SlideShare a Scribd company logo
1
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรเชษฎ์ เชษฐมาส
ดร.ประเสริฐ สอนสถาพรกุล
2
1. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านการท่องเที่ยว หมายถึงอะไร
2. ประเภทของขีดความสามารถรองรับได้
3. ทาไมจึงต้องมีการกาหนดขีดความสามารถรองรับได้
ตามแหล่งท่องเที่ยว
4. ปัจจัยหรือตัวแปรในการกาหนดขีดความสามารถรองรับได้
5. แนวทางการกาหนดขีดความสามารถรองรับได้ในอุทยานแห่งชาติ
6. สัมมนาและสรุป (ถาม-ตอบและข้อคิดเห็น เพื่อนาไปถ่ายทอดต่อ)
2
“ ขีด
ความสามารถ
รองรับได้ด้านการ
ท่องเที่ยว
หมายถึงอะไร ? ”
3
ขีดความสามารถรองรับได้ด้านการท่องเที่ยว หรือTourism
Carrying Capacity (TCC) หรือ Recreation Carrying
Capacity (RCC) หมายถึง...
“จานวนคนสูงสุดที่อาจไปเยือนแหล่งท่องเที่ยวในช่วงเวลา
เดียวกัน โดยไม่สร้างความเสียหายหรือความเสื่อมโทรมต่อ
สิ่งแวดล้อมทางชีวกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม-วัฒนธรรม และ
ไม่ทาให้ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวลดน้อยลงในระดับที่
ยอมรับไม่ได้” (UNWTO, ไม่ระบุปี)
4
ประเภทของขีดความสามารถรองรับได้
มีกี่ประเภท ?
1. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านกายภาพ (Physical CC)
2. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านชีวกายภาพ (Biophysical CC)
3. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านสังคม (Social CC)
4. ขีดความสามารถรองรับได้ด้านเศรษฐกิจ (Economic CC)
5
ทาไมจึงต้องกาหนดขีดความสามารถรองรับได้
ตามแหล่งท่องเที่ยว ?
6
7
1. ปริมาณนักท่องเที่ยวมีแนวโน้มสูงขึ้น
2. นักท่องเที่ยวและสิ่งอานวยความสะดวกเป็นปัจจัยก่อให้เกิด
ผลกระทบ
3. แหล่งท่องเที่ยวมีขีดความสามารถรองรับได้อย่างจากัด
4. การดูแลรักษาเอกลักษณ์-อัตลักษณ์ของแหล่งท่องเที่ยวเป็น
หัวใจหลัก
5. การส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวได้รับประสบการณ์ที่ดีเป็นเป้าหมาย
สาคัญ
7
8
ปัจจัยหรือตัวแปร ในการกาหนด
ขีดความสามารถรองรับได้ มีอะไรบ้าง ?
8
1. ที่ราบ/ผืนน้า (flat land/water surface)
2. ความจุของที่พักแรม (accommodation capacity)
3. ปริมาณน้าจากธรรมชาติ (water supply)
9
4. ขีดความสามารถในการจัดการขยะและน้าเสีย
(waste disposal capacity)
5. ขีดความสามารถในการให้บริการและความปลอดภัย
(service and safety rendered)
6. ระดับความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว
(levels of visitors’ satisfaction)
7. การเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบด้านชีวกายภาพในระดับที่ยอมรับได้
(levels of acceptable change on biophysical setting)
9
10
แนวทางปฏิบัติ
เพื่อกาหนดขีด
ความสามารถ
รองรับได้
มีกี่ขั้นตอน
อะไรบ้าง ?
10
11
แนวทางปฏิบัติเพื่อกาหนดขีดความสามารถรองรับได้
มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน
ขั้นตอนที่ 1 : อุทยานฯทุกแห่ง ต้องกาหนดขีดความสามารถรองรับได้
เป็น 2 กลุ่มเวลา
๐ จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางวัน (day-use)
๐ จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางคืน (overnight stay)11
12
ขั้นตอนที่ 2 : กรณีประเมินจานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางวัน
ให้ใช้ที่ราบหรือผืนน้าเป็นตัวตรวจวัด โดยใช้สูตร
ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = เนื้อที่ (ตร.ม.) x จานวนคนต่อ ตร.ม. x จานวนช่วงเวลาต่อวัน12
13
1) เนื้อที่ หมายถึง ขนาดของพื้นผิวน้า หรือที่ดิน ที่เป็นที่ราบหรือที่มี
ความลาดชันต่า หรือน้อยกว่า 15 องศา (และไม่มีสภาพเป็นป่า หรือเป็น
ที่อยู่อาศัย หรือที่หากินของสัตว์ป่าสาคัญ หรือเป็นที่ตั้งของสิ่งโดดเด่น
ทางธรรมชาติ) ที่จัดให้มีกิจกรรมนันทนาการชนิดต่างๆบริการ
แก่นักท่องเที่ยว 13
14
2) จานวนคนต่อ ตร.ม. ต้องปรับค่าให้สอดคล้องกับช่วงชั้นโอกาสทาง
นันทนาการ (ROS) ในพื้นที่อุทยานฯ โดยกาหนดให้
เขตบริการ รับนักท่องเที่ยวได้ 1 คน โดยใช้พื้นที่ 4 ตร.ม.
เขตกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงได้ รับได้ 1คนโดยใช้พื้นที่ 6 ตร.ม.
และเขตกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงไม่ได้ รวมถึงเขตสันโดษ
รับได้ 1 คนโดยใช้พื้นที่ 20 ตร.ม.
3) จานวนช่วงเวลาต่อวัน กาหนดให้อุทยานแห่งชาติทางบกเป็น
2 ช่วงเวลา และอุทยานแห่งชาติทางทะเลเป็น 4ช่วงเวลา
14
15
ช่วงชั้นโอกาสทางนันทนาการ (ROS)
16
ตัวอย่าง เขตบริการลาตะคอง อุทยานฯเขาใหญ่ มีที่ราบโดยประมาณ
(ไม่นับรวมถนน ลานจอดรถ สนามหญ้า อาคารสถานที่ที่ไม่ใช้ในการ
บริการนักท่องเที่ยว) 6,000 ตร.ม.
เมื่อแทนค่าในสูตรข้างต้น
ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = 6,000 x (1/4) x 2
= 3,000
16
17
เขาพิงกัน
อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา
18
19
ตัวอย่าง เขาพิงกัน อุทยานฯอ่าวพังงา มีที่ราบให้นักท่องเที่ยวขึ้นไปชมความ
มหัศจรรย์ของธรรมชาติทางธรณีวิทยา ถ่ายภาพเขาตาปู และเดินตามเส้นทาง
ศึกษาธรรมชาติ อยู่ประมาณ 1,500 ตร.ม. ชั้นโอกาสทางนันทนาการเป็นเขต
กึ่งสันโดษที่เรือยนต์เข้าถึงได้ และสามารถเปิดให้เรือนักท่องเที่ยวเข้าจอดได้
วันละ 4 รอบ
เพราะฉะนั้นเมื่อแทนค่าในสูตรข้างต้น
ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = 1,500 x (1/6) x 4
= 1,000
19
20
กิ่วแม่ปาน
อุทยานแห่งชาติ
ดอยอินทนนท์
21
ตัวอย่าง เส้นทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน อุทยานฯดอยอินทนนท์ มีที่
ราบโดยประมาณ (ความยาว x ความกว้าง + ลานพักตามเส้นทาง โดยไม่
นับรวมลานจอดรถ) 2,300 ตร.ม. จัดเป็นเขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์
เข้าถึงไม่ได้
ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน) = 2,300 x (1/20) x 2
= 230
21
22
ขั้นตอนที่ 3 : จาแนกจุดท่องเที่ยว หรือ บริเวณที่จัดให้มีกิจกรรม
นันทนาการทุกชนิด ภายใต้ชั้นโอกาสด้านนันทนาการ โดยแบ่งได้
เป็น 2 กรณี
1. กรณีอุทยานฯทางทะเล
2. กรณีอุทยานฯทางบก
22
23
1. เขตบริการ หรือ เขตนันทนาการที่
มีการพัฒนาแล้ว อาจประกอบด้วย
พื้นที่ที่เป็นศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก
ชายหาด และลานกิจกรรม โดยไม่นับ
รวมท่าเทียบเรือ บังกะโล เรือนแถว
ลานกางเต็นท์ และอื่นๆ
1. กรณีอุทยานฯทางทะเล
23
24
2. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษ ที่เรือยนต์/รถยนต์เข้าถึงได้ ได้แก่ เกาะที่มี
การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกเท่าที่จาเป็น เพื่อกิจกรรมนันทนาการ
ชนิดต่างๆ เช่น กิจกรรมพักผ่อนชายหาด เล่นน้า ดาน้าดูปะการังน้าตื้น
เดินศึกษาธรรมชาติ และชมทิวทัศน์ ฯลฯ โดยไม่นับรวมท่าเทียบเรือ
ลานกางเต็นท์ และอื่นๆ
24
25
3. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่เรือยนต์/
รถยนต์เข้าถึงไม่ได้ และเขตนันทนาการแบบ
สันโดษ ได้แก่ เกาะและบริเวณโดยรอบ หรือ
พื้นที่บริเวณชายฝั่งที่ไม่มีการพัฒนาใดๆเลย
แต่มีนักท่องเที่ยวเข้าไปทากิจกรรม
นันทนาการ เช่น การดาน้าดูปะการังน้าลึก
การเล่นเรือแคนู หรือเรือคายัค การเดินป่า
ระยะไกลและอาจมีการค้างแรม เป็นต้น
25
26
2. กรณีอุทยานฯทางบก
1. เขตบริการ หรือเขตนันทนาการที่มีการพัฒนาแล้ว อาจประกอบด้วย
พื้นที่ที่เป็นศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก โดย
ไม่นับรวมพื้นที่ถนน ลานจอดรถ บังกะโล เรือนแถว ลานกางเต็นท์
สนามหญ้า และอาคารสถานที่ที่ไม่ใช้ในการบริการนักท่องเที่ยว 26
27
2. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงได้ ได้แก่ บริเวณที่ม
การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกเท่าที่จาเป็น เพื่อกิจกรรมนันทนาการ
ชนิดต่างๆ เช่น จุดชมวิว กิจกรรมบริเวณน้าตก ทางเดินศึกษาธรรมชาต
และชมทิวทัศน์ ถ่ายรูป เส้นทางขี่จักรยาน ฯลฯ โดยไม่นับรวม ลานจอดรถ
หรือท่าเทียบเรือ ลานกางเต็นท์ ห้องน้า ห้องสุขา และอื่นๆ
27
28
3. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงไม่ได้ และเขตนันทนาการ
แบบสันโดษ ได้แก่ พื้นที่ที่เป็นป่าเขาอันสมบูรณ์ มีเป้าหมายเพื่อการสงวน
รักษาสภาพธรรมชาติดั้งเดิมไว้ให้อานวยประโยชน์เชิงนิเวศ แต่เปิดให้
นักท่องเที่ยวเข้าไปพักผ่อนและศึกษาเรียนรู้ได้อย่างจากัด เช่นการเดินป่า
ระยะไกลและพักค้างแรม การถ่ายรูปธรรมชาติและสัตว์ป่า การล่องแก่ง
การพายเรือแคนูหรือเรือคายัค การปีนป่ายเขา เป็นต้น 28
29
ขั้นตอนที่ 4 : นาผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนที่ 3 ไปคิดคานวณหา
ขีดความสามารถรองรับได้ด้านกายภาพต่อวัน โดยใช้สูตร
ดังระบุในขั้นตอนที่ 2
29
30
ขั้นตอนที่ 5 : กรณีประเมินขีดความสามารถรองรับได้ในช่วงกลางคืน
ให้ใช้ จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่สามารถเข้าพักแรมในเขตอุทยานฯได้
โดยพิจารณาจากที่พักทุกประเภท (บังกะโล + เรือนแถว + เต็นท์นอน)
แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินปริมาณน้าที่กักเก็บได้จากธรรมชาติ และเปิดให้
นักท่องเที่ยวใช้อย่างประหยัด โดยที่นักท่องเที่ยวยังคงพึงพอใจได้
30
• ความต้องการน้าเพื่อการท่องเที่ยว
เฉลี่ย ๓๕๐ ลิตร/คน/วัน (ธงชัย,๒๕๔๐)
31
32
การวัดพื้นที่
หน้าผา วัดกว้าง x ยาว
ของพื้นที่หน้ าผาที่ยื่น
ออกไป จนถึงแนวต้นไม้
แนวหญ้า ด้านหลัง
ผาชมวิว
33
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ
วัดกว้าง x ยาวตามขนาด
ของเส้นทาง
34
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
35
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
จุดชมวิว
วัดเนื้อที่ กว้าง x ยาว ตาม
ขนาดพื้นที่ของจุดชมวิว
นั้นๆ
36
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
หอดูสัตว์
วัดเนื้อที่เฉพาะตัวหอที่ใช้
ส่องสัตว์
37
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
วัดเนื้อที่กว้ าง x ยาว
เฉพาะบริเวณที่ให้บริการ
นทท. ไม่นับรวม โต๊ะ เก้าอี้
ตู้ สนามหญ้า ฯลฯ
38
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
แก่งต่างๆ วัดเนื้อที่กว้าง
x ยาว ของลาน้า
39
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
น้าพุร้อน วัดเนื้อที่กว้าง x
ยาว ของพื้นที่ใช้สอย +
ห้องอาบน้าแร่ (จานวนห้อง
x จานวนคนที่จุได้สูงสุด)
40
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
ถ้า วัดเนื้อที่กว้าง x ยาว
ของพื้นที่ราบหน้าถ้า +
เนื้อที่กว้าง x ยาว ของ
เส้นทางภายในถ้า
ถ้าที่มี boardwalk ใช้ค่า
ROS 6 คน/ตร.ม.
หากไม่มี boardwalk ใช้
ค่า ROS 20 คน/ตร.ม.
41
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
ชายหาด วัดเนื้อที่กว้าง x
ยาว ของพื้นที่ชายหาดนั้นๆ
42
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
แนวปะการัง วัดพื้นที่
กว้ าง x ยาว ของแนว
ปะการังที่ระดับความลึก
1.80 เมตร (ระดับที่คนยืน
ไม่ถึง)
43
แบบฟอร์มในการกรอกข้อมูล
ลาดับ อุทยานแห่งชาติ ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ช่วงชั้นโอกาส
ที่ ด้านนันทนาการ
เอกสารแนบ 1
ใช้ประโยชน์ (ตร.ม.)
ขนาดพื้นที่
ข้อมูล ณ วันที่..................สิงหาคม 2558
รายชื่อแหล่งท่องเที่ยวและขนาดพื้นที่ของแหล่งท่องเที่ยวแต่ละแห่งในอุทยานแห่งชาติ
สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่.....
44
1
ลาดับ อุทยานแห่งชาติ ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ช่วงชั้นโอกาส
ที่ ด้านนันทนาการ
หมายเหตุ 1. ให้อุทยานแห่งชาติกรอกข้อมูลรายชื่อแหล่งท่องเที่ยวทุกแห่งที่เปิดให้บริการ พร้อมทั้งวัดขนาดพื้นที่ให้บริการ (หน่วยเป็น ตร.ม.)
ในแหล่งท่องเที่ยวนั้นๆ แล้วรวบรวมส่งสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่สังกัดเพื่อแจ้งกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ต่อไป
รายชื่อแหล่งท่องเที่ยวและขนาดพื้นที่ของแหล่งท่องเที่ยวแต่ละแห่งในอุทยานแห่งชาติ
สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่.....
เขตกึ่งกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงไม่ได้ รวมถึงเขตสันโดษ รับ นทท. ได้ 1 คน/20 ตร.ม.
2. ช่วงชั้นโอกาสด้านนันทนาการ (ROS) ในพื้นที่อุทยานฯ กาหนดดังนี้
เขตบริการ รับ นทท. ได้ 1 คน/4 ตร.ม.
ใช้ประโยชน์ (ตร.ม.)
เขตกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงได้ รับ นทท. ได้ 1 คน/6 ตร.ม.
เอกสารแนบ 1
ขนาดพื้นที่
ข้อมูล ณ วันที่..................สิงหาคม 2558
2

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ-เรื่อง-สถานที่ท่องเที่ยว
งานนำเสนอ-เรื่อง-สถานที่ท่องเที่ยวงานนำเสนอ-เรื่อง-สถานที่ท่องเที่ยว
งานนำเสนอ-เรื่อง-สถานที่ท่องเที่ยว
TaoTao52
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.chickyshare
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีJanejira Meezong
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
ทศพล พรหมภักดี
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
French Natthawut
 
Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2
yah2527
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
Waralee Sinthwa
 
Schizophrenia
SchizophreniaSchizophrenia
Schizophrenia
Sunshine Friday
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
kkrunuch
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยวMint NutniCha
 

What's hot (20)

งานนำเสนอ-เรื่อง-สถานที่ท่องเที่ยว
งานนำเสนอ-เรื่อง-สถานที่ท่องเที่ยวงานนำเสนอ-เรื่อง-สถานที่ท่องเที่ยว
งานนำเสนอ-เรื่อง-สถานที่ท่องเที่ยว
 
1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.1.ทรัพยากร กทท.
1.ทรัพยากร กทท.
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซีม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
ม.2/1 การทดสอบวิตามินซี
 
3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก3.4 อารยธรรมกรีก
3.4 อารยธรรมกรีก
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
4
44
4
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
 
Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
Schizophrenia
SchizophreniaSchizophrenia
Schizophrenia
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 

Viewers also liked

แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
UNDP
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
Auraphin Phetraksa
 
PES book
PES bookPES book
PES book
UNDP
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
UNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
UNDP
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
Auraphin Phetraksa
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
UNDP
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
Auraphin Phetraksa
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
UNDP
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
Sarinee Achavanuntakul
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
UNDP
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
yah2527
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
UNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
UNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
UNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
UNDP
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
Jaae Watcharapirak
 

Viewers also liked (19)

แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 

More from Jaae Watcharapirak

โปสเตอร์อ่างทอง
โปสเตอร์อ่างทองโปสเตอร์อ่างทอง
โปสเตอร์อ่างทอง
Jaae Watcharapirak
 
ศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ตศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ต
Jaae Watcharapirak
 
ศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ตศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ต
Jaae Watcharapirak
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
Jaae Watcharapirak
 
Tablan luc brt2015
Tablan luc brt2015Tablan luc brt2015
Tablan luc brt2015
Jaae Watcharapirak
 
1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha
Jaae Watcharapirak
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
Jaae Watcharapirak
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
Jaae Watcharapirak
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
Jaae Watcharapirak
 

More from Jaae Watcharapirak (9)

โปสเตอร์อ่างทอง
โปสเตอร์อ่างทองโปสเตอร์อ่างทอง
โปสเตอร์อ่างทอง
 
ศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ตศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ต
 
ศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ตศูนย์ภูเก็ต
ศูนย์ภูเก็ต
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
Tablan luc brt2015
Tablan luc brt2015Tablan luc brt2015
Tablan luc brt2015
 
1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 

Cc 3 ส.ค. 58