเงิน ให้ผู้ขายหรือ ผู้รับจ้าง (71, 72) 9. จัดทำรายงานเสนอความเห็นในการแลกเปลี่ยน พัสดุ (124) และทำรายงานการเช่าตามข้อ 130 10. ลงบัญชี หรือทะเบียนเพื่อควบคุมพัสดุ ที่ได้ รับมอบ เรียบร้อยแล้ว (152)
  • 121. 11. เสนอรายงานเกี่ยวกับการจำหน่ายพัสดุ (157) 12. ลงจ่ายพัสดุที่ได้จำหน่ายแล้วออกจากบัญชี หรือทะเบียน (160)
  • 122. สอบราคา จนท . พัสดุ หน . จนท . พัสดุ จัดทำรายงานประกาศ เอกสาร คณะกรรมการ หนังสือแจ้ง ผู้บริหาร ลงนามในเอกสาร
  • 123.
  • 124.
  • 125. ระยะเวลาการสอบราคา ประกาศ / ปิด / ส่งประกาศ แจก / รับซอง เปิด ซอง ไม่น้อยกว่า 10 วัน
  • 126. การเก็บรักษาซอง - หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุเก็บรักษาซอง - ส่งมอบคณะกรรมการเปิดซองสอบราคาโดยพลัน การพิจารณาในการสอบราคา - เปิดซอง อ่านราคา ลงชื่อกำกับ - ตรวจสอบคุณสมบัติ คัดเลือก - คัดเลือกคุณภาพ คุณสมบัติ ตัดสินต่ำสุด - เสนอผู้บริหาร ผ่าน หน . จนท . พัสดุ
  • 127. เจ้าหน้าที่ การรับและเปิดซองสอบราคา ผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา / บัญชีรายการก่อสร้าง เอกสารส่วนที่ 1 /2 หน . จนท . พัสดุ คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา
  • 128. ตรวจสอบเอกสาร 1 ก่อนเปิดซองใบเสนอราคา คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา เป็นผู้มีผลประโยชน์ร่วมกันหรือไม่ ประกาศรายชื่อ ผู้มีสิทธิ์ ตัดรายชื่อผู้มีผลประโยชน์ ร่วมกัน / แจ้งโดยพลัน
  • 129. 1. เปิดซองใบเสนอราคาเฉพาะผู้มีสิทธิได้รับการ คัดเลือก อ่านราคา - บัญชีรายการเอกสาร / ตรวจ สอบรายการเอกสารตามบัญชีของผู้เสนอราคา ลงลายมือชื่อ 2. ตรวจสอบคุณสมบัติ ใบเสนอราคา ราละเอียด คัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถูกต้อง 3. คัดเลือกที่มีคุณภาพ / คุณสมบัติเป็นประโยชน์ ต่อทางราชการ ให้ซื้อ / จ้างที่เสนอราคาต่ำสุด
  • 130. เป็นผู้มีส่วนได้เสีย ( ทางตรง / อ้อม ) การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน บุคคล/นิติบุคคลอื่น บุคคลนิติบุคคล ในการเสนอราคา / เสนองาน ในคราวเดียวกัน เชิงบริหาร เชิงทุน ไขว้กัน
  • 131. เชิงบริหาร ผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจในการ ดำเนินงาน บุคคลหรือ นิติบุคคล อีกรายหนึ่ง หรือหลาย ราย มีอำนาจ หรือสามารถ ใช้อำนาจ ในการบริหาร จัดการกิจการ
  • 132. หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วนสามัญ หุ้นส่วนไม่จำกัด ความรับผิดใน หจก . ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก . บ . มหาชน หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วน สามัญ / หจก . ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ใน บจก . / บ มหาชน เชิงทุน
  • 133. ผู้จัดการ หุ้นส่วนผู้จัดการ ไขว้กัน กรรมการผู้จัดการ ผู้บริหาร ผู้มีอำนาจ ในการดำเนินงาน หุ้นส่วนใน ห้างหุ้นส่วน สามัญ / หจก . ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ใน บจก . บ . มหาชน
  • 134. กรณีอื่น ๆ - เสนอราคาเท่ากัน ( เสนอราคาใหม่โดยยื่นซอง ) - มีรายเดียว ( ไม่ยกเลิก ) - รายต่ำสุดเสนอเกินวงเงิน ( ข้อ 43)
  • 135.
  • 136. สัญญา 1. สัญญาลดรูป 2. สัญญาชนิดไม่มีรูป 3. สัญญาเต็มรูป ประเภทสัญญา
  • 137. สัญญา 34 134 135 139 136 137 138 145
  • 138. สัญญาจ้างก่อสร้าง 1. หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญา ให้ตรวจสอบกับธนาคาร 2. กำหนดเวลาแล้วเสร็จ ข้อ 5 ผู้รับจ้างต้องเริ่มทำงานที่รับจ้างภายในวันที่ …………… และจะต้องทำงานให้แล้วเสร็จภายในวันที่ …………………… .. 3. การรับประกันความรับผิดชอบในความชำรุดบกพร่องของงานจ้าง 4. การจ้างช่วง ข้อ 7 5. การควบคุมงานของผู้รับจ้าง ข้อ 8
  • 139. 6. ค่าปรับ ตามข้อ 15 “ และจะต้องชำระค่าใช้จ่ายในการควบคุมงานในเมื่อผู้ว่าจ้างต้องจ้างผู้ควบคุมงานอีกต่อหนึ่งเป็นจำนวนเงินวันละ …………… . บาท” 7. การขยายเวลาปฏิบัติงานตามสัญญา ตามข้อ 19
  • 140. 8. ผู้รับจ้างต้องจัดทำและติดตั้งแผ่นป้ายแสดงรายละเอียด (1) ชื่อหน่วยงานเจ้าของโครงการ ( ระบุชื่อโรงเรียนและ สพฐ .) สถานที่ติดต่อ และหมายเลขโทรศัพท์ (2) ประเภท และชนิดของสิ่งก่อสร้าง (3) ปริมาณงานก่อสร้าง (4) ชื่อ ที่อยู่ ผู้รับจ้าง พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ (5) ระยะเวลาเริ่มต้น และระยะเวลาสิ้นสุด (6) วงเงินค่าก่อสร้าง
  • 141. (7) ชื่อเจ้าหน้าที่ของส่วนราชการผู้ควบคุมงาน พร้อมหมายเลขโทรศัพท์ (8) ชื่อวิศวกรของผู้รับจ้าง (9) ข้อความที่ระบุว่า “กำลังก่อสร้างด้วยเงินภาษีอากรของ ประชาชน”
  • 142. มาตรา 474 ความรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่อง มาตรา 474 ในข้อรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่องนั้น ท่านห้ามมิให้ฟ้องคดีเมื่อพ้นเวลาปีหนึ่งนับแต่เวลาที่ได้พบเห็นความชำรุดบกพร่อง
  • 143. มาตรา 473 ผุ้ขายย่อมไม่ต้องรับผิดในกรณีดังต่อไปนี้ 1. ถ้าผู้ซื้อได้รู้อยู่แล้วแต่ในเวลาซื้อขายว่ามีความชำรุดบกพร่อง หรือควรจะได้รู้เช่นนั้นหากได้ใช้ความระมัดระวังอันจะพึงคาดหมายได้ 2. ถ้าความชำรุดบกพร่องนั้นเป็นอันเห็นประจักษ์แล้วในเวลาส่งมอบและผู้ซื้อรับเอาทรัพย์สินนั้นไว้โดยมิได้อิดเอื้อน 3. ถ้าทรัพย์สินนั้นได้ขายทอดตลาด
  • 144. มาตรา 601 ท่านห้ามมิให้ฟ้องผู้รับจ้างเมื่อพ้นปีหนึ่งนับแต่วันการชำรุดบกพร่องได้ปรากฎขึ้น
  • 145. การคืนหลักประกันสัญญา หัวหน้าหน่วยงานผู้ครอบครองพัสดุ หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลบำรุงรักษา และตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ ในกรณีไม่มีผู้ครอบครอง หรือมีหลายหน่วยงานครอบครอง ให้หัวหน้าเจ้าที่พัสดุมีหน้าที่รับผิดชอบดูแลบำรุงรักษา และตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ ผู้รับผิดชอบ
  • 146. ระยะเวลา ก่อนสิ้นสุดเวลาการประกันความชำรุดบกพร่องภายใน 15 วัน สำหรับหลักประกันสัญญาที่มีระยะเวลาของการประกันไม่เกิน 6 เดือน หรือภายใน 30 วัน สำหรับหลักประกันสัญญาที่มีระยะเวลาของการประกันตั้งแต่ 6 เดือนขึ้นไปให้ผู้มีมีหน้าที่รับผิดชอบตรวจสอบความชำรุดบกพร่องของพัสดุ
  • 147. การปฏิบัติ กรณีปรากฎความชำรุดบกพร่องของสิ่งของ หรืองานจ้างภายในระยะเวลาของการประกันความชำรุดบกพร่องให้ ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบรายงานผู้บริหาร เพื่อแจ้งผู้ขายหรือ ผู้รับจ้างดำเนินการแก้ไขซ่อมแซมทันที พร้อมแจ้งผู้ค้ำประกัน ( ถ้ามี )
  • 148.
  • 149.
  • 150. ปพพ. 193/8 ถ้าวันสุดท้ายของระยะเวลาเป็นวันหยุดทำการตามประกาศเป็นทางการหรือตามประเพณี ให้นับวันที่เริ่มทำการใหม่ต่อจากวันที่หยุดทำการนั้นเป็นวัน สุดท้ายของระยะเวลา
  • 151. - ตรวจสอบได้และเป็นธรรม หลักการควบคุมงาน - งานที่ทำต้องเปิดเผย - ยึดสัญญาในการทำงาน - ประสานและโปร่งใส
  • 152. ผู้ควบคุมงาน คุณสมบัติ - มีความรู้ความชำนาญทางด้านช่าง - มีคุณวุฒิตามที่ผู้ออกแบบเสนอแนะ โดย ปกติไม่ต่ำกว่าระดับ ปวช . - เป็นข้าราชการ หรือลูกจ้างประจำ ในสังกัด กรณีส่วนราชการอื่นต้องได้รับความยินยอมจาก ส่วนราชการต้นสังกัด
  • 153. ผู้แต่งตั้ง ผู้บริหารสถานศึกษา / ศูนย์ ถ้าลักษณะงานก่อสร้างมีความจำเป็นต้องใช้ความรู้ความชำนาญหลายด้าน จะแต่งตั้งผู้ควบคุมงานเฉพาะด้านหรือเป็นกลุ่มบุคคลได้
  • 154. 1. ตรวจและควบคุมงานทุกวันให้เป็นไปตามแบบรูป รายการละเอียด และข้อกำหนดไว้ในสัญญา 2. ในกรณีแบบรูปรายการละเอียด หรือข้อกำหนดใน สัญญามีข้อความขัดกัน หรือเป็นที่คาดหมายได้ว่า ถึงแม้ว่างานนั้น จะได้เป็นไปตามแบบรูปรายการ ละเอียด และข้อกำหนดในสัญญาแต่เมื่อสำเร็จ แล้วจะไม่มั่นคงแข็งแรงหรือไม่เป็นไปตามหลักวิชา ช่างที่ดีหรือไม่ปลอดภัยให้สั่งพักงานนั้นไว้ก่อนแล้ว รายงานคณะกรรมการตรวจการจ้างโดยเร็ว อำนาจหน้าที่
  • 155. (3) จดบันทึก อย่างน้อย 2 ฉบับ - สภาพการปฏิบัติงานของผู้รับจ้าง - เหตุการณ์แวดล้อมเป็นรายวัน - ผลการปฏิบัติงาน - การหยุดงานและสาเหตุที่มีการหยุดงาน การบันทึกการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างให้ระบุ รายละเอียดขั้นตอนการปฏิบัติงานและวัสดุที่ใช้ด้วย
  • 156. (4) ในวันกำหนดลงมือทำการของผู้รับจ้างตามสัญญา และในวันถึงกำหนดส่งมอบงานแต่ละงวดให้ รายงานผลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างว่าเป็นไป ตามสัญญาหรือไม่ ให้คณะกรรมการตรวจการจ้าง ทราบภายใน 3 วันทำการนับแต่วันถึงกำหนดนั้น
  • 157. ตัวอย่าง โครงการ …………… ..……….…………… สัญญาเลขที่ ………………………………… .… วันเริ่มทำงาน …………………………… วันแล้วเสร็จ ………………… .………………… จำนวนงวด …………… ..………… งวด วงเงินตามสัญญา …………………………… รายงานการปฏิบัติงานในการควบคุมงานก่อสร้าง ว . ด . ป . งานที่ปฏิบัติ วัสดุที่ใช้ จำนวน คนงาน เหตุการณ์ แวดล้อม หมายเหตุ
  • 158. รายการแก้ไขงานที่แตกต่างจากสัญญา ……………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ...……… ………………………………………………………………………………………………………………… ...……… ลงชื่อ …………………………………………… ...……… ( ………………………………………………… ) ผู้ควบคุมงาน วัน / เดือน / ปี หมายเหตุ สามารถดัดแปลงใช้ได้หรือเป็นแนวทางได้ตามความเหมาะสม ห
  • 159. ของฝาก การเป็นครูคุมงานขอให้มีใจรัก หนึ่ง งานหนักเท่าไรไม่หน่ายหนี สอง ซื่อสัตย์และมีคุณธรรมดี สี่ จดบันทึกรายวันสม่ำเสมอ ห้า อย่าเผลอใช้วัสดุไม่ได้มาตรฐาน หก มีปัญหาปรึกษาอย่ารำคาญ ทั้งนี้ เพื่อให้งานสำเร็จเสร็จด้วยดี . สาม ต้องมีความรู้คู่กับงาน
  • 160.
  • 161. นักพัสดุที่ดี ระเบียบแม่นยำ ทำงานโปร่งใส จริงใจช่วยเหลือ ไม่เบื่อปัญหา