SlideShare a Scribd company logo
โครงงาน
เรื่อง สัตว์ป่าและสัตว์ป่าสงวน
จัดทาโดย
นาย วุฒิภัทร ยศปัญญา เลขที่21 มัธยมศึกษาที่ 6/5
นาย วิทวัส เจริญใจ เลขที่ 41 มัธยมศึกษาที่ 6/5
โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย ภาคเรียนที่2
สารบัญ
-หน้าแรก(ผู้จัดทา)
-ที่มาและความสาคัญ
-วัตถุประสงค์ ขอบเขตโครงงาน
-หลักการและทฤษฎี
-วิธีดาเนินงาน ผลคาดว่าที่จะได้รับ
-สถานที่ดาเนินการ กลุ่มสาระที่เกี่ยวข้อง
-ความหมายของสัตว์ป่า
-สัตว์ป่าสงวน
-ประโยชน์ และ ความสาคัญของสัตว์ป่า
-สาเหตุที่ทาให้สัตว์ป่าสูญพันธ์
-แนวทางการอนุรักษ์และจัดการสัตว์ป่า
-การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน
-สัตว์ป่าคุ้มครอง และ สัตว์ป่าสงวน ต่างกัน
อย่างไร
-ทาความรู้จักว่าที่สัตว์ป่าสงวน4ชนิดใหม่แห
ประเทศไทย
-หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
-แหล่งอ้างอิง
ที่มาและความสาคัญ
ในอดีตที่ผ่านมาทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทยอุดมสมบูรณ์พื้นที่ป่า
ยังคงปกคลุมทั่ว สัตว์ป่ามีอยู่อย่างชุกชุม แต่มนุษย์มีการใช้ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือยไม่
รู้คุณค่า โดยเฉพาะสัตว์ป่า เกิดการล่าเป็นอาหาร ล่าเพื่อเป็นกีฬาและ ล่าเพื่อการค้าทั้ง
ในประเทศ และ ส่งออกต่างประเทศ โดยปราศจากกฎหมายใดๆคุ้มครอง ต่อมาเมื่อ
ประชากรเพิ่มขึ้น การบุกรุกป่าเพื่อทากินมีมากขึ้นสัตว์ป่าถูกคุกคามและ ลดจานวนลง
อย่างรวดเร็วกว่าที่เคยเป็นมา ในรอบหลายสิบปีจนบางชนิด ได้สูญพันธุ์ไปจาก
เมืองไทยสูญพันธุ์ไปจากโลก สัตว์ชนิดนั้นคือ สมัน ซึ่งเป็น กวางที่มีเขาสวยงามที่สุด
ชนิดหนึ่ง ดังนั้นปี พ.ศ. 2503 ภาครัฐโดยการ ร่วมมือขององค์กรอนุรักษ์ต่างๆได้
ตระหนักถึงคุณค่าของสัตว์ป่า ผลักดันให้เกิดกฎหมายคุ้มครองสัตว์ป่าฉบับแรกของ
ประเทศไทยคือ พระราชบัญญัติสงวน และ คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2503 ซึ่งในกฎหมาย
ฉบับนี้ได้กาหนดสัตว์ป่าที่หายากเป็น สัตว์ป่าสงวน"จานวน 9 ชนิด คือ แรด กระซู่ กูปรี
หรือ โคไพร ควายป่า ละองหรือละมั่ง " สมันหรือ เนื้อสมันทรายหรือ เนื้อทราย หรือ
ตามคะแนนเลียงผาหรือเยืองหรือกูรา หรือ โครา และ กวางผา กลับไปหน้าสารบัญ
สัตว์ป่า อีกหลาย ชนิดลดลงอย่างน่าวิตก เช่น นกแต้วแล้วท้องดา หรือสัตว์ป่า
บางชนิดไม่มีรายงานการพบเห็นมาเป็นระยะเวลานานเช่น นกกระเรียน แมวลายหิน
อ่อน จึงได้ถอดชื่อเนื้อทรายออกจากบัญชีสัตว์ป่าสงวน และเพิ่มนกเจ้าฟ้าหญิงสิริ
ธร นกแต้วแล้วท้องดา
นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ และ พะยูน หรือหมูน้า รวมเป็นสัตว์ป่า
สงวน 15 ชนิด กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช ตระหนักเป็นอย่างยิ่งว่าการ
เผยแพร่ข้อมูลด้านวิชาการที่ถูกต้อง และ สมบูรณ์ให้แก่หน่วยงานทั้ง ภาครัฐและ
ภาคเอกชน
นักศึกษานักเรียน และประชาชนทั่วไป ได้ทราบถึง ความงดงามความมี
คุณค่า เกร็ดความรู้ต่างๆของสัตว์ป่าสงวนแต่ละชนิดรวมทั้งปัจจัยคุกคามจนทาให้สัตว์
ป่าเหล่านั้นอยู่ในสภาวะวิกฤติประชากรเสี่ยงต่อการสูพันธุ์จะช่วยให้ทุกคนหันมา
ช่วยกันคุ้มครองป้องกัน
ภัยให้สัตว์ป่าสงวนอยู่รอดสืบลูกหลานต่อไป
นอกจากนี้เพื่อ เป็นบทเรียนที่คอยเตือนใจให้แต่ละคนร่วมมือหยุดยั้งการล่า
การค้าสัตว์ป่า ให้สัตว์ป่าของประเทศไทยได้อยู่ กลับไปหน้าสารบัญ
สัตว์ป่าสงวนเป็นสัตว์หายาก, ใกล้จะสูญพันธุ์ หรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว จึง
จาเป็นต้องมีบทบัญญัติเข้มงวดกวดขัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอันตรายแก่สัตว์ป่าที่ยังมี
ชีวิตอยู่หรือซากสัตว์ป่า ซึ่งอาจจะตกไปอยู่ยังต่างประเทศด้วยการซื้อขาย ต่อมาเมื่อ
สถานการณ์ของสัตว์ป่าในประเทศไทยเปลี่ยนแปลงไป สัตว์ป่าหลายชนิดมีแนวโน้มถูก
คุกคามเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์มากยิ่งขึ้น ประกอบกับเพื่อให้เกิดความสอดคล้องกับความ
ร่วมมือระหว่างประเทศในการ ควบคุมดูแลการค้าหรือการลักลอบค้าสัตว์ป่าในรูปแบบ
ต่าง ๆ ตามอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศว่าด้วยชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าหรือ
CITES ซึ่งประเทศไทยได้ร่วมลงนามรับรองอนุสัญญาในปี พ.ศ. 2518 และได้ให้
สัตยาบัน เมื่อวันที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2526 นับเป็นสมาชิกลาดับที่ 80 จึงได้มีการ
พิจารณาแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติฉบับเดิมและตราพระราชบัญญัติ สงวนและ
คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ขึ้นใหม่เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535
สัตว์ป่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติ อาจจะกล่าวได้ในสามลักษณะด้วยกันคือ
ประการแรก มีคุณประโยชน์ซึ่งแบ่งออกได้หลายอย่างคือ ด้านเศรษฐกิจ สังคม การ
พักผ่อนหย่อนใจ ชีววิทยา รักษาความงามตามธรรมชาติ
กลับไปหน้าสารบัญ
ประการที่สอง สัตว์ป่าเป็นทรัพยากรธรรมชาติประเภทที่งอกเงยเพิ่มพูน ได้ซึ่ง
จะต้องมีการลงทุนรักษาไว้ ความเพิ่มพูนที่ได้รับไม่สามารถจะกล่าวออกมาในรูปของ
เงินตราได้ว่า มีมูลค่ามากน้อยเพียงใดประการสุดท้ายคือ ผลประโยชน์ที่ได้จากสัตว์ป่า
จะทาให้สิ่งแวดล้อมของมนุษย์คงอยู่หรือรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างอื่นไว้
จากที่ได้กล่าวมาข้างต้น จึงทาให้คณะผู้จัดทาได้สนใจถึงความสาคัญของสัตว์
ป่าสงวน โดยจะเป็นสัตว์หายาก ใกล้จะสูญพันธุ์ หรืออาจจะสูญพันธุ์ไปแล้ว ซึ่งสัตว์ป่า
เหล่านี้ได้เติบโตมาพร้อมกับคนไทยแต่กลับต้องสูญพันธ์ไปเป็นเพราะ มีการล่าเป็น
อาหารล่าเพื่อเป็นกีฬาและ ล่าเพื่อการค้าทั้งใน ประเทศ และ ส่งออกต่างประเทศ
เพราะฉะนั้นเราจึงต้องช่วยกันรักษา สัตว์เหล่านี้ไว้ ตระหนักเป็นอย่างยิ่งว่าการ
เผยแพร่ข้อมูลด้านวิชาการที่ถูกต้อง และ สมบูรณ์ให้แก่หน่วยงานทั้ง ภาครัฐและ
ภาคเอกชนนักศึกษานักเรียน และประชาชนทั่วไป ได้ทราบถึง ความงดงามความมี
คุณค่า เกร็ดความรู้ต่างๆของสัตว์ป่าสงวนแต่ละชนิดรวมทั้งปัจจัยคุกคามจนทาให้สัตว์
ป่าเหล่านั้นอยู่ในสภาวะวิกฤติประชากรเสี่ยงต่อการสูพันธุ์จะช่วยให้ทุกคนหันมา
ช่วยกันคุ้มครองป้องกันภัยให้สัตว์ป่าสงวนอยู่รอดสืบลูกหลานต่อไป
กลับไปหน้าสารบัญ
นอกจากนี้เพื่อ เป็นบทเรียนที่คอยเตือนใจให้แต่ละคนร่วมมือหยุดยั้งการล่า
การค้าสัตว์ป่า ให้สัตว์ป่าของประเทศไทยได้อยู่รอดปลอดภัยสามารถสืบเผ่าพันธุ์ให้
คง อยู่ตลอดไปดังนั้นทางผู้จัดทาจึงได้ทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อเป็นสื่อในการให้ข้อมูล
เกี่ยวกับสมุนไพรในด้านความงาม ซึ่งสามารถทาให้ผู้ที่สนใจทราบถึงข้อมูลได้อย่าง
รวดเร็วในยุคที่มีการใช้อินเตอร์เน็ตอย่างแพร่หลาย สะดวกในการค้นหา
จึงทาให้ข้าพเจ้าสนใจที่จะทาโครงงานพัฒนาเว็บไซต์เรื่องสัตว์ป่าสงวนของ
ประเทศไทย เพื่อเผยแพร่ความรู้ในเรื่องสัตว์ป่าสงวนของประเทศไทย ให้เป็น
ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาต่อไป
กลับไปหน้าสารบัญ
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก เรื่อง สัตว์ป่าสงวน
2.เพื่อเป็นสื่อทางการศึกษาผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
3.เพื่อเป็นประโยชน์กับบุคคลที่สนใจทั่วไป
กลับไปหน้าสารบัญ
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาโครงงานเกี่ยวกับ สัตว์ป่าสงวน และการอนุรักษ์สัตว์
สงวน เพื่อพัฒนาสื่อผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต โดยใช้
โปรแกรม Blogger นาเสนอ
กลับไปหน้าสารบัญ
หลักการและทฤษฎี
การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง สัตว์ป่าสงวน คณะ
ผู้จัดทาได้ศึกษาค้นคว้าเสนอเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าหายาก 15 ชนิด ตาม
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าพ.ศ.2535 ได้แก่แมว
ลายหินอ่อน พะยูน เก้งหม้อ นกกระเรียน เลียงผา กวางผา ละอ
หรือละมั่ง สมัน กูปรี ควายป่า แรด กระซู่ สมเสร็จ นกแต้วแล้ว
ท้องดา และนกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร
กลับไปหน้าสารบัญ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
เทคโนโลยีทางการสื่อสาร เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบัน
เริ่มมีบทบาทในการดาเนินชีวิตของมนุษย์ และมีส่วนช่วยสนับสนุนสื่อ
ทางด้านการศึกษาอีกด้วยโดยสื่อสมัยใหม่นิยมเป็น สื่อการเรียนผ่าน
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพราะ สะดวกรวดเร็วและเข้าถึงได้ง่าย
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- โปรแกรม Microsoft Word 2013
- เว็บไซต์ที่ให้บริการคือ http://www.blogger.com/
- เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารคือ www.facebook.com ,
www.gmail.com , www.google.com
กลับไปหน้าสารบัญ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาเว็บ
บล็อก (Weblog) เรื่อง สัตว์ป่าสงวนนี้ มีวัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาเว็บบล็อก (Weblog) และค้นคว้าเรื่องที่สนใจ
เกี่ยวกับสัตว์ป่าสงวน เพื่อให้ผู้จัดทาโครงงานสามารถ
นามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น
ตลอดจนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและ
ผู้สนใจทั่วไป
กลับไปหน้าสารบัญ
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลับไปหน้าสารบัญ
เนื้อหาของ
โครงงาน สัตว์ป่าและสัตว์
สงวน
กลับไปหน้าสารบัญ
ความหมายของสัตว์ป่า
กลับไปหน้าสารบัญ
สัตว์ป่า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด
กับป่าไม้รองจากต้นไม้ ปัจจุบันมีการนา สัตว์ป่ามาใช้เป็น
ดัชนีวัดค่าความอุดสมบูรณ์ของทรัพยากรป่าไม้ คือ ถ้าป่า
ไม้ที่ใดพบ สัตว์ป่า มาก แสดงว่าป่าไม้ที่นั้นมีความอุด
สมบูรณ์ แต่สาหรับประเทศตามพระราชบัญญัติสงวน และ
คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 แบ่ง สัตว์ป่า ออกเป็น 2 ประเภท
กลับไปหน้าสารบัญ
คือ สัตว์ป่าคุ้มครอง หมายถึง สัตว์ป่า ที่ได้รับความ
ตามกฎหมายห้ามล่าหรือมีซากไว้ในครอบครอง เว้นแต่
เพื่อประโยชน์ทานวิชาการ โดยต้องขออนุญาต จากกรม
ป่าไม้เสียก่อน เช่น นกเงือก ปลาบึก เต่าปูลู ค้างคาวกิตติ
เสือโครง เสือดาว เป็นสัตว์ป่าหายากมักพบในป่าไม้ที่อุด
สมบูรณ์
กลับไปหน้าสารบัญ
แต่ตอนนี้ สัตว์ป่า มีการสูญพันธ์ไปเพราะป่าไม้โดย
ทาลายป่าไม้จึงป่าเสียไปทาให้สัตว์ป่าไม่มีที่อยู่อาศัย สัตว์
ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่า หายากหรือกาลังจะสูญพันธ์ การ
อนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่า ประเภทนี้ห้ามมิให้ล่าหรือมีไว้
ครอบครองทั้งสัตว์มีชีวิตและไม่มีชีวิตและซากสัตว์ ยกเว้น
ล่าเพื่อการศึกษาวิจัยหรือกิจการสวนสัตว์ ซึ่งต้องได้รับ
อนุญาตจากกรมป่าไม้เป็นกรณีพิเศษ
กลับไปหน้าสารบัญ
มีทั้งหมด 15 ชนิด ได้แก่ กูปรี เก้งหม้อ นกแต้วแล้วท้อง
ดา สมเสร็จ กวางผา ควายป่า นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินอง กระซู่
เสียงผา แมวลายหินอ่อน แวด นกกระเรียน หรือหมูน้า สัตว์
ป่า พวกนี้เป็น สัตว์ป่า ที่จะสูญพันธ์ไปหมดแล้วแต่มีสัตว์
บางชนิดที่ยังอยู่ เช่น แรด ควายป่า แมวลายหินอ่อน กวาง
ผา
กลับไปหน้าสารบัญ
แต่พบอยู่นอกจากสัตว์ป่าสงวน และสัตว์ป่าคุ้มครอง
แล้วสัตว์ที่ไม่มี ตามบัญชีพระอาชญัปติสงวนและคุ้มครอง
สัตว์ เช่น ตะกวด งูเห่า หนู หมูป่า สัตว์ป่าเหล่านี้อนุญาตให้
ล่าได้ แต่สัตว์ป่าสงวนเป็นที่หายาก ต้องการอนุรักษ์ไว้เพื่อ
แพพันธ์ต่อไป การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน แต่ป่าไม้ไม่สมบูรณ์
จึงต้องรักษาธรรมชาติไม้ ถ้าต้นไม้หมดไปสัตว์ป่าก็ไม่มีเลย
ในประเทศไทย เพราะสัตว์ป่ามีน้อยมากในประเทศไทยเรา
กลับไปหน้าสารบัญ
สัตว์ป่าสงวน
กลับไปหน้าสารบัญ
1
กลับไปหน้าสารบัญ
นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร อยู่ในตระกูลนกนางแอ่น
พบในประเทศไทยเท่านั้น ในช่วงเดือนพฤศจิกายน
ถึงเดือนมีนาคม ที่บริเวณบึงบอระเพ็ด จังหวัด
นครสวรรค์ กลับไปหน้าสารบัญ
2
กลับไปหน้าสารบัญ
แรด เป็นสัตว์จาพวกมีกีบ 3 กีบ ทั้งเท้าหน้าและเท้า
หลัง ตัวผู้จะมีนอยาว ตัวโตเต็มวัยสูง 1.5 – 2 เมตร
น้าหนัก 1500 - 2000 กิโลกรัม ตั้งท้องนาน 16 เดือนตก
ลูกครั้งละ 1 ตัว ปัจจุบันเกือบสูญพันธ์ อาจหลงเหลือ
อยู่บนเทือกเขาตะนาวศรี ระหว่างจังหวัดระนอง พังงา
และสุราษฎร์ธานี กลับไปหน้าสารบัญ
3
กลับไปหน้าสารบัญ
กระซู่ เป็นสัตว์จาพวกเดียวกับแรด แต่มีขนาดเล็ก
กว่าแรด ตัวโตเต็มวัยสูง 1 – 1.5 เมตร น้าหนักตัว
ประมาณ 1000 กิโลกรัม ตั้งท้องนาน 8 เดือน ปัจจุบัน
เหลือน้อยมาก ในประเทศไทยพบแต่เพียงรอยเท้า
รอยปลัก และมูลเท่านั้น มีถิ่นที่อินเดีย พม่า และบัง
คลาเทศ เป็นสัตว์ที่ออกหากินตอนกลางคืนป่าทึบ
และป่าพรุ กลับไปหน้าสารบัญ
4
กลับไปหน้าสารบัญ
สมัน เป็นสัตว์จาพวกเดียวกับกวาง มีเขาสวยงาม
ที่สุดในโลก ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง สมันเป็นสัตว์ที่พบ
ในประเทศไทย ปัจจุบันสูญพันธ์แล้ว และ
พระราชบัญญัติคุ้มครองสัตว์ป่าพ.ศ.2535 มี
วัตถุประสงค์ที่จะควบคุมซากไม่ให้มีการเคลื่อนย้าย
กลับไปหน้าสารบัญ
5
กลับไปหน้าสารบัญ
ละอง หรือ ละมั่ง เป็นสัตว์จาพวกเดียวกับกวาง ตัว
โตเต็มวัยสูง 1 – 1.5 เมตร น้าหนัก 100 - 500
กิโลกรัม ตั้งท้องนาน 8 เดือน พบที่เขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี
กลับไปหน้าสารบัญ
6
กลับไปหน้าสารบัญ
เลียงผา หรือ โครา เป็นสัตว์จาพวกเดียวกับแพะ ตัว
โตเต็มวัยสูงประมาณ 1 – 1.5 เมตร น้าหนัก 200- 500
กิโลกรัม ชอบหากินตอนเช้ามืด และตอนเย็น ผู้ล่า
ต้องการเขา กระดูก และน้ามัน ชอบอาศัยอยู่บริเวณ
ภูเขาสูง พบทุกภาคของประเทศ ปัจจุบันเหลือน้อย
มาก กลับไปหน้าสารบัญ
7
กลับไปหน้าสารบัญ
กวางผา เป็นสัตว์จาพวกเดียวกับแพะ ตัวโตเต็มวัย
สูงประมาณ 30-50 เซนติเมตร น้าหนัก 25-40 กิโลกรัม
ออกลูกครั้งละ 1 – 2 ตัว พบมากตามภาคเหนือของ
ประเทศไทย
กลับไปหน้าสารบัญ
8
กลับไปหน้าสารบัญ
ควายป่า ตัวโตเต็มวัยสูงประมาณ 1.8 - 2 เมตร
น้าหนักตัว 1000 – 1500 กิโลกรัม ตั้งท้องนาน 15
เดือน เป็นสัตว์ใกล้จะสูญพันธ์ พบที่พันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี
กลับไปหน้าสารบัญ
9
กลับไปหน้าสารบัญ
เก้งหม้อ เป็นสัตว์จาพวกเก้ง ตัวโตเต็มวัย หนัก
ประมาณ 25 – 30 กิโลกรัม ออกหากินเวลากลางวัน
ตั้งท้องนาน 6 เดือน ชอบอาศัยตามป่าดงดิบพบใน
ภาคใต้ ตั้งแต่เทือกเขาตะนาวศรีจนถึงเทือกเขา
ภูเก็ต เป็นสัตว์ใกล้จะสูญพันธุ์
กลับไปหน้าสารบัญ
10
กลับไปหน้าสารบัญ
แมวลายหินอ่อน เป็นแมวป่าชนิดหนึ่งลาตัวลาย
คล้ายลายหินอ่อน ชอบอาศัยบนต้นไม้ ออกหากิน
ในเวลากลางคืน เป็นสัตว์ที่หายาก พบในภาคใต้
ของประเทศไทย และบนเทือกเขาตะนาวศรี
กลับไปหน้าสารบัญ
11
กลับไปหน้าสารบัญ
นกกะเรียน เป็นนกขนาดใหญ่ สูงประมาณ 150
เซนติเมตรเป็นนกที่ชอบอาศัยกันเป็นคู่ ๆ เป็นนกที่
ขยายพันธุ์ได้น้อยการขยายพันธ์ใช้เวลาเกือบ 3 ปี
กลับไปหน้าสารบัญ
12
กลับไปหน้าสารบัญ
นกแต้วแล้วท้องดา เป็นนกที่มีลาตัวยาว
ประมาณ 20 เซนติเมตร หัวมีสีดา ท้องสีดา
จัดเป็นนกที่สวยงาม และหายาก
กลับไปหน้าสารบัญ
13
กลับไปหน้าสารบัญ
ปลาพะยูน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม มีลักษณะภายในคล้ายช้าง ริม
ฝีปากบนคล้ายจมูกหมู ตัวโตเต็มวัยหนักประมาณ 300 กิโลกรัม ตั้ง
ท้องนาน 1 ปี ออกลูกครั้งละ 1 ตัว พบที่เกาะลิบง จังหวัดตรัง ปลา
พะยูนเป็นปลาที่ชอบหากินเป็นฝูงใหญ่ เพาะพันธุ์ได้ช้า ปลาพะยูนจะ
ถูกล่าเอาเนื้อเป็นอาหาร และเอาน้ามันเป็นเชื้อเพลิง การ
เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ ทาให้แหล่งอาหารลดลง เป็นส่วนหนึ่งที่
ทาให้ใกล้จะสูญพันธุ์ กลับไปหน้าสารบัญ
14
กลับไปหน้าสารบัญ
กูปรี หรือ โคไพร เป็นสัตว์ตระกูลเดียวกับกระทิงและวัว
แดง น้าหนักตัว 500 – 1000 กิโลกรัม ตั้งท้องนาน 9
เดือน เป็นสัตว์ที่ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูง นิสัยปราด
เปรียว หากินตามป่าโปร่งที่มีทุ่งหญ้าสลับป่าเต็งรัง และ
ป่าเบญพรรณ กูปรีเป็นสัตว์หายาก และใกล้จะสูญพันธุ์
เป็นสัตว์ที่มีถิ่นกาเนิดในประเทศเวียดนาม กัมพูชา ลาวกลับไปหน้าสารบัญ
15
กลับไปหน้าสารบัญ
สมเสร็จ เป็นสัตว์มีประสาทสัมผัสกลิ่นและเสียงดี
มาก ชอบหากินในเวลากลางคืน ตัวโตเต็มวัยหนัก
200-300 กิโลกรัม พบในภาคใต้ของไทยและเทือกเขา
ตะนาวศรี กลับไปหน้าสารบัญ
ประโยชน์
และความสาคัญของสัตว์ป่า
กลับไปหน้าสารบัญ
ประโยชน์และความสาคัญของสัตว์ป่า
มนุษย์ในสมัยโบราณใช้สัตว์ป่า หรือซากสัตว์ป่า เช่น
หนังสัตว์มาทารองเท้า กระเป๋ า เข็มขัด นอกจากนี้
เนื้อของสัตว์ป่า มาทาเป็นอาหาร ยารักษาโรค และ
เครื่องนุ่งห่ม เครื่องตกแต่งบ้าน ปัจจุบันเราใช้
ประโยชน์ของสัตว์ป่าในด้านต่าง ๆ ดังนี้
กลับไปหน้าสารบัญ
1. คุณค่าของสัตว์ป่าต่อทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ
เช่น ** สัตว์ป่าช่วยทาลายศัตรูป่าไม้ เช่น นกกิน
แมลงที่มาทาลายใบไม้
** สัตว์ป่าช่วยผสมเกสรดอกไม้
** สัตว์ป่าช่วยในการกระจายเมล็ดพันธุ์
** สัตว์ป่าช่วยทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
เพราะมูลของสัตว์เกือบทุกชนิดใช้เป็นปุ๋ ย
ให้กับดิน
กลับไปหน้าสารบัญ
2. รักษาความสมดุลของระบบนิเวศ
3. ช่วยในการศึกษาด้านวิชาการ
4. ด้านนันทนาการ 5.
ด้านเศรษฐกิจ เช่น หนังทาเข็มขัด กระเป๋ า
** สัตว์ป่ามีประโยชน์ต่อมนุษย์ทางอ้อม
คือสัตว์ป่าทาให้ต้นไม้เจริญเติบโต มูลของสัตว์ป่า
เป็นอาหารของต้นไม้ สัตว์ป่าช่วยให้พืชพันธุ์ต่าง ๆ
ได้มีการผสมพันธุ์กัน
กลับไปหน้าสารบัญ
สาเหตุที่ทาให้สัตว์ป่าสูญพันธุ์
กลับไปหน้าสารบัญ
สาเหตุที่ทาให้สัตว์ป่าสูญพันธุ์
กลับไปหน้าสารบัญ
1. การลดน้อยลง หรือการสูญพันธุ์ไปโดย
ธรรมชาติ สัตว์ป่าหลายชนิดไม่สามารถปรับตัวให้
เข้ากับ สภาพแวดล้อมได้
2. การลดน้อยลง หรือการสูญพันธุ์ไปโดยการล่า
3. การลดลง หรือการสูญพันธุ์ จากการทาลาย
แหล่งที่อยู่อาศัย
กลับไปหน้าสารบัญ
4. การลดลงหรือการสูญพันธุ์เนื่องจากสารพิษ
5. การลดลงหรือการสูญพันธุ์เนื่องจากนาสัตว์อื่น
มาทดแทน เนื่องจากอาจทาให้สัตว์เลี้ยงไป
แย่งอาหาร หรือทาให้เกิดโรคระบาดได้
กลับไปหน้าสารบัญ
6. การลดลงหรือการสูญพันธุ์เนื่องจากการใช้
ประโยชน์อาหารของสัตว์ป่าเองอย่างจากัดเช่น
หมีแพนด้าที่กินเฉพาะใบไผ่ เมื่อป่าถูกทาลายลง
ทาให้หมีไม่มีอาหารกิน และสูญพันธุ์ได้
กลับไปหน้าสารบัญ
7. ถูกจับไปทดลองหรือไปเลี้ยง
8. ขาดคู่ผสมพันธุ์ 9.
การผสมพันธุ์ในเครือญาติ ทาให้ลูกหลานที่
เกิด มาใหม่ไม่แข็งแรง ไม่มีภูมิคุ้มกันโรค และ
เสียชีวิตในที่สุด 10.
มลภาวะ สภาพของน้า และอากาศที่เสีย ทา
ให้สัตว์ปรับตัว หรือสร้างความต้านทาน
ไม่ได้
กลับไปหน้าสารบัญ
แนวทางการอนุรักษ์
และการจัดการสัตว์ป่า
กลับไปหน้าสารบัญ
แนวทางการอนุรักษ์
และการจัดการสัตว์ป่า
1. การอนุรักษ์พื้นที่ 2.
การป้องกันและปราบปราม
3. ควบคุมสิ่งทาลายสัตว์ป่า
4. ควบคุมสิ่งแวดล้อม 5.
ดาเนินการด้านวิชาการเพื่อเพิ่มปริมาณของสัตว์
ป่า 6. การจัดการอาหารเสริมให้สัตว์ป่าในยามที่
ขาดอาหาร 7. การประชาสัมพันธ์ ให้ช่วยกันรักษา
สัตว์ป่า กลับไปหน้าสารบัญ
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
พ.ศ. 2535
1. ผู้ใดครอบครอง หรือค้า สัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่า
คุ้มครองหรือซากของสัตว์ป่าสงวน ซากของสัตว์
ป่าคุ้มครองหรือผลิตภัณฑ์ที่ทาจากของสัตว์ป่า
ดังกล่าว จะต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสี่ปี หรือ
ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
กลับไปหน้าสารบัญ
2. ผู้ใดล่าสัตว์ป่าไม่ว่าจะเป็นสัตว์ป่าสงวนหรือ
สัตว์ป่าคุ้มครอง หรือเก็บหรือทาลายรังของสัตว์
ป่าในบริเวณวัด หรือในสถานที่ที่จัดไว้ จะต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกิน ห้า
หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้งปรับ
กลับไปหน้าสารบัญ
3. ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้ามมิให้ผู้ใด
ครอบครองที่ดินหรือ ตัด โค่น เผา ทาลายต้นไม้
หรือเปลี่ยนแปลงทางน้า หรือทาให้น้าในลาน้า ลา
ห้วย หนอง บึง ท่วมท้น เหือดแห้ง เป็นพิษ หรือเป็น
อันตรายจากสัตว์ป่า ผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุก
ไม่เกินเจ็ดปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจา
ทั้งปรับ
กลับไปหน้าสารบัญ
4. ผู้ใดซ่อนเร้น ช่วยจาหน่าย ช่วยพาเอาไปเสีย ซื้อ รับ
จานาหรือรับไว้โดยประการใดซึ่งสัตว์ป่าหรือซากของสัตว์
ป่า อันได้มาโดยการกระทาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้
ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินหนึ่ง
หมื่นบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
5. ผู้ที่มีสัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่าคุ้มครอง ซากของสัตว์ป่า
สงวน ซากของสัตว์ป่าคุ้มครองอยู่ในความครอบครองอยู่
แล้ว ก่อนที่พระราชบัญญัติบังคับใช้ ให้แจ้งต่อพนักงาน
เจ้าหน้าที่ภายใน 90 วัน นับแต่พระราชบัญญัตินี้บังคับใช้
กลับไปหน้าสารบัญ
การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน
กลับไปหน้าสารบัญ
การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน
การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน สัตว์ป่ามีประโยชน์ต่อ
สิ่งแวดล้อมซึ่งรวมถึงคนเราด้วยทั้งโดยทางตรงและ
ทางอ้อม จึงต้องมีวิธีการป้องกันและแก้ไขไม่ให้สัตว์ป่าลด
จานวนหรือสูญพันธุ์ด้วยการอนุรักษ์สัตว์ป่า ดังนี้
กลับไปหน้าสารบัญ
1. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน กาหนดกฎหมายและวิธีการ
ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ป่าเป็นแหล่งอาหารที่อยู่อาศัย
ของสัตว์ป่า
อาทิ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ป่า เขต
เพาะพันธุ์สัตว์ป่า ฯลฯ ให้มีมากเพียงพอ
2. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน โดย การรณรงค์เผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ ให้เห็นความสาคัญในการอนุรักษ์สัตว์ป่า
อย่างจริงจัง
กลับไปหน้าสารบัญ
3. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน โดยการไม่ล่าสัตว์ป่า ไม่ควรมี
การล่าสัตว์ป่าทุกชนิด ทั้งสัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าคุ้มครอง
เพราะปัจจุบันสัตว์ป่าทุกชนิด ได้ลดจานวนลงอย่างมากทา
ให้ขาดความสมดุลทางธรรมชาติ
4. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน โดยการป้องกันไฟป่า ไฟป่า
นอกจากจะทาให้ป่าไม้ถูกทาลายแล้วยังเป็นการทาลาย
แหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าด้วย
กลับไปหน้าสารบัญ
4. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน โดยการป้องกันไฟป่า ไฟป่า
นอกจากจะทาให้ป่าไม้ถูกทาลายแล้วยังเป็นการทาลาย
แหล่งอาหารและที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าด้วย
5. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน โดยการปลูกฝังการให้ความรัก
และเมตตาต่อสัตว์อย่างถูกวิธีสัตว์ป่าทุกชนิดมีความรัก
ชีวิตเหมือนกับมนุษย์ การฆ่าสัตว์ป่า การนาสัตว์ป่ามาเลี้ยง
ไว้ในบ้านเป็นการทรมานสัตว์ป่า ซึ่งมักไม่มีชีวิตรอด
กลับไปหน้าสารบัญ
6. การอนุรักษ์สัตว์ป่าสงวน โดยการเพาะพันธุ์เพิ่มสัตว์ป่า
ที่กาลังจะสูญพันธุ์หรือมีจานวนน้อยลง ควรมีการเพาะพันธุ์
ขยายพันธุ์ให้มีจานวนเพิ่มขึ้น เพื่อเป็นการทดแทนและเร่ง
ให้มีสัตว์ป่าเพิ่มมากขึ้น
กลับไปหน้าสารบัญ
สัตว์ป่าคุ้มครองและสัตว์ป่าสงวน
ต่างกันอย่างไร?
กลับไปหน้าสารบัญ
สัตว์ป่าคุ้มครอง หมายถึง สัตว์ป่าตามที่กฎกระทรวง
กาหนดให้เป็นสัตว์ป่าคุ้มครองกาหนดไว้ เช่น กระทิง
กระรอกบิน กวาง เก้ง ชะมด ชะนี ไก่ป่า นกยูง นกแร้ง นก
เงือก งูสิง งูเหลือม ปูเจ้าฟ้า เป็นต้น ซึ่งกฎหมายไม่
อนุญาตให้ล่าได้หรือมีไว้ในครอบครอง (ซึ่งรวมถึงซาก
ของสัตว์ป่าสงวนหรือซากของสัตว์ป่าคุ้มครอง) หรือค้า
เว้นแต่การกระทาโดยทางราชการเพื่อการศึกษา วิจัย การ
เพาะพันธุ์หรือเพื่อกิจการสวนสัตว์สาธารณะ
กลับไปหน้าสารบัญ
สัตว์ป่าสงวน หมายถึง สัตว์ป่าหายาก 15 ชนิด ตาม
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ.2535 ได้แก่
แมวลายหินอ่อน พะยูน เก้งหม้อ นกกระเรียน เลียงผา
กวางผา ละองหรือละมั่ง สมัน กูปรี ควายป่า แรด กระซู่
สมเสร็จ นกแต้วแล้วท้องดา และ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร
กลับไปหน้าสารบัญ
ข้อแตกต่าง คือ สัตว์ป่าคุ้มครองแม้ไม่อนุญาตให้ล่าหรือมี
ไว้ในครอบครองหรือค้าเช่นเดียวกับ สัตว์ป่าสงวน แต่ยัง
อนุญาตให้นามาใช้โดยทางราชการเพื่อการศึกษา วิจัย
การเพาะพันธุ์หรือเพื่อกิจการสวนสัตว์สาธารณะ เพราะมี
จานวนน้อยและใกล้สูญพันธ์ แต่ยังมีจานวนมากพอที่จะ
นามาศึกษา วิจัย เพาะพันธ์ หรือดูแลในสวนสัตว์ได้ แต่
สัตว์ป่าสงวน คือ สัตว์ป่าที่ใกล้สูญพันธ์มาก จนไม่อาจ
อนุญาตให้นามาศึกษา วิจัย หรือนามาเพื่อการเพาะพันธ์
ได้ เพราะอาจสูญพันธ์โดยทันทีก็เป็นได้ สรุปคือสัตว์ป่า
สงวน คือสัตว์ป่าที่ใกล้สูญพันธ์มากๆๆๆๆและอาจยาก
มากๆในการพบสัตว์ประเภทนั้นทาง ธรรมชาติแต่ยังไม่กลับไปหน้าสารบัญ
ทาความรู้จักว่าที่สัตว์ป่า
สงวน 4 ชนิดใหม่ของประเทศ
ไทย
กลับไปหน้าสารบัญ
เนื่องด้วยวันที่ 26 ธันวาคมของทุกปี ถูกกาหนดไว้ให้เป็น
วันคุ้มครองสัตว์ป่า เนื่องจากเป็นวันที่สมเด็จพระศรีนคริน
ทราบรมราชนนี ทรงลงนามในพระปรมาภิไธยประกาศใช้
“พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503” ซึ่ง
ทาให้มีสัตว์ป่าสงวน 9 ชนิด เมื่อมีการแก้ไขกฎหมาย ทาให้
เกิด “พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535”
ทาให้สามารถเปลี่ยนแปลงชนิดสัตว์ป่าสงวนได้โดยสะดวก
โดยออกเป็นพระราชกฤษฎีกาแก้ไขหรือเพิ่มเติมเท่านั้น
กลับไปหน้าสารบัญ
ส่งผลให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมรายชื่อสัตว์ป่าสงวนขึ้นอีก
จึงทาให้ตั้งแต่ พ.ศ. 2535 มีสัตว์สงวนด้วยกัน 15 ชนิด คือ
นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรด กระซู่ กูปรีหรือโคไพร ควายป่า
ละองหรือละมั่ง สมัน เลียงผา กวางผาจีน นกแต้วแร้วท้อง
ดา นกกระเรียนไทย แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ
และ พะยูน
ในปีพ.ศ. 2558 ได้มีการรณรงค์ให้เพิ่มสัตว์น้าอีก 4 ชนิดเป็นสัตว์สงวน
ซึ่งปัจจุบันได้ผ่านมติคณะกรรมการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่าแล้ว ในวันที่
9 ตุลาคม พ.ศ. 2558 และกาลังอยู่ในระหว่างการจัดทาร่างพระราช
กฤษฎีกาเพื่อเสนอคณะรัฐมนตรี เพื่อประกาศให้เป็นสัตว์สงวนอย่างเป็น
ทางการในอนาคต ซึ่งสัตว์น้าทั้ง 4 ชนิด ได้แก่
กลับไปหน้าสารบัญ
1. วาฬบรูด้า (Bryde's whale) ชื่อของมันถูกตั้งให้ผู้
ค้นพบมันเป็นคนแรก คือโยฮัน บรูด้า ในปี ค.ศ. 1909 มัน
ถูกจัดว่าเป็นชนิดหนึ่งของวาฬไม่มีฟัน (Baleen Whale)
ขนาดใหญ่ที่อาศัยอยู่ในเขตร้อน มักอาศัยอยู่ในทะเลที่มี
อุณหภูมิสูงกว่า 16 องศาเซลเซียส เช่นในทะเลของประเทศ
ไทย โดยในไทยพบว่ามีวาฬ บรูด้าอยู่ประมาณ 20 - 25 ตัว
โดยพบห่างจากชายฝั่ง 4 – 30 กิโลเมตรของทะเลอ่าวไทย
กลับไปหน้าสารบัญ
วาฬบรูด้ามีรูปร่างเรียวสีเทาอมฟ้า มีครีบหลังเป็นรูป
เคียวโค้ง ไปทางด้านหลังของลาตัว มีรอยจีบใต้ลาคอ
ขนานกับลาตัว ประมาณ 40 – 70 รอย ความยาวสูงสุดของ
ตัวผู้โตเต็มวัยอยู่ที่ 15 เมตร ตัวเมียอยู่ที่ 16.5 เมตร และ
น้าหนักสูงสุดอยู่ที่ 40 ตัน แต่ถึงแบบนั้นอาหารของมันกลับ
มีขนาดเล็ก คือแพลงก์ตอนของสัตว์จาพวกกุ้ง หมึก
กระดอง และฝูงปลาขนาดเล็ก มันมักจะหากินเพียงลาพัง
ยกเว้นวาฬเด็กที่ออกหากินกับแม่ โดยวิธีการกินอาหารของ
มันนั้นจะใช้ซี่กรองขนาดใหญ่รูปร่างคล้ายตะแกรงที่อยู่
บริเวณขากรรไกรบนของมัน กรองสัตว์ขนาดเล็กๆ เป็น
อาหาร โดยวาฬบรูด้าเต็มวัยหนึ่งตัวอาจกินอาหารถึง 590กลับไปหน้าสารบัญ
ปัจจุบันพวกมันถูกคุกคามจากมนุษย์จนมีจานวนลดลง
อย่างมาก เนื่องจากปลาและกุ้งขนาดเล็กซึ่งเป็นอาหารของ
มันมีจานวนลดลงเพราะมนุษย์ และมนุษย์ยังปล่อยมลพิษ
ทางน้า และมลพิษทางเสียงจากการเดินเรือยนต์ บางครั้ง
มันยังได้รับอุบัติเหตุจากอวนของชาวประมง หรือการขับ
เรือชนโดยมิได้ตั้งใจอีกด้วย
กลับไปหน้าสารบัญ
2. วาฬโอมูระ (Omura's whale) เป็นวาฬสายพันธุ์หายากที่มีความ
ใกล้เคียงกับวาฬบรูด้า ถูกค้นพบครั้งแรกจากซากของมันในปี ค.ศ. 2003
และเมื่อพิจาณาจากซากแล้วจึงพบว่ามีความต่างจากวาฬบรูด้า กล่าวคือ
วาฬโอมูระนั้นมีขนาดเล็กกว่า ตัวผู้ที่โตเต็มวัยยาวเพียง 10 เมตร ตัวเมีย
ยาวเพียง 11.5 เมตร รอยจีบใต้ลาคอมีจานวนมากกว่า คือ 80 – 90 รอยจีบ
และมีครีบหลังที่สูงกว่าและมีความโค้งน้อยกว่าของวาฬบรูด้า
ความหายากของมันทาให้ไม่ทราบพฤติกรรมชัดเจน และข้อมูลที่อยู่อาศัย
ของมันในทะเลทั่วโลกยังคงเป็นปริศนา
กลับไปหน้าสารบัญ
3. ฉลามวาฬ (Whale Shark) เป็นปลาที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดในโลก มันเป็นปลากระดูกอ่อนเหมือนปลาฉลามชนิด
อื่น มักอาศัยในทะเลที่น้ามีอุณหภูมิ 18–30 องศาเซลเซียส
ลาตัวของมันมีมีสีเทา มีลายจุดสีขาวและสีเหลืองอ่อนตาม
ตัว ความยาวของวัยตัวโตเต็มวัยอยู่ที่ 5.5–10 เมตร แต่อาจ
ยาวได้ถึง 12 เมตร และอาจหนักได้ถึง 20 ตัน ถึงแบบนั้นมัน
ก็ยังกินแพลงก์ตอนเป็นอาหารด้วยวิธีการกรองกิน
เช่นเดียวกับวาฬบรูด้า
กลับไปหน้าสารบัญ
ฉลามวาฬใช้เหงือกในการหายใจ ต่างจากวาฬที่ใช้ปอด
จึงไม่จาเป็นต้องโผล่มายังผิวน้าเพื่อหายใจ ทาให้พบมันใน
ทะเลลึก แต่มักอยู่ตามแนวปะการังในความลึกไม่เกิน 700
เมตร เหงือกของพวกมันมีช่องเหงือกห้าช่อง ซึ่งแต่ละตัวจะ
มีลักษณะจุดและลวดลายหลังจากเหงือกช่องที่ห้าแตกต่าง
กัน ทาให้สามารถจาแนกลักษณะเฉพาะตัวได้ พวกมันหนึ่ง
ตัวอาจมีอายุยืนถึง 70 ปี แต่อายุมากกว่า 30 ปีแล้วก็มักจะ
ไม่ผสมพันธุ์กับตัวอื่นอีก
กลับไปหน้าสารบัญ
ฉลามวาฬไม่เป็นภัยต่อมนุษย์เช่นเดียวกับวาฬบรูด้า แต่
กาลังประสบปัญหาคุกคามจากมนุษย์ทั้งการลดจานวนลง
ของแพลงก์ตอน และมลพิษกับอุบัติเหตุจากเรือยนต์
เช่นเดียวกัน แต่ฉลามวาฬจะพบการคุกคามที่รุนแรงกว่า
คือการล่าพวกมันเพื่อตัดครีบที่เรียกว่า “หูฉลาม”
กลับไปหน้าสารบัญ
4. เต่ามะเฟือง (Leatherback turtle) เป็นเต่าทะเลที่มี
ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก โตเต็มวัยยาวได้ถึง 2 เมตร
เอกลักษณ์คือ กระดองมีลักษณะเหมือนผลมะเฟือง ไม่
สามารถหดตัวเข้าไปในกระดองได้ และกระดองของมันไม่
แข็งเหมือนเต่าชนิดอื่น แต่มีความยืดหยุ่นเหมือนยาง
กลับไปหน้าสารบัญ
เต่ามะเฟืองสามารถดาน้าได้ลึกถึง 1,280 เมตร และดา
ได้นานถึง 85 นาที มันกินแมงกะพรุน แพลงก์ตอน และ
สาหร่ายเป็นอาหาร ถึงแบบนั้นก็ต้องขึ้นมาหายใจและ
วางไข่บนบก โดยวางไข่ประมาณ 80 ฟอง
ปัจจุบันเต่ามะเฟืองมีจานวนลดลงอย่างรวดเร็ว จากการ
เก็บไข่เต่าที่พวกมันขึ้นมาวางไว้บนบก รวมถึงการกิน
ถุงพลาสติกที่ถูกทิ้งในทะเลเพราะเข้าใจผิดว่าเป็น
แมงกะพรุน
กลับไปหน้าสารบัญ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
(ยกตัวอย่างพอสังเขป)
กลับไปหน้าสารบัญ
มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชินูปถัมภ์
มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทย ในพระ
บรม ราชินูปถัมภ์ ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2526 โดย
นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล ผู้บุกเบิกงานด้านอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติของไทย และได้รับพระมหากรุณาธิคุณจาก
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงรับไว้ในพระบรม
กลับไปหน้าสารบัญ
มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศ
ไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์ เป็นองค์กรสาธารณ
กุศลที่จดทะเบียนถูกต้องตามพระราชบัญญัติส่งเสริม
และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
ได้รับการสนับสนุนเงินทุกจากการบริจาคของ
ประชาชน องค์กร และหน่วยงานต่าง ๆ
กลับไปหน้าสารบัญ
ภารกิจ
1. ช่วยเหลือชีวิตสัตว์ป่าในส่วนที่ไม่ขัดต่อกฎหมาย
หรือกฎระเบียบของราชการ
2. ให้คาปรึกษาในการจัดการเรื่องการอนุรักษ์สัตว์ป่า
ในถิ่นกาเนิด การอนุรักษ์สัตว์ป่านอกถิ่นกาเนิด และ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตสัตว์ป่า
3. รณรงค์ เผยแพร่ข้อมูล และประสานความร่วมมือ
กับหน่วยงานต่าง ๆ ในการปฏิบัติการที่เกี่ยวข้องกับ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
กลับไปหน้าสารบัญ
4. สร้างเครือข่ายตัวแทนของมูลนิธิฯ ในการดาเนิน
กิจกรรมและประสานงานด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติในทุกภูมิภาคของประเทศไทย
5. วางแผนในการจัดการฟื้นฟูสภาพป่าธรรมชาติและศึกษา
แนวทางการนาสัตว์คืนสู่ป่าธรรมชาติ
กลับไปหน้าสารบัญ
มูลนิธิสืบนาคะเสถียร
หลักการ
ให้ความสาคัญกับการปกป้องป่าผืนใหญ่และแหล่งธรรมชาติซึ่งเป็นถิ่นที่
อยู่อาศัยของสัตว์ป่า และความหลากหลายทางชีวภาพเป็นอันดับแรก
รองลงมาให้ความสาคัญกับสิ่งมีชีวิตที่เป็นชนิดพันธุ์ที่สาคัญและถูกคุกคาม
ในการทางานที่ต้องตัดสินใจให้อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการที่รอบด้าน หรือ
หากไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ต้องมีวิธีแก้ไขผลกระทบที่สามารถปฏิบัติได้
จริง และเป็นที่ยอมรับ อย่างไรก็ตามสมควรคงระบบนิเวศตามธรรมชาติที่
มีอยู่ทั้งกระบวนการ และให้ดาเนินการบูรณะถิ่นที่อยู่อาศัย และความ
กลับไปหน้าสารบัญ
พันธกิจ
1. เป็นองค์กรที่สร้างและทางานร่วมกับเครือข่ายในการ
อนุรักษ์ เพื่อเฝ้าระวังกฎหมาย นโยบาย โครงการ ที่ส่งผกระ
ทบต่อระบบนิเวศของผืนป่า และสนับสนุนการลด
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
2. เป็นองค์กรแห่งการสื่อสารสาธารณะ ที่รวบรวมข้อมูล
ข่าวสารด้านผืนป่า สัตว์ป่า และทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึง
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับงานอนุรักษ์ และการเตรียมการ
รับมือกับภัยพิบัติทางธรรมชาติ
กลับไปหน้าสารบัญ
3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมและบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติในผืนป่าตะวันตก 20 ล้านไร่
รวมถึงการลดผลกระทบจากชุมชนที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศในผืนป่าตะวันตก
4. หนุนเสริมให้ชุมชนในผืนป่าตะวันตกมีวิถีชีวิตและ
ความเป็นอยู่ที่สมดุลกับธรรมชาติในผืนป่าตะวันตก
ทั้งพื้นที่คุ้มครองและป่าสงวนแห่งชาติ โดยการ
สนับสนุนอาชีพที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ
กลับไปหน้าสารบัญ
5. ส่งเสริมประสิทธิภาพ และสวัสดิการผู้พิทักษ์ป่า
6. พัฒนาองค์กรให้มีรายได้อย่างยั่งยืน เพื่อสนับสนุนการ
ดาเนินกิจกรรมอนุรักษ์ โดยการระดมทุนจากสาธารณะ
ชนที่สนับสนุนการดาเนินงานของมูลนิธิสืบฯ และการ
จัดทาสินค้าที่ระลึกเพื่อนารายได้มาลดภาระค่าบริหาร
จัดการองค์กร
7. เป็นองค์กรที่มีความมั่นคง โปร่งใส น่าเชื่อถือ และมี
บุคคลากรที่ทางานอนุรักษ์ที่มีประสิทธิภาพ
กลับไปหน้าสารบัญ
มูลนิธิเพื่อนช้าง
เรื่องราวของมูลนิธิฯเริ่มต้นเมื่อคุณโซไรดา ซาลวาลาในวัยเพียง 8 ขวบ
ได้เห็นอุบัติเหตุอันน่าสลดใจของช้างที่ถูกรถบรรทุกชนและนอนเจ็บอยู่
ข้างทางโดยไม่มีหนทางช่วยเหลือ เด็กหญิงโซไรดาในขณะนั้นเกิดความ
สะเทือนใจเป็นอย่างยิ่ง เธอไม่อาจทนต่อความเจ็บปวดที่เกิดขึ้นกับช้าง
และฝันถึงอนาคตที่ดีกว่าสาหรับสัตว์ที่ประเสริฐนี้ ความฝันนี้เองได้พัฒนา
จนเป็นวิสัยทัศน์และนาพาเด็กหญิงโซไรดาให้ได้มาเป็นผู้ก่อตั้งมูลนิธิ
เพื่อนช้าง กลับไปหน้าสารบัญ
ณ วันนี้ที่สุขภาพและสวัสดิภาพของช้างยังเป็นสิ่งที่ถูก
ละเลย โรงพยาบาลช้างของมูลนิธิเพื่อนช้างพร้อมยื่นมือให้
ความช่วยเหลือรักษาและดูแลช้างที่อ่อนแอเจ็บป่วยหรือ
ได้รับบาดเจ็บ เพราะหากปล่อยให้ขาดที่พึ่งพิงเช่นนี้ ช้างอีก
จานวนมากคงจะต้องทนทุกข์ทรมานหรือเสียชีวิตลงโดยไม่
จาเป็น
กลับไปหน้าสารบัญ
ด้วยความร่วมมือจากนายสัตวแพทย์ปรีชา พวงคา ซึ่ง
รับมาเป็นผู้อานวยการโรงพยาบาลช้างของมูลนิธิฯ และได้
นาความรู้และความเชี่ยวชาญด้านการดูแลช้างที่สั่งสมมา
ตลอดชีวิตติดตัวมาด้วย ทีมงานที่เปี่ยมด้วยความเมตตานี้
ร่วมแรงทางานจนมูลนิธิเพื่อนช้างเป็นที่ยอมรับในเรื่อง
ความสามารถอันเป็นเอกลักษณ์ในการดูแลรักษาช้างป่วย
หรือได้รับบาดเจ็บในประเทศไทย มูลนิธิเพื่อนช้างวาง
มาตรฐานระดับสูงและยังคงบุกเบิกค้นหาวิธีการและ
เทคโนโลยีในการรักษาช้างอย่างต่อเนื่อง
กลับไปหน้าสารบัญ
ความมุ่งมั่นของมูลนิธิเพื่อนช้าง
1. ช่วยเหลือช้างให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและในที่สุด
สามารถดารงพันธุ์และปรับตัวอยู่ในสภาพธรรมชาติ
ได้
2. ช่วยเหลือผู้ที่มีอาชีพเกี่ยวข้องกับช้าง (ผู้เลี้ยงช้าง
นักวิจัยช้าง สัตวแพทย์ช้าง) เก็บรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับช้าง
3. เผยแพร่ข้อมูลและรายงานสถานการณ์ช้าง ความ
เคลื่อนไหวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับช้างสู่สาธารณชน
กลับไปหน้าสารบัญ
4. ดาเนินการเพื่อสาธารณประโยชน์หรือร่วมมือกับองค์กร
การกุศลอื่นๆ เพื่อสาธารณประโยชน์
5. ไม่ดาเนินการเกี่ยวข้องหรือเอื้อประโยชน์ให้กับกลุ่ม
การเมืองหรือกลุ่มธุรกิจเพื่อแสวงหาผลประโยชน์แต่
ประการใด
กลับไปหน้าสารบัญ
องค์การกองทุนสัตว์ป่าโลกสากล สานักงานประเทศ
ไทย
WWF เป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกาไรที่ดาเนินงานด้านการ
อนุรักษ์เป็นเวลากว่า 50 ปี ทางานอนุรักษ์โดยยึดหลักการ
ผสมผสานองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และภูมิปัญญาท้องถิ่นเข้า
ด้วยกัน อีกทั้งยังประสานความร่วมมือกับกลุ่มองค์กร รวมถึง
บุคคลทุกระดับในหลายประเทศทั่วโลก
กลับไปหน้าสารบัญ
WWF ดาเนินงานด้านการอนุรักษ์ด้วยความมุ่งมั่นที่จะ
ปกป้องดูแลรักษาธรรมชาติและทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
โดยอาศัยข้อมูลทางวิชาการในการวางแผน การจัดการ
และตัดสินใจ โดยเน้นการทางานเพื่อหาทางออกในการ
แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม
กลับไปหน้าสารบัญ
ภารกิจของ WWF
• อนุรักษ์ไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพของโลก
(Save biodiversity)
• บรรเทาผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติ (Reduce Humanity’s impact on
natural habitats)
กลับไปหน้าสารบัญ
เพื่อให้บรรลุภารกิจที่ได้วางไว้ WWF มุ่งประเด็นไปที่การ
อนุรักษ์ชนิดพันธุ์ที่อยู่ในสถานภาพเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์
(Critical species) อนุรักษ์ระบบนิเวศที่สาคัญและมีความ
เปราะบาง (Critical places) รวมถึงการลดผลกระทบจาก
กิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลต่อธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(Ecological Footprint) ไปพร้อมๆ กัน
WWF-ประเทศไทยให้ความสาคัญต่อ 4 เขตภูมินิเวศที่ระบุไว้ใน
WWF Global 200 อันประกอบด้วย เขตภูมินิเวศเทือกเขา
ตะนาวศรี-ถนนธงชัย ป่าดิบแล้งในลุ่มน้าโขงตอนล่าง ลุ่มน้า
โขง และทะเลอันดามัน
กลับไปหน้าสารบัญ
แนวทางการดาเนินงานของ WWF ไม่ต้องการแยก
มนุษย์ออกจากธรรมชาติ หรือต้องย้อนเวลากลับไปสู่ยุค
เก่า หรือปฏิเสธการพัฒนาและความเจริญของ
ประเทศ WWF มุ่งมั่นที่จะค้นหาทางเลือกที่เหมาะสมและ
ปฏิบัติได้จริง ที่จะช่วยดูแลรักษาธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมของโลกได้อย่างยั่งยืน
WWF เชื่อว่า โลก คือ สถานที่ที่มนุษย์และธรรมชาติ
สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสอดคล้องและกลมกลืน ใน
สิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน ตั้งแต่วันนี้จนถึงคนรุ่นต่อๆ ไป
กลับไปหน้าสารบัญ
ขอบคุณที่รับชม
กลับไปหน้าสารบัญ
แหล่งอ้างอิง
http://www.dnp.go.th/wildlife/Organwildlife/oganwildlifepage.htm
http://www.fca16mr.com/webblog/blog.php?id=118
http://www.friendsoftheasianelephant.org/th/history-mission-th/
https://www.wildlifefund.or.th/
https://www.seub.or.th/%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%8C
%E0%B8%81%E0%B8%A3/
http://www.dnp.go.th/wildlifednp/index.php?option=com_content&view=article
&id=13&Itemid=3
http://www.thaifranchisecenter.com/links/show.php?id=714
กลับไปหน้าสารบัญ
แหล่งอ้างอิง(ต่อ)
http://www.wwf.or.th/about_wwf/
https://sites.google.com/site/kmcnpk/satw-sngwn/kar-xnuraks-satw-pa-
sngwn
http://www.vcharkarn.com/varticle/503938
https://sites.google.com/site/supakorn483127/satw-pa-khumkhrxng-laea-
satw-pa-sngwn-tang-kan-xyangri
https://hilight.kapook.com/view/167684
http://www.thailaws.com/aboutthailaw/knowledge_63.htm
https://sites.google.com/site/adecmju2s606/home/bth-lngthos-thang-kdhmay
กลับไปหน้าสารบัญ
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ
Bengelo
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
Ta Lattapol
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
Sircom Smarnbua
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
tumetr1
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
Puchida Saingchin
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
Sircom Smarnbua
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56krupornpana55
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
Sircom Smarnbua
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
สัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดสัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิด
Pang Pond
 

What's hot (20)

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างกิตติกรรมประกาศ เล่มโปรเจ็ค
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
Punmanee study 7
Punmanee study 7Punmanee study 7
Punmanee study 7
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
รายงานผลการปฏิบัติงานกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา...
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
สัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิดสัตว์สงวน15ชนิด
สัตว์สงวน15ชนิด
 

Similar to สัตว์ป่าสงวน

แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
UNDP
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
Sircom Smarnbua
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Bliss_09
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
ดอย บาน ลือ
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
Sircom Smarnbua
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านYmalte
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านswagbieber
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
Sompop Petkleang
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 SlidejanjaoKanjanjao
 
Udomrungsi
UdomrungsiUdomrungsi
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)Pim Jazz
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
Wichai Likitponrak
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomwimon1960
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้Mam Chongruk
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
Auraphin Phetraksa
 
Tab000125534831c
Tab000125534831cTab000125534831c
Tab000125534831c
apinya aimjit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 

Similar to สัตว์ป่าสงวน (20)

แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1โครงสร้างลูกเสือม1
โครงสร้างลูกเสือม1
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao20080901 Slidejanjao
20080901 Slidejanjao
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
Udomrungsi
UdomrungsiUdomrungsi
Udomrungsi
 
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
นำเสนอโครงงานคอม(แก้ไขแล้ว)
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
khuankalong wittayakom
khuankalong wittayakomkhuankalong wittayakom
khuankalong wittayakom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
Tab000125534831c
Tab000125534831cTab000125534831c
Tab000125534831c
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 

More from French Natthawut

โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
French Natthawut
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
French Natthawut
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
French Natthawut
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
French Natthawut
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
    ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์    ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
French Natthawut
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
French Natthawut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
French Natthawut
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
French Natthawut
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (ซ่อมแซม)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (ซ่อมแซม)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (ซ่อมแซม)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (ซ่อมแซม)
French Natthawut
 

More from French Natthawut (9)

โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
    ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์    ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออกโครงงาน โรคไข้เลือดออก
โครงงาน โรคไข้เลือดออก
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (ซ่อมแซม)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (ซ่อมแซม)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (ซ่อมแซม)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (ซ่อมแซม)
 

สัตว์ป่าสงวน