SlideShare a Scribd company logo
1 of 59
๑
บทที่ ๑
บทนำ
ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน
กระบี่ เป็ นจังหวัดที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย
มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่หลากหลาย โดยเฉพาะอาเภอคลองท่อม
ซึ่งตั้งอยู่บนรอยเลื่อนของเปลือกโลก ทาให้เกิดเป็ นน้าพุธรรมชาติ
(Natural Spring) ขึ้นหลายแห่ง มีทั้งน้าพุร ้อน (Hot Spring) น้าพุเย็น
(Cold Spring) และน้าพุร ้อนเค็ม (Saline Spring หรือ Salt Spring)
รวมถึงหาดโคลนร ้อน (Hot Clay Beach) (เกศวลีณ์ รัตนดิลก ณ
ภูเก็ต, 2562 น.2) นอกจากนี้ยังพบว่า น้าพุร ้อนเค็มมีแร่ธาตุ ซิลิกา
ทาให้กระดูกแข็งแรง ไบคาร ์บอเนต ช่วยในการไหลเวียนของโลหิต
ซัลเฟต ช่วยกาจัดของเสียในร่างกาย แคลเซียม แมกนีเซียม
แ ล ะ โ ซ เ ดี ย ม อิ อ อ น ซึ่ ง มี ผ ล โ ด ย ต ร ง ต่ อ ก า ร บ า รุ ง
ค ว า ม เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง ร่ า ง ก า ย เ ส ริ ม ส ร ้า ง ก ร ะ ดู ก
บ า บัดพ ย า ธิส ภ า พ ของ หล อดเลือด ดา กา รติดเชื้อใ น ป อ ด
อาการอักเสบของเส้นประสาท (Neuritis) การอักเสบของข้อต่อ
(Arthritis) อาการปวดเนื่องจากเส้นประสาทถูกกดทับ (Sciatica)
แ ม ก นี เ ซี ย ม ใ น น้ า พุ ร ้ อ น
ยังช่วยเปลี่ยนน้าตาลในกระแสเลือดให้เป็ นพลังงานและบารุงผิวพรรณ
ใ น ข ณ ะ ที่ โ พ แ ท ส เ ซี ย ม
มีผลต่อการช่วยควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจให้เป็ นปกติ ซึ่งจะช่วย
ล ด อ า ก า ร ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง
กระตุ้นการกาจัดสารพิษออกจากร่างกายและสามารถนามาถนอมอาหาร
เพื่อเป็ นการสร ้างรายได้ สร ้างอาชีพให้กับครอบครัวและชุมชน (จิโรจ
สิ น ธ ว า น น ท์ , 2 5 5 9 )
ทาให้ชาวบ้านและนักท่องเที่ยวต่างนิยมมาแช่น้าพุร ้อนเค็ม
น้ า พุ ร ้ อ น เ ค็ ม ค ล อ ง ท่ อ ม
เป็ นแหล่งท่องเที่ยวประเภทน้าพุร ้อนเค็มที่มีน้าเค็มจากใต้ดินพุ่งขึ้นมาบน
ผิวโลก ตั้งอยู่บริเวณเขตป่ าชายเลนคลองบางผึ้ง หมู่ที่ 8 ต.ห้วยน้าขาว
อ . ค ล อ ง ท่ อ ม จั ง ห วั ด ก ร ะ บี่
มี ลัก ษ ณ ะ เ ป็ น บ่ อ น้ า ผุ ด ม า จ า ก ชั้น ใ ต้ดิ น ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ
จัดอยู่ในประเภทน้าพุร ้อนเกลือ (salt spring) ในบริเวณรอบๆ
๒
มี บ่ อ น้ า พุ ร ้ อ น เ ค็ ม ก ร ะ จ า ย อ ยู่ จ า น ว น 14 บ่ อ
อุ ณ ห ภู มิ ข อ ง น้ า ใ น บ่ อ ไ ม่ ร ้ อ น ม า ก จ น เ กิ น ไ ป
และแต่ละบ่อนั้ นสามารถวัดระดับความเค็ มได้ถึง 10 ppm.
มีอุณหภูมิสูงประมาณ 40-47 องศาเซลเซียส ลักษณะน้าใสสะอาด
มี ป ริม า ณ แ ก๊ส ค า ร ์บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์น้อ ย มี ก ลิ่ น ก า ม ะ ถัน
แ ล ะ แ ก๊ ส ไ ข่ เ น่ า น้ อ ย ม า ก
พบสาหร่ายสีเขียวและคราบผลึกของแคลไซต์สีขาว และสีเหลืองอยู่ทั่วไป
โ ด ย มี ศั ก ย ภ า พ ก า ร เ ป็ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ร ะ ดั บ โ ล ก
เ นื่ อ ง จ า ก เ ป็ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ป ร ะ เ ภ ท น้ า พุ ร ้อ น เ ค็ ม
มีเพียงแห่งเดียวในไทยซึ่งถือเป็ น 1 ใน 5 แห่งของโลก อีก 4 แห่งอยู่ใน
ไต้หวัน ญี่ปุ่น อิตาลี และมาเลเซีย (ศิวฤทธิ์พงศกรรังศิลป์, 2558)
จ า ก ก า ร ส า ร ว จ ข้ อ มู ล ชุ ม ช น พ บ ว่ า
ประชากรในอาเภอคลองท่อมส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร
ป ลู ก พื ช ป า ล์ ม น้ า มั น ย า ง พ า ร า
ประมงพื้นบ้านและมีการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ อาทิ วัว แพะ ไก่และเป็ ด
ประกอบกับสภาพพื้นที่ของอาเภอคลองท่อมติดกับทะเลเอื้ออานวยต่อกา
รเลี้ยงเป็ ดไข่โดยนาผลพลอยได้จากประมงพื้นบ้านนามาใช ้เลี้ยงเป็ ด
อีกทั้งชาวบ้านนิยมนาไข่เป็ ดมาใช ้สาหรับทาขนม หรือแปรรูปเป็ นไข่เค็ม
โ ด ย ช า ว บ้ า น นิ ย ม ท า ไ ข่ เ ค็ ม จ า ก น้ า พุ ร ้ อ น เ ค็ ม
เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร แ ล ะ มี ก า ร จั ด จ า ห น่ า ย
ซึ่งเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นและเอกลักษณ์ของชุมชน แม้จะใช ้น้าพุร ้อนเค็ม
เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต
แต่ก็ไม่สามารถเป็ นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นเนื่องจากส่วนประกอบของกระบ
วนการผลิตยังไม่มีความเด่นชัดในเรื่องของรสชาติที่ผู้บริโภคพึงพอใจ
จากเหตุผลข้างต้นผู้จัดทาโครงงานมองเห็นโอกาสในการเพิ่มมูล
ค่ า ใ ห้ กั บ ไ ข่ เ ป็ ด จึ ง คิ ด น า น้ า พุ ร ้อ น เ ค็ ม แ ล ะ ไ ข่ เ ป็ ด
ซึ่งเป็ นทรัพยากรในท้องถิ่นมาแปรรูปเป็ นไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม
โดยใช ้กระบวนการทดลองเพื่อให้ได้อัตราส่วนสูตรการผลิตไข่เค็มน้าพุร ้
อนเค็มที่มีรสชาติอร่อย มีคุณภาพและเป็ นที่พึงพอใจของผู้บริโภค
อีกทั้งยังเป็ นการสร ้างเอกลักษณ์ให้กับไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม
พร ้อมทั้งยังเป็ นการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนสืบไ
ป
วัตถุประสงค์ของโครงงำน
๓
๑. เพื่อให้ได้อัตราส่วนสูตรการผลิตไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็มที่มีรสชาติอ
ร่อย มีคุณภาพและเป็ นที่พึงพอใจของผู้บริโภค
๒. เพื่อเรียนรู้ทักษะกระบวนการการทาไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม
๓. เ พื่ อ เ ส ริ ม ส ร ้ า ง ร า ย ไ ด้ ร ะ ห ว่ า ง เ รี ย น
และเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
๔. เพื่อเพิ่มมูลค่าของไข่เค็มและน้าพุร ้อนเค็มของท้องถิ่น
๕. เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น
สมมติฐำนกำรศึกษำ
1. ผู้บริโภคมีความพึงพอใจต่อรสชาติของไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม
2. มีทักษะกระบวนการการทาไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม
3. สร ้างรายได้ระหว่างเรียนและเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพใ
นอนาคต
4. อนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผลที่คำดว่ำจะได้รับ
1. ได้อัตราส่วนสูตรการผลิตไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็มที่มีรสชาติอร่อย
มีคุณภาพและเป็ นที่พึงพอใจของผู้บริโภค
2. มีทักษะกระบวนการการทาไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม
3. ส ร ้ า ง ร า ย ไ ด้ ร ะ ห ว่ า ง เ รี ย น
และเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
4. เพิ่มมูลค่าของไข่เค็มและน้าพุร ้อนเค็มของท้องถิ่น
5. อนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ขอบเขตกำรศึกษำ
เนื้อหำของโครงงำน ศึกษาค้นคว้า ขั้นตอน วิธีการทา
และวัสดุอุปกรณ์ในการทาโครงงานไข่เค็ม น้าพุร ้อนเค็ม จาก
อินเทอร ์เน็ต
ระยะเวลำในกำรจัดทำโครงงำน
แหล่งที่มำของข้อมูล ชุมชนบ่อน้าร ้อน ตาบลห้วยน้าขาว
อ า เ ภ อ ค ล อ ง ท่ อ ม จั ง ห วั ด ก ร ะ บี่
ห้ อ ง ส มุ ด ข อ ง โ ร ง เ รี ย น เ ท ศ บ า ล ค ล อ ง ท่ อ ม ใ ต้
๔
ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อ า เ ภ อ ค ล อ ง ท่ อ ม
และสืบค้นข้อมูลผ่านระบบอินเทอร ์เน็ต
บทที่ 2
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาค้นคว้า เรื่อง เรือหัวโทง ศิลป์ภูมิปัญญา งานไม้ล้าค่า
มรดกท้องถิ่น ผู้จัดทาได้ดาเนินการ ศึกษาตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. ความหมายเรือหัวโทง
2. ความเป็ นมาของเรือหัวโทง
3. ประวัติบ้านน้าร ้อน
4. เรือหัวโทงกับวิถีชีวิต
5. บทบาทประโยชน์ของเรือหัวโทง
6. ความเชื่อและพิธีการผูกผ้าเรือหัวโทง
7. แม่ย่านางกับความเชื่อของชาวประมง
8. ภูมิปัญญาการต่อเรือหัวโทง
๕
9. ความสาคัญของหนังสืออ่านเพิ่มเติม
ควำมหมำยเรือหัวโทง
1. หัวโทง มาจากคาว่า หัวธง หมายถึง หัวตั้งตรงหรือตั้งธง
ก า ร ส ร ้า ง เ รื อ จึ ง ต้ อ ง ส ร ้า ง ใ ห้ หั ว เ รื อ ตั้ ง ต ร ง / ตั้ ง ธ ง
เพราะมหาสมุทรอินเดียมีคลื่นลมแรง ชาวประมงสร ้างเรือให้หัวตั้งธง
สาหรับโต้คลื่นลม เล็ งใช ้เป็ นจุดเล็ งแนวการนาเรือไปสู่ฝั่ ง
หรือสู่แผ่นดินต่างๆได้อย่างแม่นยา คนเรียกเรือชนิดว่า เรือหัวธง
และได้เพี้ยนจากคาว่า หัวธง เป็ นชื่อ หัวโทง
2. น่ า จ ะ ม า จ า ก ชื่อ ข อ ง ป ล า ที่ มี ป า ก ย า ว ยื่ น อ อ ก ม า
เ ร า เ รีย ก ว่ า ป ล า โ ท ง ห รือ โ ท ง แ ท ง ว่ า ย น้ า ไ ด้ดี แ ล ะ เ ร็ ว
เมื่อสร ้างเรือหรือเห็นเรือหัวสูง จึงตั้งชื่อหรือเรียกชื่อลักษณะดังกล่าวว่า
"เรือหัวโทง"
ควำมเป็ นมำของเรือหัวโทง
เ รื อ ใ น ส มั ย ก่ อ น ข อ ง ก ร ะ บี่
ทาจากต้นไม้ทั้งต้นแล้วนามาขุดตกแต่งรูปทรงเป็ นลาเรือการขุดจะต้องเ
ลื อ ก ต้น ไ ม้ที่มี ข น า ด เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ฝี มื อ ช่า ง ข อ ง แ ต่ ล ะ ค น
ไม้ที่นับว่ามีคุณภาพที่สุดคือไม้ตะเคียนสามารถทาเรือที่มีความสวยงาม
ทนทานใช ้ได้ยาวนาน เรือที่ใช ้จะเป็ นเรือพายหรือเรือแจว
ที่ไม่ มีเครื่องยนต์ ต่อมีการได้สัมปทานเผาถ่านไม้โกงกาง
ใ น พื้ น ที่ บ้ า น ค ล อ ง ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ ใ ก ล้ เ คี ย ง
ทาให้ชาวบ้านมีอาชีพรับจ้างตัดและขนไม้โกงกางมาให้เจ้าของเตาเผาถ่
า น ซึ่ ง ไ ด้ สั ม ป ท า น
ดังนั้นเจ้าของสัมปทานจึงได้ลงทุนจ้างต่อเรือจากบ้านน้าร ้อน คลองท่อม
ทาเรือซึ่ง จะเป็ นเรือต่อไม่ใช่ขุดจากไม้ทั้งต้นแล้ว อาจเรียกง่าย ๆ
กันว่า “เรือเตาถ่าน”เพื่อใช ้ในการขนไม้โกงกางจากที่ตัดมาส่งที่เตาเผา
ถ่าน เจ้าของสัมปทานทาถ่านจะมอบเรือให้แก่ชาวบ้านทุกบ้านที่รับจ้าง
บ้ า น ล ะ 1 ล า
เพื่อใช ้ในการไปตัดและบรรทุกขนไม้มาส่งที่เตาถ่าน ชาวบ้านจะใช ้เรือนี้
ในการรับจ้างตัดและขนไม้ รวมทั้งใช ้ในวิถีชีวิตประ จ า วัน
เ มื่ อ เ ลิ ก ง า น ก็ จ ะ ใ ช ้ ห า ปู ห า ป ล า
ประมงชายฝั่งทั่วไป รวมตลอดถึงการใช ้เป็ นเรือข้ามฟากข้ามไปฝั่งเทศบ
า ล ก ร ะ บี่ โ ด ย มั ก จ ะ นั ด กัน 4-5 ค น แ จ ว เ รือ ข้า ม ฝั่ ง ไ ป
คนที่นั่งต้องนั่งที่กราบเรือ 2 ข้าง เนื่องจาก “เรือเตาถ่าน” จะไม่มีการปู
๖
พื้นกระดานพื้นเรือเพราะต้องการความสะดวกและเหมะสมในการบรรทุก
ไม้ให้ได้มากที่สุด
การเปลี่ยนแปลงรูปลักษณะของเรือจากเรือขุดมาเป็ นเรือเตาถ่าน
แ ล ะ ไ ป สู่ รู ป แ บ บ เ รื อ หั ว โ ท ง ที่ เ ด่ น ๆ
ได้แก่ เรือขุดจะมีลักษณะหัวป้ านไม่มีหัวเรือลักษณะแหลมออกมา เรือเ
ตาถ่านจะมีหัวเรืออก
ม า สั้ น ๆ
ไม่มีดานปิดหัวกง ต่อมาจะเป็ นเรือแจวใช ้งานทั่วไปมีดานปิดกงหัวเรือ
ท้ายเรือให้เหมาะกับ
ก า ร ใ ช้ ง า น โ ด ย ส า ร
ขนส่งและบรรทุกของทั่วไป ต่อมาเมื่อประมาณกว่า 50 ปี ที่ผ่านมา
จึ ง มี ก า ร ป รั บ รู ป เ รื อ เ ป็ น แ บ บ “ เ รื อ หั ว โ ท ง ”
ที่นิยมใช ้มาถึงปัจจุบัน โดยเริ่มจากเรือแจวมาเป็ นเรือติดเครื่องยนต์เรือ
หางยาว และมีการประยุกต์เป็ นเรือหัวโทงวางเครื่องที่ท้องเรือและใช ้พวง
มาลัยบังคับ เรือหัวโทงเป็ นเรือประมงที่นิยมใช ้กันทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันด
ามันลักษณะเป็ นเรือขนาดเล็กหัวเรือสูงงอนขึ้นไปบรรจบกับทวนหัวที่ยื่น
สูงขึ้นมาและตรงทวนท้ายมีลักษณะเป็ นรูปลิ่มขนาดตั้งแต่ 7 ขึ้นไปจนถึง
10 ก ว่ า เ ม ต ร จ า ก ค า บ อ ก เ ล่ า ข อ ง ช า ว ก ร ะ บี่
เชื่อว่าเรือหัวโทงน่ าจะมีกาเนิ ดที่บ้านน้าร ้อน บ้านท่าประดู่
ต . ห้ ว ย น้ า ข า ว
อ.คลองท่อมและมีการถ่ายทอดการต่อเรือสู่ช่างบ้านหาดยาว ต.ตลิ่งชัน
อ.เหนื อคลอง และ ต.เกาะกลาง อ.เมือง จ.กระบี่ ซึ่งทั้ง 2
ตาบลมีพื้นที่ติดต่อกันในสมัยก่อนชาวกระบี่ใช ้เรือหัวโทงในการทาประม
ง จึงทาให้ชาวเรือจากจังหวัดอันดามันอื่น ๆ เช่น ภูเก็ต พังงา ระนอง ตรัง
สตูล สนใจในเรือหัวโทงนี้ด้วย จึงได้มีการซื้อขายเรือหัวโทงกันขึ้น
ความนิยมในเรือหัวโทงจึงได้กระจายไปสู่พื้นที่อื่น ๆ ดังเช่นในปัจจุบัน
ประวัติบ้ำนน้ำร้อน
บ้า น น้ า ร ้อ น เ ป็ น ห มู่ บ้า น ห นึ่ ง ใ น ต า บ ล ห้ว ย น้ า ข า ว
อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ มีประชากร 700 ครัวเรือน
ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ที่เรียบง่าย
ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชีพ ข อ ง ผู้ค น ส่ ว น ใ ห ญ่ ท า ส ว น ย า ง พ า ร า
ป า ล์ ม น้ า มั น แ ล ะ ท า ป ร ะ ม ง น้ า เ ค็ ม
๗
เ พ ร า ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ เ ป็ น ร า บ ช า ย ฝั่ ง อั น ด า มั น
อีกทั้งสถานที่ท่องเที่ยวในหมู่บ้านนี้มีชื่อเสียงคือ น้าพุร ้อนเค็ม
เรือหัวโทงกับวิถีชีวิต
เรือหัวโทงกับวิถีชีวิต "เรือหัวโทง" อันเป็ นเอกลักษณ์ประจาถิ่น
เรือหัวโทง เป็ นเรือประมงแบบท้องถิ่นในภาคใต้ ของประเทศไทย
นิยมใช ้กันทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามันลักษณะเป็ นเรือขนาดเล็กหัวเรือสู
ง ง อ น ขึ้ น ไ ป
บรรจบกับทวนหัวที่ยื่นสูงขึ้นมาและตางทวนท้ายมีลักษณ์เป็ นรูปลิ่มขนา
ดตั้งแต่ 7-8 เมตรขึ้นไปจนถึง 10 กว่าเมตร ติดเครื่องท้าย
เรือหัวโทงเป็ นเอกลักษณ์ของชาวใต้แต่ละจังหวัดก็จะมีความแตกต่างกัน
ออกไป ในอดีตเรือหัวโทงถูกใช้ในงานประมงออกจับปูปลาเป็ นหลัก
แ ต่ เ มื่ อ ยุ ค ส มั ย เ ป ลี่ ย น ท รั พ ย า ก ร
ทางทะเลร่อยหรอลงไปมากซึ่งสวนทางกับการท่องเที่ยวที่เติบโตกลายเป็
นรายได้หลัก ชาวประมงส่วน หนึ่งจะเปลี่ยนจากการออกเรือหาปลา
มาทาอาชีพรับจ้าง ขับเรือ ส่งนักท่องเที่ยวแทน
เรือหัวโทงเป็ นเรือที่ชาวประมงพื้นบ้านทางภาคใต้ฝั่งอันดามันนิยมใช ้เพร
า ะ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น เ รื อ ห า ง ย า ว
โดยตัวเครื่องนั้นจะตั้งอยู่ส่วนท้ายใช ้ได้ดีกับพื้นที่ฝั่งอันดามันที่มีคลื่นมา
ก แ ล ะ เ รื อ ป ร ะ เ ภ ท นี้ ยั ง มี ลั ก ษ ณ ะ เ ด่ น ต ร ง ส่ ว น หั ว
โดยเรือหัวโทงที่ดีขั้นตอนการผลิตทุกอย่างต้องละเอียดลออ
พิ ถี พิ ถั น ทั้ ง ล า หั ว เ รื อ ต้ อ ง เ ชิ ด สู ง ง อ น
สาหรับผู้ที่จะมาสั่งทาเรือประเภทนี้มักจะอยู่ทางภาคใต้ ได้แก่ สตูล ตรัง
ภูเก็ต กระบี่ พังงา สาเหตุที่ชาวประมงนิยมใช ้เรือขนาดใหญ่ขึ้น
เ พ ร า ะ ช า ว ป ร ะ ม ง
ต้องการใช ้เดินเรือเพื่อไปจับปลาในระยะทางที่ไกลกว่าเดิม
จึงต้องใช ้เครื่องยนต์เดินเรือที่ใหญ่ และ แรงขึ้น เพื่อใช ้บรรทุกของ
อุปกรณ์จับปลา และสะดวกต่อการเดินเรือประมง ทั้งนี้ทะเลไม่มีความ
ส ม บู ร ณ์ เ ห มื อ น แ ต่ ก่ อ น
ชาวประมงจึงออกจับปลาไกลกว่าเดิมจากที่เคยจับอยู่แค่ริมชายฝั่ง
เ พื่ อ ใ ห้มี ร า ย ไ ด้เ พิ่ ม ขึ้น แ ล ะ ป ล า ไ ด้ป ล า ม า ก ก ว่ า เ ดิ ม
อ า ชี พ ช่ า ง ต่ อ เ รื อ นั้ น มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ต่ อ ช า ว ป ร ะ ม ง
พื้ น บ้ า น เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก
๘
เพราะชาวประมงพื้นบ้านส่วนใหญ่ใช้เรือหัวโทงในการทาประมง
แ ล ะ ที่ ส า คั ญ
อาชีพนี้นับเป็ นภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมายาวนานจนถึงปัจจุบัน
บทบำทและประโยชน์แของเรือหัวโทง
เ รื อ
ยานพาหนะสาคัญที่มีบทบาทต่อวิถีชีวิตคนไทยมาอย่างยาวนาน
ไม่ว่าจะเป็ นยุคสมัยไหนหรือช่วงจังหวะใดในการใช ้ชีวิตด้วยความที่เมือง
ไ ท ย เ ป็ น เ มื อ ง ติ ด น้ า ติ ด ท ะ เ ล
ต้ อ ง ข อ บ คุ ณ ค ว า ม ช า ญ ฉ ล า ด ข อ ง ค น ใ น ยุ ค ก่ อ น
ที่คิดค้นวิธีการเอาตัวรอดด้วยภูมิปัญญาจึงทาให้ขอนไม้ธรรมดา
ก ล า ย ม า เ ป็ น พ า ห น ะ น า พ า ผู้ ค น ไ ป ใ น ที่ ต่ า ง ๆ ไ ด้
ซึ่ ง ใ น แ ต่ ล ะ ภู มิ ภ า ค แ ต่ ล ะ พื้ น ที่
ต่างก็มีเรือที่เป็ นอัตลักษณ์ในแบบของตัวเองไม่ซ้ากัน ดังเช่นเรือหัวโทง
ที่เราเห็นกันอยู่อย่างคุ้นตา
เรือหัวโทงเป็ นเรือประมงที่นิยมใช ้กันทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามันลั
กษณะเป็ นเรือขนาดเล็กหัวเรือสูงงอนขึ้นไปบรรจบกับทวนหัวที่ยื่นสูงขึ้น
มาและตรงทวนท้ายมีลักษณะเป็ นรูปลิ่มขนาดตั้งแต่ 7ขึ้นไปจนถึง 10
ก ว่ า เ ม ต ร เ รื อ หั ว โ ท ง นี้ มี ขึ้ น ค รั้ ง แ ร ก เ มื่ อ ไ ห ร่ นั้ น
อาจจะเป็ นคาถามที่ตอบยากอยู่สักหน่อยเพราะความบางเบาของหลักฐา
น ที่ มี แ ต่ จ า ก ค า บ อ ก เ ล่ า ข อ ง ส ห า ย ช า ว ก ร ะ บี่
เ ชื่ อ ว่ า เ รื อ หั ว โ ท ง น่ า จ ะ มี ก า เ นิ ด ที่ บ้ า น น้ า ร ้ อ น
บ้านท่าประดู่และมีการเผยแพร่การทาเรือสู่ช่าง ต.ตลิ่งชัน อ.เหนือคลอง
แ ล ะ ต . เ ก า ะ ก ล า ง อ . เ มื อ ง จ . ก ร ะ บี่
ใ น ส มั ย ก่ อ น ช า ว ก ร ะ บี่ ใ ช ้เ รือ หั ว โ ท ง ใ น ก า ร ท า ป ร ะ ม ง
จึงทาให้ชาวเรือจากจังหวัดอันดามันอื่น ๆ เช่น ภูเก็ต พังงา ระนอง ตรัง
สตูล สนใจในเรือหัวโทงนี้ด้วย ด้วยลักษณะที่ปราดเปรียว มีน้าหนักเบา
ทนทานต่อการใช ้งาน จึงได้มีการซื้อขายเรือหัวโทงกันขึ้น
ความนิยมในเรือหัวโทงจึงได้กระจายไปสู่พื้นที่อื่น ๆ ดังเช่นในปัจจุบัน
บทบาทของเรือหัวโทงต่อชาวภาคใต้ฝั่ งทะเลอันดามัน
คื อ ก า ร เ ป็ น พ า ห น ะ ที่ ใ ช ้ส า ห รับ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ป ร ะ ม ง
ซึ่ ง นั บ ว่ า เ ป็ น เ รื อ ที่ มี พิ เ ศ ษ เ ฉ พ า ะ ตั ว คื อ น้ า ห นั ก เ บ า
เ พ ร า ะ ท า จ า ก ไ ม้ เ นื้ อ แ ข็ ง แ ต่ ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง แ ล้ ว
เ รื อ หั ว โ ท ง มี ค ว า ม เ ป็ น เ อ น ก ป ร ะ ส ง ค์ ก ว่ า นั้ น ม า ก
๙
เ พ ร า ะ เ มื่ อ ก า ล เ ว ล า ผ่ า น ไ ป
เ รื อ หั ว โ ท ง ก็ ไ ด้เ ข้า ม า มี บ ท บ า ท ต่ อ อี ก ห ล า ย อ า ชี พ
โดยเฉพาะธุรกิจการท่องเที่ยวที่เห็นมีการนาเรือประเภทนี้มาทาเป็ นเรือ
นาเที่ยว ขนส่งสินค้า หรือทาเป็ นเรือโดยสารข้ามฟาก สาหรับพื้นที่อื่น
ๆ เรือหัว โทง อา จ จ ะมีคุณ ป ระโย ช น์เ ท่า ที่ไ ด้กล่ า ว ม า แ ล้ว
แต่สาหรับชาวกระบี่ เรือหัวโทง ยังเป็ นส่วนหนึ่งของขนบธรรมเนียม
วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ชุ ม ช น อี ก ด้ ว ย
ดั ง ที่ ท า ง จั ง ห วั ด ไ ด้ มี ก า ร จั ด ป ร ะ เ พ ณี ผู ก ผ้ า หั ว เ รื อ
เพื่อความเป็ นสิริมงคลต่อเจ้าของเรือ ในช่วงเปิ ดฤดูกาลท่องเที่ยว
ซึ่งกิจกรรมนี้ จัดขึ้นทุก ๆ ปี บริเวณหาดอ่าวนาง จ.กระบี่
และยังมีอีกหนึ่งกิจกรรมที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเที่ยวจ.กร
ะบี่ได้เป็ นอย่างดี คือการแข่งขันเรือหัวโทง ซึ่งจัดขึ้นตั้งแต่ก่อน พ.ศ.
2526 แ ต่ ก็ ต้ อ ง ห ยุ ด ก า ร แ ข่ ง ขั น ไ ป
เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ภายในเขตเทศบาล จน พ.ศ. 2542
จึ ง ไ ด้มี ก า ร ฟื้ น ฟู ก า ร แ ข่ ง ขั น เ รือ หั ว โ ท ง ขึ้น ม า อี ก ค รั้ง
แ ล ะ ภ า ย ใ น ง า น ยั ง มี ก า ร จั ด นิ ท ร ร ศ ก า ร เ รื อ
ซึ่ ง จ ะ มี ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง เ รื อ หั ว โ ท ง
และการต่อเรือหัวโทงอีกด้วย
น อ ก จ า ก นี้ เ รื อ หั ว โ ท ง
ยั ง ส า ม า ร ถ ส ร ้า ง ร า ย ไ ด้ใ ห้กับ ช า ว บ้า น ไ ด้อี ก ท า ง ห นึ่ ง
คือการผลิตเรือหัวโทงจาลอง ที่ศูนย์การเรียนรู ้การทาเรือหัวโทง
บ้านเกาะกลาง ต.คลองประสงค์ อ.เมือง จ.กระบี่ โดยคุณสมบูรณ์
หมั่นค้า เกษตรกรที่คลุกคลีอยู่กับการต่อเรือหัวโทงมาตั้งแต่สมัยยังเยาว์
จนปัจจุบันกลายมาเป็ นปราชญ์ชาวบ้านผู้คอยให้ความรู้ในการต่อเรือหัว
โทงแก่เยาวชนรุ่นหลัง รวมไปถึงการจาหน่ายเรือหัวโทงจาลองขนาดต่าง
ๆ ส า ห รั บ นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ ผู้ ที่ ส น ใ จ
ถื อ ว่ า เ ป็ น ก า ร ส ร ้า ง ร า ย ไ ด้จ า ก ท รัพ ย า ก ร ที่ มี อ ยู่ แ ล้ว
แต่หากใครอยากจะเห็นการต่อเรือหัวโทงสาหรับการใช้งานจริง
ขอแนะนาให้เดินทางไปที่หาดยาว ต.ตลิ่งชัน อ.เหนื อคลอง
ช า ว บ้า น แ ถ บ นั้ น แ ท บ ทุ ก บ้า น จ ะ มี อ า ชีพ ต่ อ เ รือ หั ว โ ท ง
ที่มีทั้งต่อไว้สาหรับใช ้งานเองภายในครอบครัวและต่อเพื่อเป็ นรายได้หลัก
เรือหัวโทงนับว่าเป็ นอีกหนึ่ งเสน่ ห์อันงดงามของเมืองใต้
แ ม้ จ ะ เ ป็ น เ พี ย ง แ ค่ ศิ ล ป ะ จ า ก แ ผ่ น ไ ม้ เ พี ย ง ไ ม่ กี่ แ ผ่ น
๑๐
แต่เป็ นผลงานที่ผ่านกระบวนการคิดและการสั่งสมประสบการณ์ของบรร
พ บุ รุ ษ ส่ ง ต่ อ ๆ กั น ม า ใ ห้ ลู ก ห ล า น
บ ท บ า ท ข อ ง เ รือ หัว โ ท ง จึง ไ ม่ ใ ช่เ พี ย ง แ ค่ พ า ห น ะ อีก ต่ อ ไ ป
กาลเวลาได้ส่งผ่านให้เรือลานี้กลายมาเป็ นส่วนหนึ่งในชีวิตของชาวอันด
ามันที่สร ้างรายได้ให้กับชุมชนได้อย่างเข้มแข็ง
ควำมเชื่อและพิธีผูกผ้ำเรือหัวโทง
ทุ ก ๆ ปี ช า ว เ รือ ใ น ก ร ะ บี่จ ะ จัด พิ ธีผู ก ผ้า เ รือ หัว โ ท ง ขึ้น
เ พื่ อ บู ช า ข อ พ ร แ ม่ ย่ า น า ง เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น สิ ริ ม ง ค ล
ข อ พ ร ใ ห้แ ม่ ย่ า น า ง ช่ ว ย คุ้ม ค ร อ ง ทุ ก ค รั้ง ย า ม อ อ ก ท ะ เ ล
ให้รอดพ้นจากคลื่นลมในทะเสมัยก่อนชาวประมงยังขอพรแม่ย่านางให้ย
ามออกทะเล ขอให้จับกุ้ง หอย ปู ปลา ได้เยอะๆ
พิ ธี ผู ก ผ้า เ รือ หั ว โ ท ง เ ดิ ม ช า ว เ รือ ต่ า ง ค น ต่ า ง ท า
ผูกหัวเรือใครเรือมัน แต่ในปี นี้ทางจังหวัดกระบี่และอบต.อ่าวนาง
มีแนวคิดว่าควรจัดเป็ นงานใหญ่อย่างเป็ นทางการให้ชาวเรือมาร่วมผูกหั
ว เ รื อ ร่ ว ม กั น ก่ อ น มี พิ ธี อ่ า น บ ท ข อ พ ร
พ ร ม น้ า ม น ต์ ล ง บ น ผ้ า เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น สิ ริ ม ง ค ล
แล้วจึงให้ผู้ชายที่เป็ นเจ้าของเรือ คนขับเรือ นาผ้าแพร ผ้าผืน
ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นผ้าสีจานวนเลขคี่ 3 สีบ้าง 5 สีบ้าง ไปผูกที่หัวเรือ
เรือบางลานอกจากจะผูกผ้าแพรแล้วยังมีการประดับหัวเรือด้วยช่อดอกไ
ม้ พวงมาลัยอย่างสวยงาม
ห ลั ง พิ ธี ผู ก ผ้ า หั ว เ รื อ เ ส ร็ จ สิ้ น
ชาวเรือจะให้ตัวแทนนาเรือส่วนหนึ่ งนาเครื่องสักการะไปทา
“พิธีบวงสรวงและขอพรเจ้าแม่พระนาง” ณ ถ้าพระนาง อ่าวพระนาง
ที่มีรีสอร ์ทราคาแพงหรูระยับในหลักแสนตั้งอยู่บริเวณนี้ อ.สมาน
ให้ความกระจ่าง ถึงที่มาของพิธีบวงสรวงและขอพรเจ้าแม่พระนางว่า
ส มั ย ก่ อ น ห ลั ง ท า พิ ธี ผู ก ผ้ า หั ว เ รื อ เ ส ร็ จ
จ ะ มี ก า ร น า ข้า ว ต อ ก ด อ ก ไ ม้ที่ ใ ช ้ใ น พิ ธี โ ป ร ย ล ง ท ะ เ ล
แต่น่าแปลกที่ปรากฏสิ่งของเหล่านั้นได้ลอยไปขึ้นฝั่งบริเวณถ้าพระนางอ
ยู่ เ ส ม อ
นั่นจึงทาให้ชาวบ้านต่างเชื่อกันว่าสิ่งของเหล่านั้นลอยไปบูชาพระนาง
จึงมีการจัดพิธีบูชาบวงสรวงเจ้าแม่พระนางขึ้นหลังพิธีผูกผ้า
แ ต่ เ นื่ อ ง จ า ก ช า ว เ รื อ ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น มุ ส ลิ ม
จึงเรียกพิธีนี้ว่าเป็ นการขอพรเจ้าแม่พระนางเพื่อไม่ให้ขัดกับหลักศาสนา
๑๑
หลังทาพิธีผูกผ้าเรือหัวโทงและพิธีบวงสรวงและขอพรเจ้าแม่พระน
างผ่านพ้นไปชาวเรือหัวโทงแต่ละลาต่างนาเรือของตนออกท่องทะยานโล
ด แ ล่ น ไ ป ใ น ท้ อ ง ท ะ เ ล อั น ด า มั น
ไปตามบทบาทและหน้าที่ตามที่ตัวเองกาหนด(หรือถูกนายจ้างกาหนด)
บ้า ง ขับ ส่ ง นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้า ง อ อ ก ท ะ เ ล ห า ป ล า ท า ป ร ะ ม ง
บ้างเร่ขายสินค้าหลากหลายเป็ นดังซุปเปอร ์มาร ์เก็ตลอยน้า
ซึ่งสาหรับชาวเรือทั้งหลายเมื่อผ่านการขอพรอันศักดิ์สิทธิ์จากแม่ย่านาง
ม า แ ล้ ว
ยังไงก็ขอให้ซื่อสัตย์สุจริตต่อการประกอบอาชีพของตน อย่าได้คิดไม่ซื่อ
ทุ จ ริต เ จ้า เ ล่ ห์ ค ด โ ก ง เ อ า รัด เ อ า เ ป รีย บ นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว
เพราะไม่อย่างนั้นการขอพรอาจสูญเปล่าที่สาคัญคือแม่ย่านางท่านจะไม่
ส่ ง เ ส ริ ม คุ้ ม ค ร อ ง ค น ไ ม่ ดี ซึ่ ง เ มื่ อ วั น นี้ ม า ถึ ง
บางทีอาจจะไม่มีเวลาให้สานึกเสียใจ
แม่ย่ำนำงเรือ กับควำมเชื่อของชำวประมง
ผู้ประกอบอาชีพประมง จาเป็ นต้องใช ้เรือเป็ นพาหนะในการจับสัตว์
น้า ก่อให้เกิดพิธีกรรมเกี่ยวกับเรือ ตั้งแต่การขุดเรือ การต่อเรือ
และการใช้เรือ ชาวประมงถือว่าส่วนสาคัญของเรือคือ โขนหัวเรือ
แ ล ะ ท้า ย เ รือ โ ด ย เ ฉ พ า ะ โ ข น หั ว เ รื อ ซึ่ ง ห ม า ย ถึ ง ไ ม้
ที่ ท า มุ ม ตั้ ง ขึ้ น จ า ก ก ร ะ ดู ก งู ข อ ง เ รื อ
ส่ ว น ใ ห ญ่ โ ข น เ รื อ จ ะ ท า ด้ ว ย ไ ม้ ต ะ เ คี ย น ท อ ง
ทาหน้าที่ยึดกระดานต่อเรือทั้งลาส่วนของโขนหัวเรือ จะต้องติดตั้งอย่างแ
ข็งแรงที่สุด เนื่องจากเป็ นส่วนที่จะรองรับแรงกระแทกจากคลื่น
หรือการชนกับสิ่งต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ ที่สาคัญคือเชื่อว่า โขนหัวเรือ
เ ป็ น ที่ สิ ง ส ถิ ต ข อ ง แ ม่ ย่ า น า ง เ รือ ซึ่ง ป ร ะ จ า เ รือ แ ต่ ล ะ ล า
มี ห น้ า ที่ ป ก ปั ก รั ก ษ า เ รื อ ใ ห้ ป ล อ ด จ า ก ภั ย ทั้ ง ป ว ง
และเอื้ออานวยให้เรือที่ใช ้ทามาหากินประสบความสาเร็จ เจริญรุ่งเรือง
ดังนั้นผู้เป็ นเจ้าของเรือ จึงมีประเพณี เซ่นไหว้ แม่ย่านางเรือ
ในโอกาสต่างๆ เช่น เมื่อต่อเรือแล้วเสร็จ ก่อนนาเรือลงน้า
ห รื อ ห ลั ง จ า ก น า เ รื อ ขึ้ น ค า น เ พื่ อ ซ่ อ ม แ ซ ม
ห รื อ ท า พิ ธี ก่ อ น อ อ ก เ รื อ จั บ ป ล า ใ น ฤ ดู ก า ล ใ ห ม่
หรือในฤดูกาลที่สามารถจับปลาได้มากเป็ นพิเศษ
เครื่องเซ่นไหว้แม่ย่านางเรือ ของชาวประมง ประกอบด้วย
อาหารคาวหวาน น้า สุรา ผลไม้ต่างๆ ดอกไม้ ธูปเทียน พวงมาลัยดอกไม้
๑๒
และมีผ้าแดง ผ้าขาว หรือใช้ด้ายดิบ สาหรับผูกโขนหัวเรือ
เพื่อเป็ นสิริมงคล อาจมีการนาผ้าเยื่อไม้สีต่างๆ เช่น สีแดง เขียว เหลือง
ผู ก โ พ ก กั บ โ ข น หั ว เ รื อ ด้ว ย เ ชื่ อ ว่ า เ ป็ น ก า ร แ ต่ ง ตั ว
เพื่อความสวยงามให้แก่ แม่ย่านางเรือ โดยจะมี พราหมณ์ หมอครู
ผู้สูงอายุ หรือเจ้าของเรือ เป็ นผู้ทาพิธี เมื่อเตรียมเครื่องสังเวยเรียบร ้อย
ก็จุดธูปเทียน กล่าวอัญเชิญ แม่ย่านาง มารับเครื่องเซ่นไหว้
แ ล ะ ข อ ใ ห้คุ้ม ค ร อ ง ป ก ปั ก รัก ษ า มิ ใ ห้เ กิ ด อัน ต ร า ย ใ ด ๆ
จากนั้นประพรมน้ามนต์ในขัน ด้วยกิ่งทับทิม จนทั่วลาเรือ และผู้เข้าพิธี
เจ้าของเรือ ลูกเรือ หรือฝีพาย เพื่อความเป็ นสิริมงคล
ส่วนข้อห้ามตามความเชื่อ ที่จะทาให้ แม่ย่านางเรือ ไม่พอใจ
ซึ่งชาวประมงทุกคน จะต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดที่สุด ได้แก่...
- ห้ามทะเลาะ ด่าทอกันขณะอยู่ในเรือ
- ห้ามทาให้เรือสกปรก รกไปด้วยสิ่งปฏิกูล
- ห้ามดื่มสุราก่อนออกเรือ หรือขณะอยู่บนเรือ
- ห้ามเล่นการพนันทุกชนิดบนเรือ
- ห้ามเสพสังวาส (ร่วมเพศ) ในเรือ
- ห้ามใส่รองเท้าในเรือ
- ห้ามเหยียบโขนหัวเรือ
- ห้ามนาสิ่งของใดๆ วางที่หัวเรือ
- ห้ามลบหลู่ ดูหมิ่นเรือลาอื่นๆ
- ห้ามลักขโมยสิ่งของบนเรือ
คติความเชื่อเรื่อง แม่ย่านางเรือ นี้สืบทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ
จนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็ นที่ยึดเหนี่ ยวทางจิตใจของ ชาวประมง
ส่วนข้อห้ามที่แฝงไว้ ก็เพื่อความปลอดภัยของคนที่อยู่ในเรือนั่นเอง
และผู้ที่จะลงโดยสารบนเรือ ควรทราบไว้ ไม่ลบหลู่ความเชื่อ ของชาวเรือ
และเป็ นมงคลต่อตัวเอง
ยามอยู่บนบก เราอาจไม่เห็นคุณค่า ของความเชื่อ นี้
แต่เมื่อใดที่ต้องอยู่บนเรือ กลางท้องทะเลกว้างท่ามกลางพายุฝน
ภูมิปัญญำกำรต่อเรือหัวโทง
การต่อเรือหัวโทงแต่ละลาช่างจะใช ้ประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมาเป็ นเ
ครื่องกาหนดกะคานวณแบบสัดส่วนให้ได้ขนาดรูปทรงเรือที่ต้องการ
ซึ่ ง วั ต ถุ ดิ บ ส า คั ญ คื อ ไ ม้ตี น เ ป็ ด ไ ม้ย อ ไ ม้พ ะ ย อ ม
ไ ม้ ทั ง หั ว เ รื อ ม า จ า ก ไ ม้ ข นุ น ไ ม้ เ ที ย ม
๑๓
ซึ่ ง ห า ซื้อ จ า ก ใ น ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ พื้ น ที่ จั ง ห วั ด ใ ก ล้ เ คี ย ง
เรือหัวโทงในอดีตมีความแตกต่างจากปัจจุบันบางส่วน ทั้งในเรื่องวัสดุ(ไ
ม้) ขนาดและโครงสร ้าง เครื่องมือและอุปกรณ์ ระยะเวลาในการผลิต
ตลอดจนสีสันลวดลายและการนาไปใช ้ประโยชน์
ขั้นตอนในการต่อเรือหัวโทงมีดังนี้
ขั้น ต อ น ที่ 1 ก า ร เ ต รีย ม แ ล ะ ว า ง “ ก ร ะ ดู ก งู ” ห รือ
“มาดเรือ” เป็ นขั้นตอนแรกของการต่อเรือ กระดูกงูเปรียบเสมือนกระดู
ก สั น ห ลั ง ข อ ง เ รื อ เ ป็ น ส่ ว น ที่ แ ข็ ง แ ร ง ที่ สุ ด ข อ ง เ รื อ
จึงต้องวางกระดูกงูเป็ นหลักของโครงเรือ กระดูกงู คือ ไม้แกนกลางขอ
ง ล า เ รื อ ที่ มี ค ว า ม ย า ว ต า ม ข น า ด ข อ ง ล า เ รื อ
เป็ นที่ยึดเกาะของแผ่นไม้กระดาน ที่ซ ้อนต่อขึ้นเป็ นลาเรือ และเป็ นทีสา
หรับติดตั้งกงของเรือ โดยเตรียมไม้ตามรูปร่างที่มีสัดส่วนการโค้งตามห
ลั ก ก า ร ต่ อ เ รื อ
มีความเหมาะสมตามขนาดของเรือโดยขั้นตอนนี้จะมีการนากระดูกงูวาง
บนคาน 3 จุด ได้แก่ บริเวณ หัวเรือ กลางเรือ และ ท้ายเรือ 3-
5 ตัว ตอกตะปูยึดกระดูกงูไว้ (23 + 80 เซนติเมตร)
ขั้ น ต อ น ที่ 2 ก า ร ขึ้ น ก ร ะ ด า น เ รื อ ห รื อ
“กราบเรือ” คือการวางกระดานเรือตั้งแต่ด้านล่างสุดจากกระดูกงูถึงด้า
นบนสุด เป็ นส่วนประกอบของเรือที่เป็ นแผ่นไม้กระดานไม้ที่เสริมข้างตัว
เรือให้สูงขึ้น เป็ นไม้ที่ติดไว้ตลอดด้านข้างของตัวเรือ ที่ต่อเติมเสริมขึ้นไ
ป ต า ม แ น ว ก ร ะ ดู ก งู ส อ ง ข้ า ง
ซ้ายขวา ให้ลาเรือขยายกว้างออกตรงกลางลาเรือ แล้วเรียวแคบไปทาง
ส่วนหัวเรือ และท้ายเรือ ขนาดของแผ่นไม้กระดานที่นามาต่อเป็ นกราบเ
รือ จะใช ้ไม้ขนาด หนา 1 นิ้ว x กว้าง 6 นิ้ว ยาวตลอดทั้งลา
(ประมาณ 9 เมตร)
ขั้นตอนที่ 3 การวางกง “กง” คือไม้ที่มีลักษณะคล้ายกับตัว U ใ
นภาษาอังกฤษ ที่วางขวางอยู่ในลาเรือ ตามขนาดความโค้งของเรือตั้งแ
ต่หัวเรือจนถึงท้ายเรือ กงจะมีขนาดความกว้างที่สุดตรงกลางลาเรือ แล้
ว ค่ อ ย
ๆ เรียวเล็กแคบลงไปทางส่วนหัวและส่วนท้ายตามลาดับ กงจึงเปรียบเส
มือนโครงสร ้างหรือโครงกระดูก เพราะไม้กระดานแต่ละแผ่นที่ประกอบขึ้
นเป็ นลาเรือ จะต้องถูกตอกตรึงกับกงด้วยตะปู จึงสร ้างความแข็งแรงให้
กั บ ล า เ รื อ เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ก า ร ท า
“กง”ของเรือหัวโทง(ของนายมะตาบ) กง 1 ตัว จะแบ่งเป็ น 3 ส่วน คือ
๑๔
“กง ท้อง ” 1 ส่ ว น อีก 2 ส่ ว น คือ “กง มือ ” 2 ฝั่ ง ซ้า ย -ขว า
การวางกง เริ่มจากการวางกงกลางลาเรือเป็ นตัวแรก แล้วไล่ไป
จนถึงหัว-ท้ายเรือ (เรือหัวโทงจะมีจานวนกงเป็ นเลขคี่ คือ 11 -23 ตัวกง)
โดยการวางกงแต่ละตัวที่มี 3 ส่วน จะเริ่มจาก “กงท้อง”ก่อน
โ ด ย จ ะ ว า ง ก ง ท้ อ ง ตั ว แ ร ก ก ล า ง ล า เ รื อ แ ล้ ว
เทคนิ คคือสังเกตหรือเล็งด้วยสายตาและอาศัยประสบการณ์
ตั ด สิ น ใ จ เ ลื อ ก ว่ า จ ะ ท า “ ก ง มื อ ” ฝั่ ง ซ ้า ย ห รื อ ข ว า
จากที่มองเห็นว่ามีสัดส่วนเค้าโครงที่ทาให้เรือดูสวยงามกว่า เมื่อทาฝั่งที่
เลือกได้แล้ว ก็จะทาอีกฝั่งที่เหลืออีกฝั่งให้เท่ากัน ก็จะได้ความสมดุล
ขั้ น ต อ น ที่ 4 ก า ร แ ต่ ง ก ง ด้ว ย ข ว า น “ แ ม ะ ” ห รื อ
“ละแมะ” (เป็ นขวานที่ใช ้ถากไม้ รูปร่างคล้ายจอบ หรือขวานขุดปลายงอ
ใช้ขุดเรือแต่งเรือโกลน) เป็ นขั้นตอนในการที่จะเก็บรายละเอียดของกง
หลังจากที่วางกงแล้ว จาเป็ นต้องแต่งกง (ขอดหรือถาก “กง”)
ใ ห้ไ ด้รู ป ที่ ส ม บู ร ณ์เ รีย บ ร ้อ ย เ พ ร า ะ ก ง ท า จ า ก ไ ม้ 3 ส่ ว น
จึงต้องเก็บรายละเอียดให้เรียบร ้อย และกงมีความสาคัญต่อรูปทรงและค
วามแข็งแรงของเรือ
ขั้นตอนที่ 5 การใส่หัวเรือ เป็ นขั้นตอนที่ทาหลังจากวางกงเสร็จแล้
ว ตอนนี้จะได้ตัวลาเรือที่เป็ นโครงที่ยังไม่มีหัวและท้ายเรือ โดยหัวและท้า
ยเรือยังอ้าค่อนข้างกว้างอยู่ การจะใส่หัวเรือจึงต้องทาตามลาดับคือ
เ ริ่ ม จ า ก วั ด ร ะ ย ะ ที่ จ ะ ใ ห้ เ ป็ น ส่ ว น หั ว
ด้วยการที่เว้นตัวกงที่ 3 จากหัวเรือ ใช้แม่แรงบีบกดให้หัวเรือสอบเข้าม
า โ ด ย ก ะ ป ร ะ ม า ณ ว่ า ส่ ว น ด้ า น ล่ า ง ต ร ง ก ร ะ ดู ก งู
มีขนาด 4 นิ้ว ส่วนบนกระดานกราบแผ่นบนสุดให้กราบซ้ายขวาห่างกัน
ป ร ะ ม า ณ 10-12 นิ้ ว ส่ ว น ตั ว ไ ม้ ที่ ท า เ ป็ น ตั ว หั ว เ รื อ
จ ะ มี ข น า ด ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั น คื อ
ด้านล่างที่เป็ นด้านในจะกว้าง 4 นิ้ว ด้านนอกประมาณ 2 นิ้ว แล้วหัวเรื
อ จ ะ มี รู ป ร่า ง สู ง ขึ้น ไ ป ต า ม ส ม ค ว ร ใ ห้ส ม ดุ ล กับ ข น า ด เ รือ
แ ล ะ ส า ม า ร ถ แ ห ว ก น้ า รี ด น้ า ห รื อ
ฟันคลื่นได้ดี โดยที่ช่างจะอาศัยประสบการณ์ในการกาหนดส่วนโค้งรูป
ทรงของหัวเรือ
ขั้นตอนที่ 6 การใส่ท้ายเรือ ทา ลักษณะเดียวกับหัวเรือ
ร ะ ย ะ โ ด ย มี ร ะ ย ะ
หัวเรือประมาณ 1 เมตร 80 เซนติเมตร ส่วนท้าย 1 เมตร 20เซนติเมตร
๑๕
ขั้นตอนที่ 7 การติดตั้ง “หน้านางใน” “กงฉบัง” และ
“ ก ร ะ ด า น ปิ ด หั ว ก ง ”
ทั้ง หัว แ ล ะ ท้า ย เ รือ “ ห น้า น า ง ใ น ” จ ะ ใ ช้ก ร ะ ด า น ห น า 2-2
๑ / ๒ นิ้ ว เ ดิ ม เ ป็ น ไ ม้ 2 ชิ้ น
ปัจจุบันใช ้เป็ นไม้ชิ้นเดียวกัน ทารูปลักษณะมีการโค้ง อ่อนช้อย
ตามรูปแบบ แล้วใช้ตะปูตอกยึด กับตัวเรือ “กงฉบัง” หรือ “กงฝาก” เป็ น
ก า ร ติ ด ตั้ ง ที่ ส่ ว น หั ว ร ะ ย ะ ป ร ะ ม า ณ 1-1.20 เ ม ต ร
ส่วนท้ายระยะ 60 เซนติเมตร ก่อนที่จะมีการปูกระดานปิ ดหัวกง
ที่ หั ว แ ล ะ ท้ า ย เ รื อ ก ร ะ ด า น ปิ ด หั ว ก ง ”
เป็ นกระดานที่ติดเพื่อปิดกงที่ส่วนหัวเรือและท้ายเรือ เป็ นส่วนที่ทาให้มีพื้
น ที่ ใ ช ้ ส อ ย
ส่วนหัวเพื่อการขึ้นลงเรือ ส่วนท้ายเป็ นที่ติดตั้งเครื่องยนต์เรือหางยาวแล
ะสาหรับผู้ควบคุมเรือ
ขั้ น ต อ น 8 ก า ร ติ ด ไ ม้ คิ้ ว ป ร ะ ดั บ
ตกแต่งตลอดแนวขอบเรือ เป็ นการเสริมขอบที่ต้องมีเทคนิคและฝีมือใน
ก า ร “ ดั ด ไ ม้ คิ้ ว ”
ที่จะให้สวยงามต้องค่อยๆทาอย่างประณีตพิถีพิถัน แม้ไม้ที่ใช ้จะเป็ นขนา
ด ๑/๒ x 2 นิ้ว
ขั้ น ต อ น ที่ 9 ก า ร ติ ด “ ร า ทู ” ห รื อ “ ลู ก ก ล้ว ย ”
เ รื อ ใ ช้ ไ ม้ ข น า ด 1x2 นิ้ ว ติ ด ตั้ ง ด้ า น ข้ า ง ล า เ รื อ
ตลอดแนวขอบบนสองข้างลาเรือ อยู่ใต้ “ไม้คิ้ว” ประโยชน์เพื่อ
ใช ้เป็ นตัวผ่อนแรงกระทบกับท่าเรือหรือเรือลาอื่นๆ หรือถือว่าเป็ น
“กันกระแทก” นั่นเอง
ขั้นตอนที่ 10 การติดตั้ง “ไม้เส้นตา”และ ปูกระดานพื้นเรือ
“ไม้เส้นตา ” คือไม้ที่ติด เ ป็ น แ น ว ย า ว ด้า น ใ น ล า เ รือ ซ ้า ย -
ขวา โดยตียึดแนวกง ในระดับที่เหมาะสม เพื่อปูกระดานนั่ง หรือ
วางม้านั่ง มีประโยชน์ทางอ้อมคือเพิ่มความแข็งแรงของเรือด้วย
ขั้ น ต อ น ที่ 1 1 ก า ร ปู ก ร ะ ด า น “ พื้ น เ รื อ ”
ต า ม ป ร ะ โ ย ช น์ ใ ช้ ส อ ย ไ ม่ ต้ อ ง เ ห ยี ย บ ท้ อ ง เ รื อ
สะดวกในการเดินของผู้โดยสาร
ขั้ น ต อ น ที่ 12 ก า ร ท า ที่ ตั้ ง แ ท่ น เ ค รื่ อ ง
เจาะที่ตั้งเครื่อง ที่ใช ้ร ้อยน๊อตและการเติมแพนหางเรือ “แพนหางเรือ”
คือส่วนที่ อยู่ท้ายเรือ ติดตั้งเพื่อให้เรือหัวโทง สามารถแล่นอย่างสมดุล
๑๖
บังคับไม่ให้หัวเชิดเกินไป การติดตั้งอาจทาได้ทั้งก่อนหรือหลังเอาเรือลง
น้าแล้วค่อยติดตั้งก็ได้
ขั้นตอนที่ 13 การตกแต่งรายละเอียดเรือ ด้วย กบ และ ผัด
(ขัดผิวไม้) นอกและในเรือ งานนี้ในส่วนที่ต้องการความเรียบร ้อยจะใช ้วิ
ธีลงด้วยกระดาษทรายมือเปล่าเก็บรายละเอียด
ขั้ น ต อ น ที่ 14 ก า ร ต อ ก ห มั น เ รื อ ก า ร ย า แ น ว
มักจะทาโดยช่างที่มีความชานาญเฉพาะ
ขั้ น ต อ น ที่ 15 ก า ร ท า สี กั น เ พ รี ย ง
ท า น้ า มั น ย า ง แ ล ะ แ ล ค เ ก อ ร ์ โ ด ย จ ะ ท า สี กั น เ พ รี ย ง
บ ริ เ ว ณ ใ ต้ ท้ อ ง เ รื อ ป ร ะ ม า ณ ใ ห้ ถึ ง แ น ว ร ะ ดั บ น้ า
(ไม่มาทั้งลาเพราะสิ้นเปลืองและอาจดูไม่สวย) เมื่อทาสีกันเพรียงแล้วจะ
ลงน้ามันยาง ปัจจุบันเป็ นน้ามันยางสาเร็จรูป
เ มื่ อ เ ส ร็ จ ก ร ะ บ ว น ก า ร ต่ า ง ๆ
ใ น ก า ร ต่ อ เ รือ หัว โ ท ง แ ล้ว จ ะ มี กิจ ก ร ร ม ต า ม ค ว า ม นิ ย ม
คื อ ก า ร ผู ก ผ้ า หั ว เ รื อ เ พื่ อ
เ รือ หัว โ ท ง จ ะ มีค ว า ม ส ว ย ง า ม เ มื่อ เ ล่ น โ ต้ค ลื่น ใ น ท้อ ง ท ะ เ ล
มีการขอแรงเพื่อนบ้านมาช่วยในการดึงเรือลงน้า และถือโอกาสจัดเลี้ยง
ด้ ว ย อ า ห า ร ที่ นิ ย ม คื อ ข้ า ว เ ห นี ย ว ไ ก่ ไ ก่ ต้ ม ก ะ ทิ
ห รื อ ค น ที่ ฐ า น ะ ดี อ า จ มี แ ก ง แ พ ะ
เพื่อเลี้ยงเพื่อนบ้านญาติมิตรที่มาร่วมช่วยเหลือและแสดงความยินดี
ในช่วงการจะดึงเรือลงน้า จะมีนายช่างเจาะรู 4-6 หุน
ต ร ง ก ร ะ ดู ก งู ลู ก ก ร ะ ด า น เ รื อ
ให้ทะลุท้องเรือลงไป จากนั้นจึงมีการขอพรแล้วจึงใช ้ไม้เหลาเท่ารูที่เจาะ
ท า เ ป็ น ลิ่ ม ต อ ก อุ ด รู ไ ว้
ด้วยการใช้ขวานหรือค้อนตอก การทากิจกรรมนี้จะมีการขอให้ผู้รู ้ทาง
ศาสนา (อีหม่าม โต๊ะไบ) ช่วยขอพร ( “ดุอา” ในศาสนาอิสลาม)
ใ ห้
เรือลงไปแล้วอย่าให้มีอุปสรรค ขอให้คลื่นลมอานวย ออกทะเลให้ได้กุ้ง
ได้ปลา มากๆ ในความเมตตาของพระเจ้าในศาสนาอิสลาม (มี“รีสกี”
ในศาสนาอิสลาม)
มี ค า ก ล่ า ว ต่ อ ๆ กั น ม า ว่ า
ถ้าไม่มีการเจาะท้องเรือเช่นนี้ “เรือจะยังไม่เป็ นเรือ เมื่อเจาะแล้วเรือจะรู ้
ตัว ว่ า เ ป็ น เ รือ ” นั บ ว่ า ก า ร เ จ า ะ ท้อ ง เ รือ นี้ สิ่ ง ที่ ถื อ ป ฏิ บั ติ
ในการต่อเรือหัวโทงสืบต่อกันมา การมีพิธีกรรมประกอบอาจแตกต่างกั
๑๗
นไปตามบริบทของสังคม นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่ถือปฏิบัติเคร่งครัดอีกอย่า
ง คื อ ก า ร ที่ จ ะ ไ ม่ ต่ อ เ รือ เ ป็ น จ า น ว น ก ง ที่ เ ป็ น “ เ ล ข คู่ ”
เด็ดขาด ไม่มีใครฝ่าฝืน
หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม
จั น ท ร า ท อ ง ส มั ค ร (2541 : 10)
ไ ด้ใ ห้ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ว้ว่ า คื อ
หนังสือที่เขียนเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรตอนใด ตอนหนึ่ง
เ นื้ อ ห า เ จ า ะ ลึ ก เ ฉ พ า ะ วิ ช า
โ ด ย เ พิ่ ม เ ติ ม ใ ห้ ก ว้ า ง ข ว า ง ลึ ก ซึ้ง ม า ก ขึ้ น ก ว่ า เ ดิ ม
เ พื่ อ ใ ช ้ ป ร ะ ก อ บ ใ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
สาหรับให้นักเรียนอ่านศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติมและเลือกอ่านได้ตามควา
ม สนใจและตามกาลังสติปัญญาของตน
จิ น ต น า ใ บ ก า ซู ยี (2542 : 134)
ไ ด้ใ ห้ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ว้ว่ า คื อ
หนังสือที่บรรจุความรู ้ซึ่งอาจจะเป็ นความรู ้ส่วนใดส่วนหนึ่งจากสูตรหรือค
วามรู ้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งซึ่งเป็ นประโยชน์เสริมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน
ซึ่งเป็ นนักเรียนวัยต่างๆ มีลักษณะแนวการเขียนทั้งในแง่ให้สาระ
ประโยชน์โดยตรงในลักษณะการเขียนแบบสารคดีและให้ความสนุกในลั
กษณะการเขียนแบบบันเทิงคดีปะปนอยู่ด้วย แต่เน้นหนักไปในแง่ให้สาระ
ประโยชน์มากกว่าความบันเทิง ทั้งนี้การเน้นหนักในแง่ให้สาระ
ประโยชน์ความรู้จะเป็ นจุดประสงค์สาคัญของการเขียนหนังสืออ่านเพิ่มเ
ติม
ก ล่ า ว โ ด ย ส รุ ป ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ห ม า ย ถึ ง
หนังสือที่เป็ นความรู ้ส่วนหนึ่งของหลักสูตรรายวิชาใดวิชาหนึ่งที่จัดทาขึ้น
ให้นักเรียนอ่านเพื่อสร ้างเสริมประสบการณ์เพิ่มเติมให้กับนักเรียนได้มีค
วามรู ้ความเข้าใจในเรื่องนั้นๆได้อย่างลึกซึ้ง ชัดเจนขึ้นด้วยตนเอง
โดยคานึงถึงวัยและความสามารถในการอ่านของเด็กแต่ละบุคคลเป็ นสา
คัญ
ควำมสำคัญของหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเป็ นสื่อการเรียนอย่างหนึ่งที่กระทรวงศึกษาธิก
า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ
ท้องถิ่นโรงเรียนและเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดทาเพื่อให้โรงเรียนใช้เป็ น
๑๘
สื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในกลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ
โ ด ย ใ ห้เ ห ม า ะ ส ม กับ ส ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม ต้อ ง ก า ร ข อ ง ท้อ ง ถิ่น
ซึ่ ง ใ น ก า ร จั ด ท า ห นั ง สื อ ดั ง ก ล่ า ว
โรงเรียนจะต้องนาเนื้อหาในหลักสูตรมาขยายให้มีรายละเอียดมากขึ้น
โ ด ย เ น้ น เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ที่ ใ ห้ค ว า ม รู ้ข้อ เ ท็ จ จ ริง ที่ มี คุ ณ ค่ า
ค ว า ม เ พ ลิ ด เ พ ลิ น อัน แ ต ก ต่ า ง ไ ป จ า ก ห นั ง สื อ แ บ บ เ รีย น
ซึ่งความจาเป็ นในการใช ้หนังสืออ่านเพิ่มเติมสรุปได้ดังนี้
๑ .
ช่วยขยายเนื้อหาแบบเรียนให้กว้างขวางขึ้นหนังสืออ่านเพิ่มเติมจัดทาขึ้น
เ พื่ อ จุ ด มุ่ ง ห ม า ย เ ฉ พ า ะ ส่ ว น ย่ อ ย
ที่ช่ว ย เ น้น ข ย า ย เ นื้อ ห า แ ล ะ ยัง มี ภ า พ ป ร ะ ก อ บ ท า ใ ห้เ กิด
ความรู ้ความเข้าใจได้กว้างขวางขึ้นดีขึ้นและง่ายขึ้น
๒. สร ้างเสริมนิ สัยรักการค้นคว้าและพัฒนาการอ่าน
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเด็กสามารถอ่านได้อย่างอิสระไม่จากัดสถานที่
เป็ นการสร ้างเสริมทักษะนิสัยให้รักการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอ
ง ฝึ ก ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร อ่ า น อ ยู่ เ ส ม อ
รวมทั้งยังเป็ นการใช ้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์อีกด้วย
๓ . ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ด็ ก มี นิ สั ย รั ก ก า ร อ่ า น ห นั ง สื อ
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมีเรื่องราวเนื้อหาที่ สนุ กสนานเพิ่มเติม
มี ภ า พ ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ วั ย
จึ ง ส า ม า ร ถ เ ร ้า ค ว า ม ส น ใ จ ที่ จ ะ อ่ า น ม า ก ก ว่ า แ บ บ เ รีย น
ซึ่งจะปลูกฝังให้เด็กเกิดนิสัยรักการอ่านในที่สุด
๔. ช่วยชดเชยความบกพร่องทางด้านจิตใจของ เด็ ก
ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ที่ เ ป็ น เ รื่ อ ง ร า ว
ส า ม า ร ถ ช ด เ ช ย ค ว า ม รู้ สึ ก บ ก พ ร่ อ ง ท า ง จิ ต ใ จ
เสริมสร ้างคุณธรรมได้ดีกว่าแบบเรียน
๕ . ช่ว ย ใ ห้เ ด็ ก ไ ด้รับ ค ว า ม เ พ ลิ ด เ พ ลิ น บัน เ ทิ ง ใ จ
ลับสมองและส่งเสริมเชาว์ปัญญาหนังสืออ่านเพิ่มเติมมีเนื้อเรื่องที่สนุกสน
านแฝงไว้ด้วยความรู ้มีความเหมาะสมกับวัยจึงเป็ นสื่อสาคัญที่จะสร ้างคว
ามเพลิดเพลิน ส่งเสริมเชาว์ปัญญาให้แก่เด็ก (บันลือ พฤกษะวัน, 2524
: 58;ปรานี เชียงทอง, 2526 : 133)
กองวิจัยทางการศึกษา (2529: 31 อ้างถึงใน เทียมจันทร ์ศรีสังข์.
2542: 12) ส รุ ป ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ห นั ง สือ อ่ า น เ พิ่ม เ ติม ไ ว้ว่ า
สามารถส่งเสริมความเจริญงอกงามทั้งทางด้านอารมณ์และทางด้านสังค
๑๙
ม ตลอดจนปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน รักการค้นคว้า เพิ่มพูนความรู ้
และปลูกฝังอุดมคติอันดีงามในการดารงชีวิต
ลั ก ข ณ า ร อ ด ส น (2540 : 28)
ก ล่ า ว ถึง ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ห นั ง สือ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติม ว่ า เ ป็ น สื่อ
ก า ร ส อ น ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ทั้ ง ต่ อ ผู้ ส อ น แ ล ะ ผู้ เ รี ย น
เป็ นหนังสือที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้อ่านมีความรู ้กว้างขวางยิ่งขึ้น
ช่วยส่งเสริมทักษะการอ่านและเป็ นแหล่งในการศึกษาค้นคว้าความรู ้เพิ่มเ
ติม รวมทั้งปลูกฝังให้เด็กรักการอ่าน
เ ที ย ม จั น ท ร ์ ศ รี สั ง ข์ (2540 : 12)
ก ล่ า ว ถึง ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ห นั ง สือ อ่ า น เ พิ่ม เ ติม ว่ า ส า ม า ร ถ
ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ด็ ก รั ก ก า ร อ่ า น
มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร พั ฒ น า ส ติ ปั ญ ญ า ข อ ง เ ด็ ก
เ ป็ น แ ห ล่ ง ค ว า ม รู้แ ล ะ ส น อ ง ค ว า ม ส น ใ จ ข อ ง เ ด็ ก
และสามารถใช ้เป็ นสื่อประกอบการเรียนการสอนและค้นคว้าหาความรู ้เพิ่
มเติมสาหรับนักเรียนอีกด้วย
กล่าวโดยสรุป ความสาคัญของหนังสืออ่านเพิ่มเติม คือ
การช่วยส่งเสริมการอ่านทาให้ ผู้อ่านหรือผู้เขียนได้รับความรู้
ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ
เพื่อให้เกิดพัฒนาการด้านความรู ้และสติปัญญาพัฒนาการด้านภาษา
พั ฒ น า ก า ร ด้ า น นิ สั ย บุ ค ลิ ก ภ า พ
พัฒนาการด้านเจตคติต่อสังคมรวมทั้งเป็ นสิ่งพักผ่อนหย่อนใจให้กับผู้อ่า
น
จุดมุ่งหมำยในกำรสร้ำงหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม
หนังสืออ่านเพิ่มเติมเป็ นสื่อการเรียนการสอนอย่างหนึ่ ง
ที่ ก ร ม วิ ช า ก า ร ส่ ง เ ส ริม ใ ห้โ ร ง เ รีย น ชุ ม ช น แ ล ะ ท้อ ง ถิ่ น
ตลอดจนเอกชนจัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้อ่านหนังสือที่มีสาระเ
กี่ยวกับประสบการณ์จริงในท้องถิ่นของตน สอดคล้องกับสภาพปัญหา
และความต้องการ ของท้องถิ่นทาให้นักเรียนมีความรู ้กว้างไกลออกไป
น อ ก เ ห นื อ จ า ก ก า ร อ่ า น ห นั ง สื อ แ บ บ เ รี ย น ที่
หลักสูตรกาหนดจุดมุ่งหมายในการสร ้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม (ณรงค์
ทองปาน,2526 : 79 – 81) 15 สรุปได้ดังนี้
๒๐
1. เพื่อปลูกฝังทัศนคติ ค่านิยม
คุณธรรมและวัฒนธรรมอันดีงามตามขนบธรรมเนียม
ประเพณีไทย
2. เพื่อเสริมสร ้างจินตนาการ และความคิดสร ้างสรรค์
3. เพื่อให้ความรู ้ข่าวสารใหม่ ๆ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง
ที่นอกเหนือจากบทเรียนในรูปแบบ ที่เหมาะสมกับเด็ก
4. เพื่อช่วยให้เด็กมีหนังสือที่มีเนื้อหาสาระเหมาะสมกับวัย
5. เพื่อสร ้างนิสัยรักการอ่าน การค้นคว้า และเกิดทักษะในการอ่าน
6. เพื่อช่วยให้เด็กรู ้จักการใช ้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
7.
เพื่อให้เด็กได้รับความบันเทิงสนุกสนานเพลิดเพลินได้รับความจรรโลงค
วามสุขและ
สนองความต้องการของวัยเด็ก
8.
เพื่อช่วยให้การถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมและสร ้างศรัทธาในเอกลักษ
ณ์ไทย
หนังสืออ่านเพิ่มเติมจัดเป็ นหนังสือเสริมประสบการณ์ชนิดหนึ่ง
มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ ความรู ้ที่ถูกต้องเหมาะสม
และสอดคล้องกับความสนใจของเด็ก
ช่วยให้เด็กได้รับความรู้ประสบการณ์มีทักษะ เจตคติ
ตลอดจนคุณธรรมต่าง ๆ มีความสนุกสนานเพลิดเพลินสร ้างนิสัยที่ดี
ในการอ่านและใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์
ลักษณะบทบำทหน้ำที่และประโยชน์ของหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม
กรมวิชาการ (อ้างถึงในจินตนา ใบกาซูยี. 2542 : 143)
ได้กล่าวถึงลักษณะบทบาทหน้าที่และประโยชน์ของหนังสืออ่านเพิ่มเติมไ
ว้ดังต่อไปนี้
1 . ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม รู้
หนังสืออ่านเพิ่มเติมควรมีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับความรู้หรือทักษะ
ความคิดรวบยอด หลักการ หรือทฤษฏีเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่อง
ซึ่ ง เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ผู้ อ่ า น ใ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต
การศึกษาหาความรู ้รวมทั้งก่อให้เกิดความเจริญงอกงามและพัฒนาการใ
นด้านต่างๆ
๒๑
2. ส่งเสริมสติปัญญา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมควรมีลักษณะที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาโด
ยเปิดโอกาสให้ผู้อ่านได้พัฒนาทักษะในการสังเกต ตีความ เปรียบเทียบ
ให้เหตุและผล จาแนกแจกแจง วิเคราะห์สังเคราะห์ประเมินค่า
ตลอดจนสามารถนาความรู ้และทักษะเหล่านั้นไปใช ้ให้เกิดประโยชน์ในก
ารแก้ปัญหาต่างๆ
นอกเหนือไปจากการมีเนื้อหาสาระที่ให้ผู้อ่านเกิดความรู ้ความเข้าใจในเ
รื่องต่างๆ
3. ส่งเสริมเจตคติที่เหมาะสม
หนังสืออ่านเพิ่มเติมควรสอดแทรกแนวความคิดที่ช่วยให้
ผู้อ่านเกิดเจตคติที่เหมาะสมในการนาความรู ้นั้นๆ
ไปใช ้ตามแนวทางที่พึงประสงค์
นอกเหนือไปจากการเสนอเนื้อหาสาระที่เป็ นความรู ้และส่งเสริมสติปัญญ
า
4 . ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม เ ข้ า ใ จ
ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ค ว ร เ ส น อ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ใ น ลัก ษ ณ ะ ที่
ส่ ง เ ส ริม ใ ห้ผู้อ่ า น ส า ม า ร ถ ท า ค ว า ม เ ข้า ใ จ เ รื่อ ง ร า ว ไ ด้
โดยการใช ้ภาษาที่ถูกต้องเหมาะสมกับความรู ้และประสบการณ์ทางด้าน
ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า ข อ ง ผู้ อ่ า น
สามารถเสนอเนื้อหาตามลาดับขั้นตอนของความรู ้และตามการพัฒนาก
า ร ส ติ ปั ญ ญ า ข อ ง ผู้ อ่ า น
ให้ตัวอย่างที่เหมาะสมตลอดจนใช ้เทคนิควิธีหรือเครื่องส่งเสริมความเข้าใ
จ อื่ น ๆ เ ช่ น ภ า พ ป ร ะ ก อ บ แ ผ น ภู มิ ต า ร า ง ค า ถ า ม
และอภิศัพท์เหล่านี้เป็ นต้น
5 .
ส่งเสริมการศึกษาหาความรู ้ด้วยตนเองหนังสืออ่านเพิ่มเติมควรมีลักษณะ
ที่กระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความสนใจและกระตือรือร ้นที่จะศึกษาหาความรู ้ด้ว
ย ต น เ อ ง โ ด ย ก า ร เ น้ น เ รื่ อ ง ร า ว ที่ เ ด็ ก ส น ใ จ
เห็นความสาคัญและประโยชน์ของเรื่องราวที่เสนอซึ่งเกี่ยวข้องกับผู้เรียน
อาจสอดแทรกคาถามยั่วยุต่างๆ ตลอดจนเสนอแนะหนังสืออื่นๆ
ที่ผู้อ่านอาจจะไปศึกษาให้กว้างขวางให้ลึกซึ้งขึ้นตามความต้องการและส
นใจของแต่ละบุคคล
รูปแบบกำรเขียนหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม
๒๒
จินตนา ใบกาซูยี (2542 : 134 ) กล่าวว่า
แนวการเขียนหนังสืออ่านเพิ่มเติมมีทั้งในลักษณะการเขียนแบบสารคดีแ
ละการเขียนแบบบันเทิงคดีแต่จะมุ่งเน้นมีลักษณะการเขียนแบบสารคดีม
ากกว่าเพิ่มเติมควรจะเขียนเป็ นความเรียงมากที่สุด
ในการเขียนความเรียงนั้น มีโวหารหรือวิธี
เรียบเรียงที่สาคัญและนิยมใช ้มากมีดังต่อไปนี้
1. การบรรยาย
เป็ นวิธีการเล่าเรื่องที่ได้พบเห็นมาอย่างถี่ถ้วน อาจมีตัวบุคคลหรือตัว
ละคร มีพฤติกรรมหรือเหตุการณ์
หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นเนื้อเรื่องดาเนินไปซึ่งนิยมใช ้เขียนงานปร
ะเภทนิทาน นิยาย ตานาน ประวัติ เรื่องเล่า รายงาน
หรือบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
2. การพรรณนา
เป็ นวิธีการให้รายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ที่ได้พบเห็นมาโดยไม่มีเนื้อเรื่อง
หรือเป็ นการราพันความรู้สึกของผู้เขียนก็ได้
นิยมใช้เขียนในการพรรณนา ความงามของธรรมชาติ สถานที่
และความดีของบุคคล เป็ นต้น
3. การอธิบาย เป็ นวิธีการชี้แจง สั่งสอน อธิบาย
และพิสูจน์ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
เป็ นการให้ความกระจ่างในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
4. การอภิปราย
เป็ นวิธีการชักจูงใจชี้ชวนให้คล้อยตามและปฏิบัติตามโดยใช ้เหตุผลหรือ
การใช ้ตัวอย่าง หรือการอ้างอิงให้น่าเชื่อถือและสมจริง
5.
การเปรียบเทียบเป็ นวิธีการเทียบเคียงเพื่อให้ข้อความที่มีอยู่เดิมนั้นมี
ความหมายกระจ่างขึ้น
โดยการอีกตัวอย่างหนึ่งมาเทียบให้เห็นความแตกต่างหรือความเหมือนกั
น
6. การเล่าเรื่อง
เป็ นวิธีการเขียนเล่าประสบการณ์ให้ผู้อ่านได้รับรู้ในลักษณะ
การบรรยายเล่าเรื่องและมีการพูดคุยสนทนา
เพื่อให้เรื่องดาเนินไปมีการใช ้สรรพนามระหว่างผู้อ่านกับผู้เรียน
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx

More Related Content

Similar to โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx

แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
rever39
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
rever39
 
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
thammanoon laohpiyavisut
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
thammanoon laohpiyavisut
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
thammanoon laohpiyavisut
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
thammanoon laohpiyavisut
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
Arinrada Jabthong
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทง
Sasimapornnan
 
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงันตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
Tat Samui
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
Nuttayaporn
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
kittima345
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
tie_weeraphon
 
Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040
i_cavalry
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมง
moemon12
 

Similar to โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx (20)

แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอกแหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
แหล่งภูมิปัญญาท้องถิ่นสำคัญในบางกอก
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
File
FileFile
File
 
5
55
5
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมNew 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
New 004 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
 
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptxล่าสุด 08  ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
ล่าสุด 08 ศูนย์ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ไทย ลาว เวียดนาม.pptx
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
เรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทงเรื่องประเพณีลอยกระทง
เรื่องประเพณีลอยกระทง
 
112547
112547112547
112547
 
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงันตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
 
เรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิงเรื่อง โครงการแก้มลิง
เรื่อง โครงการแก้มลิง
 
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
1บุญข้าวประดับดิน บ้านหนองเต้า โดยคุณไท้.วีระพล ภูมิยิ่ง
 
Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040Chaipat apr p036 040
Chaipat apr p036 040
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมง
 
Book20110408103212
Book20110408103212Book20110408103212
Book20110408103212
 
บ้านจ๊างนัก1
บ้านจ๊างนัก1บ้านจ๊างนัก1
บ้านจ๊างนัก1
 

More from Kamontip Jiruksa

แฟ้มสมรรถนะที่-7-การบริหารจัดการชั้นเรียน.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-7-การบริหารจัดการชั้นเรียน.docxแฟ้มสมรรถนะที่-7-การบริหารจัดการชั้นเรียน.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-7-การบริหารจัดการชั้นเรียน.docx
Kamontip Jiruksa
 
แฟ้มสมรรถนะที่-6-การพัฒนาผู้เรียน.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-6-การพัฒนาผู้เรียน.docxแฟ้มสมรรถนะที่-6-การพัฒนาผู้เรียน.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-6-การพัฒนาผู้เรียน.docx
Kamontip Jiruksa
 
แฟ้มสมรรถนะที่-5-การออกแบบการเรียนรู้.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-5-การออกแบบการเรียนรู้.docxแฟ้มสมรรถนะที่-5-การออกแบบการเรียนรู้.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-5-การออกแบบการเรียนรู้.docx
Kamontip Jiruksa
 
แฟ้มสมรรถนะที่-4-การทำงานเป็นทีม.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-4-การทำงานเป็นทีม.docxแฟ้มสมรรถนะที่-4-การทำงานเป็นทีม.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-4-การทำงานเป็นทีม.docx
Kamontip Jiruksa
 
แฟ้มสมรรถนะที่-2-การบริการที่ดี.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-2-การบริการที่ดี.docxแฟ้มสมรรถนะที่-2-การบริการที่ดี.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-2-การบริการที่ดี.docx
Kamontip Jiruksa
 
แฟ้มสมรรถนะที่-1-การมุ่งผลสัมฤทธิ์.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-1-การมุ่งผลสัมฤทธิ์.docxแฟ้มสมรรถนะที่-1-การมุ่งผลสัมฤทธิ์.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-1-การมุ่งผลสัมฤทธิ์.docx
Kamontip Jiruksa
 

More from Kamontip Jiruksa (10)

ขั้นตอนการดำเนินการ.docx
ขั้นตอนการดำเนินการ.docxขั้นตอนการดำเนินการ.docx
ขั้นตอนการดำเนินการ.docx
 
PW วิทยฐานะ 2561 ผอ.pptx
PW วิทยฐานะ 2561 ผอ.pptxPW วิทยฐานะ 2561 ผอ.pptx
PW วิทยฐานะ 2561 ผอ.pptx
 
Presentation4.pptx
Presentation4.pptxPresentation4.pptx
Presentation4.pptx
 
แฟ้มสมรรถนะที่-7-การบริหารจัดการชั้นเรียน.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-7-การบริหารจัดการชั้นเรียน.docxแฟ้มสมรรถนะที่-7-การบริหารจัดการชั้นเรียน.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-7-การบริหารจัดการชั้นเรียน.docx
 
แฟ้มสมรรถนะที่-6-การพัฒนาผู้เรียน.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-6-การพัฒนาผู้เรียน.docxแฟ้มสมรรถนะที่-6-การพัฒนาผู้เรียน.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-6-การพัฒนาผู้เรียน.docx
 
แฟ้มสมรรถนะที่-5-การออกแบบการเรียนรู้.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-5-การออกแบบการเรียนรู้.docxแฟ้มสมรรถนะที่-5-การออกแบบการเรียนรู้.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-5-การออกแบบการเรียนรู้.docx
 
แฟ้มสมรรถนะที่-4-การทำงานเป็นทีม.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-4-การทำงานเป็นทีม.docxแฟ้มสมรรถนะที่-4-การทำงานเป็นทีม.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-4-การทำงานเป็นทีม.docx
 
แฟ้มสมรรถนะที่-3-การพัฒนาตนเอง.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-3-การพัฒนาตนเอง.docxแฟ้มสมรรถนะที่-3-การพัฒนาตนเอง.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-3-การพัฒนาตนเอง.docx
 
แฟ้มสมรรถนะที่-2-การบริการที่ดี.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-2-การบริการที่ดี.docxแฟ้มสมรรถนะที่-2-การบริการที่ดี.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-2-การบริการที่ดี.docx
 
แฟ้มสมรรถนะที่-1-การมุ่งผลสัมฤทธิ์.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-1-การมุ่งผลสัมฤทธิ์.docxแฟ้มสมรรถนะที่-1-การมุ่งผลสัมฤทธิ์.docx
แฟ้มสมรรถนะที่-1-การมุ่งผลสัมฤทธิ์.docx
 

โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx

  • 1. ๑ บทที่ ๑ บทนำ ที่มำและควำมสำคัญของโครงงำน กระบี่ เป็ นจังหวัดที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่หลากหลาย โดยเฉพาะอาเภอคลองท่อม ซึ่งตั้งอยู่บนรอยเลื่อนของเปลือกโลก ทาให้เกิดเป็ นน้าพุธรรมชาติ (Natural Spring) ขึ้นหลายแห่ง มีทั้งน้าพุร ้อน (Hot Spring) น้าพุเย็น (Cold Spring) และน้าพุร ้อนเค็ม (Saline Spring หรือ Salt Spring) รวมถึงหาดโคลนร ้อน (Hot Clay Beach) (เกศวลีณ์ รัตนดิลก ณ ภูเก็ต, 2562 น.2) นอกจากนี้ยังพบว่า น้าพุร ้อนเค็มมีแร่ธาตุ ซิลิกา ทาให้กระดูกแข็งแรง ไบคาร ์บอเนต ช่วยในการไหลเวียนของโลหิต ซัลเฟต ช่วยกาจัดของเสียในร่างกาย แคลเซียม แมกนีเซียม แ ล ะ โ ซ เ ดี ย ม อิ อ อ น ซึ่ ง มี ผ ล โ ด ย ต ร ง ต่ อ ก า ร บ า รุ ง ค ว า ม เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง ร่ า ง ก า ย เ ส ริ ม ส ร ้า ง ก ร ะ ดู ก บ า บัดพ ย า ธิส ภ า พ ของ หล อดเลือด ดา กา รติดเชื้อใ น ป อ ด อาการอักเสบของเส้นประสาท (Neuritis) การอักเสบของข้อต่อ (Arthritis) อาการปวดเนื่องจากเส้นประสาทถูกกดทับ (Sciatica) แ ม ก นี เ ซี ย ม ใ น น้ า พุ ร ้ อ น ยังช่วยเปลี่ยนน้าตาลในกระแสเลือดให้เป็ นพลังงานและบารุงผิวพรรณ ใ น ข ณ ะ ที่ โ พ แ ท ส เ ซี ย ม มีผลต่อการช่วยควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจให้เป็ นปกติ ซึ่งจะช่วย ล ด อ า ก า ร ค ว า ม ดั น โ ล หิ ต สู ง กระตุ้นการกาจัดสารพิษออกจากร่างกายและสามารถนามาถนอมอาหาร เพื่อเป็ นการสร ้างรายได้ สร ้างอาชีพให้กับครอบครัวและชุมชน (จิโรจ สิ น ธ ว า น น ท์ , 2 5 5 9 ) ทาให้ชาวบ้านและนักท่องเที่ยวต่างนิยมมาแช่น้าพุร ้อนเค็ม น้ า พุ ร ้ อ น เ ค็ ม ค ล อ ง ท่ อ ม เป็ นแหล่งท่องเที่ยวประเภทน้าพุร ้อนเค็มที่มีน้าเค็มจากใต้ดินพุ่งขึ้นมาบน ผิวโลก ตั้งอยู่บริเวณเขตป่ าชายเลนคลองบางผึ้ง หมู่ที่ 8 ต.ห้วยน้าขาว อ . ค ล อ ง ท่ อ ม จั ง ห วั ด ก ร ะ บี่ มี ลัก ษ ณ ะ เ ป็ น บ่ อ น้ า ผุ ด ม า จ า ก ชั้น ใ ต้ดิ น ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ จัดอยู่ในประเภทน้าพุร ้อนเกลือ (salt spring) ในบริเวณรอบๆ
  • 2. ๒ มี บ่ อ น้ า พุ ร ้ อ น เ ค็ ม ก ร ะ จ า ย อ ยู่ จ า น ว น 14 บ่ อ อุ ณ ห ภู มิ ข อ ง น้ า ใ น บ่ อ ไ ม่ ร ้ อ น ม า ก จ น เ กิ น ไ ป และแต่ละบ่อนั้ นสามารถวัดระดับความเค็ มได้ถึง 10 ppm. มีอุณหภูมิสูงประมาณ 40-47 องศาเซลเซียส ลักษณะน้าใสสะอาด มี ป ริม า ณ แ ก๊ส ค า ร ์บ อ น ไ ด อ อ ก ไ ซ ด์น้อ ย มี ก ลิ่ น ก า ม ะ ถัน แ ล ะ แ ก๊ ส ไ ข่ เ น่ า น้ อ ย ม า ก พบสาหร่ายสีเขียวและคราบผลึกของแคลไซต์สีขาว และสีเหลืองอยู่ทั่วไป โ ด ย มี ศั ก ย ภ า พ ก า ร เ ป็ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ร ะ ดั บ โ ล ก เ นื่ อ ง จ า ก เ ป็ น แ ห ล่ ง ท่ อ ง เ ที่ ย ว ป ร ะ เ ภ ท น้ า พุ ร ้อ น เ ค็ ม มีเพียงแห่งเดียวในไทยซึ่งถือเป็ น 1 ใน 5 แห่งของโลก อีก 4 แห่งอยู่ใน ไต้หวัน ญี่ปุ่น อิตาลี และมาเลเซีย (ศิวฤทธิ์พงศกรรังศิลป์, 2558) จ า ก ก า ร ส า ร ว จ ข้ อ มู ล ชุ ม ช น พ บ ว่ า ประชากรในอาเภอคลองท่อมส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร ป ลู ก พื ช ป า ล์ ม น้ า มั น ย า ง พ า ร า ประมงพื้นบ้านและมีการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ อาทิ วัว แพะ ไก่และเป็ ด ประกอบกับสภาพพื้นที่ของอาเภอคลองท่อมติดกับทะเลเอื้ออานวยต่อกา รเลี้ยงเป็ ดไข่โดยนาผลพลอยได้จากประมงพื้นบ้านนามาใช ้เลี้ยงเป็ ด อีกทั้งชาวบ้านนิยมนาไข่เป็ ดมาใช ้สาหรับทาขนม หรือแปรรูปเป็ นไข่เค็ม โ ด ย ช า ว บ้ า น นิ ย ม ท า ไ ข่ เ ค็ ม จ า ก น้ า พุ ร ้ อ น เ ค็ ม เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ถ น อ ม อ า ห า ร แ ล ะ มี ก า ร จั ด จ า ห น่ า ย ซึ่งเป็ นภูมิปัญญาท้องถิ่นและเอกลักษณ์ของชุมชน แม้จะใช ้น้าพุร ้อนเค็ม เ ป็ น ส่ ว น ป ร ะ ก อ บ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ผ ลิ ต แต่ก็ไม่สามารถเป็ นเอกลักษณ์ที่โดดเด่นเนื่องจากส่วนประกอบของกระบ วนการผลิตยังไม่มีความเด่นชัดในเรื่องของรสชาติที่ผู้บริโภคพึงพอใจ จากเหตุผลข้างต้นผู้จัดทาโครงงานมองเห็นโอกาสในการเพิ่มมูล ค่ า ใ ห้ กั บ ไ ข่ เ ป็ ด จึ ง คิ ด น า น้ า พุ ร ้อ น เ ค็ ม แ ล ะ ไ ข่ เ ป็ ด ซึ่งเป็ นทรัพยากรในท้องถิ่นมาแปรรูปเป็ นไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม โดยใช ้กระบวนการทดลองเพื่อให้ได้อัตราส่วนสูตรการผลิตไข่เค็มน้าพุร ้ อนเค็มที่มีรสชาติอร่อย มีคุณภาพและเป็ นที่พึงพอใจของผู้บริโภค อีกทั้งยังเป็ นการสร ้างเอกลักษณ์ให้กับไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม พร ้อมทั้งยังเป็ นการอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนสืบไ ป วัตถุประสงค์ของโครงงำน
  • 3. ๓ ๑. เพื่อให้ได้อัตราส่วนสูตรการผลิตไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็มที่มีรสชาติอ ร่อย มีคุณภาพและเป็ นที่พึงพอใจของผู้บริโภค ๒. เพื่อเรียนรู้ทักษะกระบวนการการทาไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม ๓. เ พื่ อ เ ส ริ ม ส ร ้ า ง ร า ย ไ ด้ ร ะ ห ว่ า ง เ รี ย น และเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต ๔. เพื่อเพิ่มมูลค่าของไข่เค็มและน้าพุร ้อนเค็มของท้องถิ่น ๕. เพื่ออนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น สมมติฐำนกำรศึกษำ 1. ผู้บริโภคมีความพึงพอใจต่อรสชาติของไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม 2. มีทักษะกระบวนการการทาไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม 3. สร ้างรายได้ระหว่างเรียนและเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพใ นอนาคต 4. อนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผลที่คำดว่ำจะได้รับ 1. ได้อัตราส่วนสูตรการผลิตไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็มที่มีรสชาติอร่อย มีคุณภาพและเป็ นที่พึงพอใจของผู้บริโภค 2. มีทักษะกระบวนการการทาไข่เค็มน้าพุร ้อนเค็ม 3. ส ร ้ า ง ร า ย ไ ด้ ร ะ ห ว่ า ง เ รี ย น และเป็ นแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคต 4. เพิ่มมูลค่าของไข่เค็มและน้าพุร ้อนเค็มของท้องถิ่น 5. อนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น ขอบเขตกำรศึกษำ เนื้อหำของโครงงำน ศึกษาค้นคว้า ขั้นตอน วิธีการทา และวัสดุอุปกรณ์ในการทาโครงงานไข่เค็ม น้าพุร ้อนเค็ม จาก อินเทอร ์เน็ต ระยะเวลำในกำรจัดทำโครงงำน แหล่งที่มำของข้อมูล ชุมชนบ่อน้าร ้อน ตาบลห้วยน้าขาว อ า เ ภ อ ค ล อ ง ท่ อ ม จั ง ห วั ด ก ร ะ บี่ ห้ อ ง ส มุ ด ข อ ง โ ร ง เ รี ย น เ ท ศ บ า ล ค ล อ ง ท่ อ ม ใ ต้
  • 4. ๔ ห้ อ ง ส มุ ด ป ร ะ ช า ช น อ า เ ภ อ ค ล อ ง ท่ อ ม และสืบค้นข้อมูลผ่านระบบอินเทอร ์เน็ต บทที่ 2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง การศึกษาค้นคว้า เรื่อง เรือหัวโทง ศิลป์ภูมิปัญญา งานไม้ล้าค่า มรดกท้องถิ่น ผู้จัดทาได้ดาเนินการ ศึกษาตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. ความหมายเรือหัวโทง 2. ความเป็ นมาของเรือหัวโทง 3. ประวัติบ้านน้าร ้อน 4. เรือหัวโทงกับวิถีชีวิต 5. บทบาทประโยชน์ของเรือหัวโทง 6. ความเชื่อและพิธีการผูกผ้าเรือหัวโทง 7. แม่ย่านางกับความเชื่อของชาวประมง 8. ภูมิปัญญาการต่อเรือหัวโทง
  • 5. ๕ 9. ความสาคัญของหนังสืออ่านเพิ่มเติม ควำมหมำยเรือหัวโทง 1. หัวโทง มาจากคาว่า หัวธง หมายถึง หัวตั้งตรงหรือตั้งธง ก า ร ส ร ้า ง เ รื อ จึ ง ต้ อ ง ส ร ้า ง ใ ห้ หั ว เ รื อ ตั้ ง ต ร ง / ตั้ ง ธ ง เพราะมหาสมุทรอินเดียมีคลื่นลมแรง ชาวประมงสร ้างเรือให้หัวตั้งธง สาหรับโต้คลื่นลม เล็ งใช ้เป็ นจุดเล็ งแนวการนาเรือไปสู่ฝั่ ง หรือสู่แผ่นดินต่างๆได้อย่างแม่นยา คนเรียกเรือชนิดว่า เรือหัวธง และได้เพี้ยนจากคาว่า หัวธง เป็ นชื่อ หัวโทง 2. น่ า จ ะ ม า จ า ก ชื่อ ข อ ง ป ล า ที่ มี ป า ก ย า ว ยื่ น อ อ ก ม า เ ร า เ รีย ก ว่ า ป ล า โ ท ง ห รือ โ ท ง แ ท ง ว่ า ย น้ า ไ ด้ดี แ ล ะ เ ร็ ว เมื่อสร ้างเรือหรือเห็นเรือหัวสูง จึงตั้งชื่อหรือเรียกชื่อลักษณะดังกล่าวว่า "เรือหัวโทง" ควำมเป็ นมำของเรือหัวโทง เ รื อ ใ น ส มั ย ก่ อ น ข อ ง ก ร ะ บี่ ทาจากต้นไม้ทั้งต้นแล้วนามาขุดตกแต่งรูปทรงเป็ นลาเรือการขุดจะต้องเ ลื อ ก ต้น ไ ม้ที่มี ข น า ด เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ ฝี มื อ ช่า ง ข อ ง แ ต่ ล ะ ค น ไม้ที่นับว่ามีคุณภาพที่สุดคือไม้ตะเคียนสามารถทาเรือที่มีความสวยงาม ทนทานใช ้ได้ยาวนาน เรือที่ใช ้จะเป็ นเรือพายหรือเรือแจว ที่ไม่ มีเครื่องยนต์ ต่อมีการได้สัมปทานเผาถ่านไม้โกงกาง ใ น พื้ น ที่ บ้ า น ค ล อ ง ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ ใ ก ล้ เ คี ย ง ทาให้ชาวบ้านมีอาชีพรับจ้างตัดและขนไม้โกงกางมาให้เจ้าของเตาเผาถ่ า น ซึ่ ง ไ ด้ สั ม ป ท า น ดังนั้นเจ้าของสัมปทานจึงได้ลงทุนจ้างต่อเรือจากบ้านน้าร ้อน คลองท่อม ทาเรือซึ่ง จะเป็ นเรือต่อไม่ใช่ขุดจากไม้ทั้งต้นแล้ว อาจเรียกง่าย ๆ กันว่า “เรือเตาถ่าน”เพื่อใช ้ในการขนไม้โกงกางจากที่ตัดมาส่งที่เตาเผา ถ่าน เจ้าของสัมปทานทาถ่านจะมอบเรือให้แก่ชาวบ้านทุกบ้านที่รับจ้าง บ้ า น ล ะ 1 ล า เพื่อใช ้ในการไปตัดและบรรทุกขนไม้มาส่งที่เตาถ่าน ชาวบ้านจะใช ้เรือนี้ ในการรับจ้างตัดและขนไม้ รวมทั้งใช ้ในวิถีชีวิตประ จ า วัน เ มื่ อ เ ลิ ก ง า น ก็ จ ะ ใ ช ้ ห า ปู ห า ป ล า ประมงชายฝั่งทั่วไป รวมตลอดถึงการใช ้เป็ นเรือข้ามฟากข้ามไปฝั่งเทศบ า ล ก ร ะ บี่ โ ด ย มั ก จ ะ นั ด กัน 4-5 ค น แ จ ว เ รือ ข้า ม ฝั่ ง ไ ป คนที่นั่งต้องนั่งที่กราบเรือ 2 ข้าง เนื่องจาก “เรือเตาถ่าน” จะไม่มีการปู
  • 6. ๖ พื้นกระดานพื้นเรือเพราะต้องการความสะดวกและเหมะสมในการบรรทุก ไม้ให้ได้มากที่สุด การเปลี่ยนแปลงรูปลักษณะของเรือจากเรือขุดมาเป็ นเรือเตาถ่าน แ ล ะ ไ ป สู่ รู ป แ บ บ เ รื อ หั ว โ ท ง ที่ เ ด่ น ๆ ได้แก่ เรือขุดจะมีลักษณะหัวป้ านไม่มีหัวเรือลักษณะแหลมออกมา เรือเ ตาถ่านจะมีหัวเรืออก ม า สั้ น ๆ ไม่มีดานปิดหัวกง ต่อมาจะเป็ นเรือแจวใช ้งานทั่วไปมีดานปิดกงหัวเรือ ท้ายเรือให้เหมาะกับ ก า ร ใ ช้ ง า น โ ด ย ส า ร ขนส่งและบรรทุกของทั่วไป ต่อมาเมื่อประมาณกว่า 50 ปี ที่ผ่านมา จึ ง มี ก า ร ป รั บ รู ป เ รื อ เ ป็ น แ บ บ “ เ รื อ หั ว โ ท ง ” ที่นิยมใช ้มาถึงปัจจุบัน โดยเริ่มจากเรือแจวมาเป็ นเรือติดเครื่องยนต์เรือ หางยาว และมีการประยุกต์เป็ นเรือหัวโทงวางเครื่องที่ท้องเรือและใช ้พวง มาลัยบังคับ เรือหัวโทงเป็ นเรือประมงที่นิยมใช ้กันทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันด ามันลักษณะเป็ นเรือขนาดเล็กหัวเรือสูงงอนขึ้นไปบรรจบกับทวนหัวที่ยื่น สูงขึ้นมาและตรงทวนท้ายมีลักษณะเป็ นรูปลิ่มขนาดตั้งแต่ 7 ขึ้นไปจนถึง 10 ก ว่ า เ ม ต ร จ า ก ค า บ อ ก เ ล่ า ข อ ง ช า ว ก ร ะ บี่ เชื่อว่าเรือหัวโทงน่ าจะมีกาเนิ ดที่บ้านน้าร ้อน บ้านท่าประดู่ ต . ห้ ว ย น้ า ข า ว อ.คลองท่อมและมีการถ่ายทอดการต่อเรือสู่ช่างบ้านหาดยาว ต.ตลิ่งชัน อ.เหนื อคลอง และ ต.เกาะกลาง อ.เมือง จ.กระบี่ ซึ่งทั้ง 2 ตาบลมีพื้นที่ติดต่อกันในสมัยก่อนชาวกระบี่ใช ้เรือหัวโทงในการทาประม ง จึงทาให้ชาวเรือจากจังหวัดอันดามันอื่น ๆ เช่น ภูเก็ต พังงา ระนอง ตรัง สตูล สนใจในเรือหัวโทงนี้ด้วย จึงได้มีการซื้อขายเรือหัวโทงกันขึ้น ความนิยมในเรือหัวโทงจึงได้กระจายไปสู่พื้นที่อื่น ๆ ดังเช่นในปัจจุบัน ประวัติบ้ำนน้ำร้อน บ้า น น้ า ร ้อ น เ ป็ น ห มู่ บ้า น ห นึ่ ง ใ น ต า บ ล ห้ว ย น้ า ข า ว อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ มีประชากร 700 ครัวเรือน ส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ที่เรียบง่าย ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชีพ ข อ ง ผู้ค น ส่ ว น ใ ห ญ่ ท า ส ว น ย า ง พ า ร า ป า ล์ ม น้ า มั น แ ล ะ ท า ป ร ะ ม ง น้ า เ ค็ ม
  • 7. ๗ เ พ ร า ะ มี ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ เ ป็ น ร า บ ช า ย ฝั่ ง อั น ด า มั น อีกทั้งสถานที่ท่องเที่ยวในหมู่บ้านนี้มีชื่อเสียงคือ น้าพุร ้อนเค็ม เรือหัวโทงกับวิถีชีวิต เรือหัวโทงกับวิถีชีวิต "เรือหัวโทง" อันเป็ นเอกลักษณ์ประจาถิ่น เรือหัวโทง เป็ นเรือประมงแบบท้องถิ่นในภาคใต้ ของประเทศไทย นิยมใช ้กันทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามันลักษณะเป็ นเรือขนาดเล็กหัวเรือสู ง ง อ น ขึ้ น ไ ป บรรจบกับทวนหัวที่ยื่นสูงขึ้นมาและตางทวนท้ายมีลักษณ์เป็ นรูปลิ่มขนา ดตั้งแต่ 7-8 เมตรขึ้นไปจนถึง 10 กว่าเมตร ติดเครื่องท้าย เรือหัวโทงเป็ นเอกลักษณ์ของชาวใต้แต่ละจังหวัดก็จะมีความแตกต่างกัน ออกไป ในอดีตเรือหัวโทงถูกใช้ในงานประมงออกจับปูปลาเป็ นหลัก แ ต่ เ มื่ อ ยุ ค ส มั ย เ ป ลี่ ย น ท รั พ ย า ก ร ทางทะเลร่อยหรอลงไปมากซึ่งสวนทางกับการท่องเที่ยวที่เติบโตกลายเป็ นรายได้หลัก ชาวประมงส่วน หนึ่งจะเปลี่ยนจากการออกเรือหาปลา มาทาอาชีพรับจ้าง ขับเรือ ส่งนักท่องเที่ยวแทน เรือหัวโทงเป็ นเรือที่ชาวประมงพื้นบ้านทางภาคใต้ฝั่งอันดามันนิยมใช ้เพร า ะ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น เ รื อ ห า ง ย า ว โดยตัวเครื่องนั้นจะตั้งอยู่ส่วนท้ายใช ้ได้ดีกับพื้นที่ฝั่งอันดามันที่มีคลื่นมา ก แ ล ะ เ รื อ ป ร ะ เ ภ ท นี้ ยั ง มี ลั ก ษ ณ ะ เ ด่ น ต ร ง ส่ ว น หั ว โดยเรือหัวโทงที่ดีขั้นตอนการผลิตทุกอย่างต้องละเอียดลออ พิ ถี พิ ถั น ทั้ ง ล า หั ว เ รื อ ต้ อ ง เ ชิ ด สู ง ง อ น สาหรับผู้ที่จะมาสั่งทาเรือประเภทนี้มักจะอยู่ทางภาคใต้ ได้แก่ สตูล ตรัง ภูเก็ต กระบี่ พังงา สาเหตุที่ชาวประมงนิยมใช ้เรือขนาดใหญ่ขึ้น เ พ ร า ะ ช า ว ป ร ะ ม ง ต้องการใช ้เดินเรือเพื่อไปจับปลาในระยะทางที่ไกลกว่าเดิม จึงต้องใช ้เครื่องยนต์เดินเรือที่ใหญ่ และ แรงขึ้น เพื่อใช ้บรรทุกของ อุปกรณ์จับปลา และสะดวกต่อการเดินเรือประมง ทั้งนี้ทะเลไม่มีความ ส ม บู ร ณ์ เ ห มื อ น แ ต่ ก่ อ น ชาวประมงจึงออกจับปลาไกลกว่าเดิมจากที่เคยจับอยู่แค่ริมชายฝั่ง เ พื่ อ ใ ห้มี ร า ย ไ ด้เ พิ่ ม ขึ้น แ ล ะ ป ล า ไ ด้ป ล า ม า ก ก ว่ า เ ดิ ม อ า ชี พ ช่ า ง ต่ อ เ รื อ นั้ น มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ต่ อ ช า ว ป ร ะ ม ง พื้ น บ้ า น เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก
  • 8. ๘ เพราะชาวประมงพื้นบ้านส่วนใหญ่ใช้เรือหัวโทงในการทาประมง แ ล ะ ที่ ส า คั ญ อาชีพนี้นับเป็ นภูมิปัญญาที่สืบทอดกันมายาวนานจนถึงปัจจุบัน บทบำทและประโยชน์แของเรือหัวโทง เ รื อ ยานพาหนะสาคัญที่มีบทบาทต่อวิถีชีวิตคนไทยมาอย่างยาวนาน ไม่ว่าจะเป็ นยุคสมัยไหนหรือช่วงจังหวะใดในการใช ้ชีวิตด้วยความที่เมือง ไ ท ย เ ป็ น เ มื อ ง ติ ด น้ า ติ ด ท ะ เ ล ต้ อ ง ข อ บ คุ ณ ค ว า ม ช า ญ ฉ ล า ด ข อ ง ค น ใ น ยุ ค ก่ อ น ที่คิดค้นวิธีการเอาตัวรอดด้วยภูมิปัญญาจึงทาให้ขอนไม้ธรรมดา ก ล า ย ม า เ ป็ น พ า ห น ะ น า พ า ผู้ ค น ไ ป ใ น ที่ ต่ า ง ๆ ไ ด้ ซึ่ ง ใ น แ ต่ ล ะ ภู มิ ภ า ค แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ ต่างก็มีเรือที่เป็ นอัตลักษณ์ในแบบของตัวเองไม่ซ้ากัน ดังเช่นเรือหัวโทง ที่เราเห็นกันอยู่อย่างคุ้นตา เรือหัวโทงเป็ นเรือประมงที่นิยมใช ้กันทางภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามันลั กษณะเป็ นเรือขนาดเล็กหัวเรือสูงงอนขึ้นไปบรรจบกับทวนหัวที่ยื่นสูงขึ้น มาและตรงทวนท้ายมีลักษณะเป็ นรูปลิ่มขนาดตั้งแต่ 7ขึ้นไปจนถึง 10 ก ว่ า เ ม ต ร เ รื อ หั ว โ ท ง นี้ มี ขึ้ น ค รั้ ง แ ร ก เ มื่ อ ไ ห ร่ นั้ น อาจจะเป็ นคาถามที่ตอบยากอยู่สักหน่อยเพราะความบางเบาของหลักฐา น ที่ มี แ ต่ จ า ก ค า บ อ ก เ ล่ า ข อ ง ส ห า ย ช า ว ก ร ะ บี่ เ ชื่ อ ว่ า เ รื อ หั ว โ ท ง น่ า จ ะ มี ก า เ นิ ด ที่ บ้ า น น้ า ร ้ อ น บ้านท่าประดู่และมีการเผยแพร่การทาเรือสู่ช่าง ต.ตลิ่งชัน อ.เหนือคลอง แ ล ะ ต . เ ก า ะ ก ล า ง อ . เ มื อ ง จ . ก ร ะ บี่ ใ น ส มั ย ก่ อ น ช า ว ก ร ะ บี่ ใ ช ้เ รือ หั ว โ ท ง ใ น ก า ร ท า ป ร ะ ม ง จึงทาให้ชาวเรือจากจังหวัดอันดามันอื่น ๆ เช่น ภูเก็ต พังงา ระนอง ตรัง สตูล สนใจในเรือหัวโทงนี้ด้วย ด้วยลักษณะที่ปราดเปรียว มีน้าหนักเบา ทนทานต่อการใช ้งาน จึงได้มีการซื้อขายเรือหัวโทงกันขึ้น ความนิยมในเรือหัวโทงจึงได้กระจายไปสู่พื้นที่อื่น ๆ ดังเช่นในปัจจุบัน บทบาทของเรือหัวโทงต่อชาวภาคใต้ฝั่ งทะเลอันดามัน คื อ ก า ร เ ป็ น พ า ห น ะ ที่ ใ ช ้ส า ห รับ ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ ป ร ะ ม ง ซึ่ ง นั บ ว่ า เ ป็ น เ รื อ ที่ มี พิ เ ศ ษ เ ฉ พ า ะ ตั ว คื อ น้ า ห นั ก เ บ า เ พ ร า ะ ท า จ า ก ไ ม้ เ นื้ อ แ ข็ ง แ ต่ ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง แ ล้ ว เ รื อ หั ว โ ท ง มี ค ว า ม เ ป็ น เ อ น ก ป ร ะ ส ง ค์ ก ว่ า นั้ น ม า ก
  • 9. ๙ เ พ ร า ะ เ มื่ อ ก า ล เ ว ล า ผ่ า น ไ ป เ รื อ หั ว โ ท ง ก็ ไ ด้เ ข้า ม า มี บ ท บ า ท ต่ อ อี ก ห ล า ย อ า ชี พ โดยเฉพาะธุรกิจการท่องเที่ยวที่เห็นมีการนาเรือประเภทนี้มาทาเป็ นเรือ นาเที่ยว ขนส่งสินค้า หรือทาเป็ นเรือโดยสารข้ามฟาก สาหรับพื้นที่อื่น ๆ เรือหัว โทง อา จ จ ะมีคุณ ป ระโย ช น์เ ท่า ที่ไ ด้กล่ า ว ม า แ ล้ว แต่สาหรับชาวกระบี่ เรือหัวโทง ยังเป็ นส่วนหนึ่งของขนบธรรมเนียม วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง ชุ ม ช น อี ก ด้ ว ย ดั ง ที่ ท า ง จั ง ห วั ด ไ ด้ มี ก า ร จั ด ป ร ะ เ พ ณี ผู ก ผ้ า หั ว เ รื อ เพื่อความเป็ นสิริมงคลต่อเจ้าของเรือ ในช่วงเปิ ดฤดูกาลท่องเที่ยว ซึ่งกิจกรรมนี้ จัดขึ้นทุก ๆ ปี บริเวณหาดอ่าวนาง จ.กระบี่ และยังมีอีกหนึ่งกิจกรรมที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเที่ยวจ.กร ะบี่ได้เป็ นอย่างดี คือการแข่งขันเรือหัวโทง ซึ่งจัดขึ้นตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2526 แ ต่ ก็ ต้ อ ง ห ยุ ด ก า ร แ ข่ ง ขั น ไ ป เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ไฟไหม้ภายในเขตเทศบาล จน พ.ศ. 2542 จึ ง ไ ด้มี ก า ร ฟื้ น ฟู ก า ร แ ข่ ง ขั น เ รือ หั ว โ ท ง ขึ้น ม า อี ก ค รั้ง แ ล ะ ภ า ย ใ น ง า น ยั ง มี ก า ร จั ด นิ ท ร ร ศ ก า ร เ รื อ ซึ่ ง จ ะ มี ก า ร แ ส ด ง ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง เ รื อ หั ว โ ท ง และการต่อเรือหัวโทงอีกด้วย น อ ก จ า ก นี้ เ รื อ หั ว โ ท ง ยั ง ส า ม า ร ถ ส ร ้า ง ร า ย ไ ด้ใ ห้กับ ช า ว บ้า น ไ ด้อี ก ท า ง ห นึ่ ง คือการผลิตเรือหัวโทงจาลอง ที่ศูนย์การเรียนรู ้การทาเรือหัวโทง บ้านเกาะกลาง ต.คลองประสงค์ อ.เมือง จ.กระบี่ โดยคุณสมบูรณ์ หมั่นค้า เกษตรกรที่คลุกคลีอยู่กับการต่อเรือหัวโทงมาตั้งแต่สมัยยังเยาว์ จนปัจจุบันกลายมาเป็ นปราชญ์ชาวบ้านผู้คอยให้ความรู้ในการต่อเรือหัว โทงแก่เยาวชนรุ่นหลัง รวมไปถึงการจาหน่ายเรือหัวโทงจาลองขนาดต่าง ๆ ส า ห รั บ นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ ล ะ ผู้ ที่ ส น ใ จ ถื อ ว่ า เ ป็ น ก า ร ส ร ้า ง ร า ย ไ ด้จ า ก ท รัพ ย า ก ร ที่ มี อ ยู่ แ ล้ว แต่หากใครอยากจะเห็นการต่อเรือหัวโทงสาหรับการใช้งานจริง ขอแนะนาให้เดินทางไปที่หาดยาว ต.ตลิ่งชัน อ.เหนื อคลอง ช า ว บ้า น แ ถ บ นั้ น แ ท บ ทุ ก บ้า น จ ะ มี อ า ชีพ ต่ อ เ รือ หั ว โ ท ง ที่มีทั้งต่อไว้สาหรับใช ้งานเองภายในครอบครัวและต่อเพื่อเป็ นรายได้หลัก เรือหัวโทงนับว่าเป็ นอีกหนึ่ งเสน่ ห์อันงดงามของเมืองใต้ แ ม้ จ ะ เ ป็ น เ พี ย ง แ ค่ ศิ ล ป ะ จ า ก แ ผ่ น ไ ม้ เ พี ย ง ไ ม่ กี่ แ ผ่ น
  • 10. ๑๐ แต่เป็ นผลงานที่ผ่านกระบวนการคิดและการสั่งสมประสบการณ์ของบรร พ บุ รุ ษ ส่ ง ต่ อ ๆ กั น ม า ใ ห้ ลู ก ห ล า น บ ท บ า ท ข อ ง เ รือ หัว โ ท ง จึง ไ ม่ ใ ช่เ พี ย ง แ ค่ พ า ห น ะ อีก ต่ อ ไ ป กาลเวลาได้ส่งผ่านให้เรือลานี้กลายมาเป็ นส่วนหนึ่งในชีวิตของชาวอันด ามันที่สร ้างรายได้ให้กับชุมชนได้อย่างเข้มแข็ง ควำมเชื่อและพิธีผูกผ้ำเรือหัวโทง ทุ ก ๆ ปี ช า ว เ รือ ใ น ก ร ะ บี่จ ะ จัด พิ ธีผู ก ผ้า เ รือ หัว โ ท ง ขึ้น เ พื่ อ บู ช า ข อ พ ร แ ม่ ย่ า น า ง เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น สิ ริ ม ง ค ล ข อ พ ร ใ ห้แ ม่ ย่ า น า ง ช่ ว ย คุ้ม ค ร อ ง ทุ ก ค รั้ง ย า ม อ อ ก ท ะ เ ล ให้รอดพ้นจากคลื่นลมในทะเสมัยก่อนชาวประมงยังขอพรแม่ย่านางให้ย ามออกทะเล ขอให้จับกุ้ง หอย ปู ปลา ได้เยอะๆ พิ ธี ผู ก ผ้า เ รือ หั ว โ ท ง เ ดิ ม ช า ว เ รือ ต่ า ง ค น ต่ า ง ท า ผูกหัวเรือใครเรือมัน แต่ในปี นี้ทางจังหวัดกระบี่และอบต.อ่าวนาง มีแนวคิดว่าควรจัดเป็ นงานใหญ่อย่างเป็ นทางการให้ชาวเรือมาร่วมผูกหั ว เ รื อ ร่ ว ม กั น ก่ อ น มี พิ ธี อ่ า น บ ท ข อ พ ร พ ร ม น้ า ม น ต์ ล ง บ น ผ้ า เ พื่ อ ค ว า ม เ ป็ น สิ ริ ม ง ค ล แล้วจึงให้ผู้ชายที่เป็ นเจ้าของเรือ คนขับเรือ นาผ้าแพร ผ้าผืน ซึ่งส่วนใหญ่เป็ นผ้าสีจานวนเลขคี่ 3 สีบ้าง 5 สีบ้าง ไปผูกที่หัวเรือ เรือบางลานอกจากจะผูกผ้าแพรแล้วยังมีการประดับหัวเรือด้วยช่อดอกไ ม้ พวงมาลัยอย่างสวยงาม ห ลั ง พิ ธี ผู ก ผ้ า หั ว เ รื อ เ ส ร็ จ สิ้ น ชาวเรือจะให้ตัวแทนนาเรือส่วนหนึ่ งนาเครื่องสักการะไปทา “พิธีบวงสรวงและขอพรเจ้าแม่พระนาง” ณ ถ้าพระนาง อ่าวพระนาง ที่มีรีสอร ์ทราคาแพงหรูระยับในหลักแสนตั้งอยู่บริเวณนี้ อ.สมาน ให้ความกระจ่าง ถึงที่มาของพิธีบวงสรวงและขอพรเจ้าแม่พระนางว่า ส มั ย ก่ อ น ห ลั ง ท า พิ ธี ผู ก ผ้ า หั ว เ รื อ เ ส ร็ จ จ ะ มี ก า ร น า ข้า ว ต อ ก ด อ ก ไ ม้ที่ ใ ช ้ใ น พิ ธี โ ป ร ย ล ง ท ะ เ ล แต่น่าแปลกที่ปรากฏสิ่งของเหล่านั้นได้ลอยไปขึ้นฝั่งบริเวณถ้าพระนางอ ยู่ เ ส ม อ นั่นจึงทาให้ชาวบ้านต่างเชื่อกันว่าสิ่งของเหล่านั้นลอยไปบูชาพระนาง จึงมีการจัดพิธีบูชาบวงสรวงเจ้าแม่พระนางขึ้นหลังพิธีผูกผ้า แ ต่ เ นื่ อ ง จ า ก ช า ว เ รื อ ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น มุ ส ลิ ม จึงเรียกพิธีนี้ว่าเป็ นการขอพรเจ้าแม่พระนางเพื่อไม่ให้ขัดกับหลักศาสนา
  • 11. ๑๑ หลังทาพิธีผูกผ้าเรือหัวโทงและพิธีบวงสรวงและขอพรเจ้าแม่พระน างผ่านพ้นไปชาวเรือหัวโทงแต่ละลาต่างนาเรือของตนออกท่องทะยานโล ด แ ล่ น ไ ป ใ น ท้ อ ง ท ะ เ ล อั น ด า มั น ไปตามบทบาทและหน้าที่ตามที่ตัวเองกาหนด(หรือถูกนายจ้างกาหนด) บ้า ง ขับ ส่ ง นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้า ง อ อ ก ท ะ เ ล ห า ป ล า ท า ป ร ะ ม ง บ้างเร่ขายสินค้าหลากหลายเป็ นดังซุปเปอร ์มาร ์เก็ตลอยน้า ซึ่งสาหรับชาวเรือทั้งหลายเมื่อผ่านการขอพรอันศักดิ์สิทธิ์จากแม่ย่านาง ม า แ ล้ ว ยังไงก็ขอให้ซื่อสัตย์สุจริตต่อการประกอบอาชีพของตน อย่าได้คิดไม่ซื่อ ทุ จ ริต เ จ้า เ ล่ ห์ ค ด โ ก ง เ อ า รัด เ อ า เ ป รีย บ นั ก ท่ อ ง เ ที่ ย ว เพราะไม่อย่างนั้นการขอพรอาจสูญเปล่าที่สาคัญคือแม่ย่านางท่านจะไม่ ส่ ง เ ส ริ ม คุ้ ม ค ร อ ง ค น ไ ม่ ดี ซึ่ ง เ มื่ อ วั น นี้ ม า ถึ ง บางทีอาจจะไม่มีเวลาให้สานึกเสียใจ แม่ย่ำนำงเรือ กับควำมเชื่อของชำวประมง ผู้ประกอบอาชีพประมง จาเป็ นต้องใช ้เรือเป็ นพาหนะในการจับสัตว์ น้า ก่อให้เกิดพิธีกรรมเกี่ยวกับเรือ ตั้งแต่การขุดเรือ การต่อเรือ และการใช้เรือ ชาวประมงถือว่าส่วนสาคัญของเรือคือ โขนหัวเรือ แ ล ะ ท้า ย เ รือ โ ด ย เ ฉ พ า ะ โ ข น หั ว เ รื อ ซึ่ ง ห ม า ย ถึ ง ไ ม้ ที่ ท า มุ ม ตั้ ง ขึ้ น จ า ก ก ร ะ ดู ก งู ข อ ง เ รื อ ส่ ว น ใ ห ญ่ โ ข น เ รื อ จ ะ ท า ด้ ว ย ไ ม้ ต ะ เ คี ย น ท อ ง ทาหน้าที่ยึดกระดานต่อเรือทั้งลาส่วนของโขนหัวเรือ จะต้องติดตั้งอย่างแ ข็งแรงที่สุด เนื่องจากเป็ นส่วนที่จะรองรับแรงกระแทกจากคลื่น หรือการชนกับสิ่งต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ ที่สาคัญคือเชื่อว่า โขนหัวเรือ เ ป็ น ที่ สิ ง ส ถิ ต ข อ ง แ ม่ ย่ า น า ง เ รือ ซึ่ง ป ร ะ จ า เ รือ แ ต่ ล ะ ล า มี ห น้ า ที่ ป ก ปั ก รั ก ษ า เ รื อ ใ ห้ ป ล อ ด จ า ก ภั ย ทั้ ง ป ว ง และเอื้ออานวยให้เรือที่ใช ้ทามาหากินประสบความสาเร็จ เจริญรุ่งเรือง ดังนั้นผู้เป็ นเจ้าของเรือ จึงมีประเพณี เซ่นไหว้ แม่ย่านางเรือ ในโอกาสต่างๆ เช่น เมื่อต่อเรือแล้วเสร็จ ก่อนนาเรือลงน้า ห รื อ ห ลั ง จ า ก น า เ รื อ ขึ้ น ค า น เ พื่ อ ซ่ อ ม แ ซ ม ห รื อ ท า พิ ธี ก่ อ น อ อ ก เ รื อ จั บ ป ล า ใ น ฤ ดู ก า ล ใ ห ม่ หรือในฤดูกาลที่สามารถจับปลาได้มากเป็ นพิเศษ เครื่องเซ่นไหว้แม่ย่านางเรือ ของชาวประมง ประกอบด้วย อาหารคาวหวาน น้า สุรา ผลไม้ต่างๆ ดอกไม้ ธูปเทียน พวงมาลัยดอกไม้
  • 12. ๑๒ และมีผ้าแดง ผ้าขาว หรือใช้ด้ายดิบ สาหรับผูกโขนหัวเรือ เพื่อเป็ นสิริมงคล อาจมีการนาผ้าเยื่อไม้สีต่างๆ เช่น สีแดง เขียว เหลือง ผู ก โ พ ก กั บ โ ข น หั ว เ รื อ ด้ว ย เ ชื่ อ ว่ า เ ป็ น ก า ร แ ต่ ง ตั ว เพื่อความสวยงามให้แก่ แม่ย่านางเรือ โดยจะมี พราหมณ์ หมอครู ผู้สูงอายุ หรือเจ้าของเรือ เป็ นผู้ทาพิธี เมื่อเตรียมเครื่องสังเวยเรียบร ้อย ก็จุดธูปเทียน กล่าวอัญเชิญ แม่ย่านาง มารับเครื่องเซ่นไหว้ แ ล ะ ข อ ใ ห้คุ้ม ค ร อ ง ป ก ปั ก รัก ษ า มิ ใ ห้เ กิ ด อัน ต ร า ย ใ ด ๆ จากนั้นประพรมน้ามนต์ในขัน ด้วยกิ่งทับทิม จนทั่วลาเรือ และผู้เข้าพิธี เจ้าของเรือ ลูกเรือ หรือฝีพาย เพื่อความเป็ นสิริมงคล ส่วนข้อห้ามตามความเชื่อ ที่จะทาให้ แม่ย่านางเรือ ไม่พอใจ ซึ่งชาวประมงทุกคน จะต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดที่สุด ได้แก่... - ห้ามทะเลาะ ด่าทอกันขณะอยู่ในเรือ - ห้ามทาให้เรือสกปรก รกไปด้วยสิ่งปฏิกูล - ห้ามดื่มสุราก่อนออกเรือ หรือขณะอยู่บนเรือ - ห้ามเล่นการพนันทุกชนิดบนเรือ - ห้ามเสพสังวาส (ร่วมเพศ) ในเรือ - ห้ามใส่รองเท้าในเรือ - ห้ามเหยียบโขนหัวเรือ - ห้ามนาสิ่งของใดๆ วางที่หัวเรือ - ห้ามลบหลู่ ดูหมิ่นเรือลาอื่นๆ - ห้ามลักขโมยสิ่งของบนเรือ คติความเชื่อเรื่อง แม่ย่านางเรือ นี้สืบทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ จนถึงปัจจุบัน เพื่อเป็ นที่ยึดเหนี่ ยวทางจิตใจของ ชาวประมง ส่วนข้อห้ามที่แฝงไว้ ก็เพื่อความปลอดภัยของคนที่อยู่ในเรือนั่นเอง และผู้ที่จะลงโดยสารบนเรือ ควรทราบไว้ ไม่ลบหลู่ความเชื่อ ของชาวเรือ และเป็ นมงคลต่อตัวเอง ยามอยู่บนบก เราอาจไม่เห็นคุณค่า ของความเชื่อ นี้ แต่เมื่อใดที่ต้องอยู่บนเรือ กลางท้องทะเลกว้างท่ามกลางพายุฝน ภูมิปัญญำกำรต่อเรือหัวโทง การต่อเรือหัวโทงแต่ละลาช่างจะใช ้ประสบการณ์ที่ได้สั่งสมมาเป็ นเ ครื่องกาหนดกะคานวณแบบสัดส่วนให้ได้ขนาดรูปทรงเรือที่ต้องการ ซึ่ ง วั ต ถุ ดิ บ ส า คั ญ คื อ ไ ม้ตี น เ ป็ ด ไ ม้ย อ ไ ม้พ ะ ย อ ม ไ ม้ ทั ง หั ว เ รื อ ม า จ า ก ไ ม้ ข นุ น ไ ม้ เ ที ย ม
  • 13. ๑๓ ซึ่ ง ห า ซื้อ จ า ก ใ น ท้ อ ง ถิ่ น แ ล ะ พื้ น ที่ จั ง ห วั ด ใ ก ล้ เ คี ย ง เรือหัวโทงในอดีตมีความแตกต่างจากปัจจุบันบางส่วน ทั้งในเรื่องวัสดุ(ไ ม้) ขนาดและโครงสร ้าง เครื่องมือและอุปกรณ์ ระยะเวลาในการผลิต ตลอดจนสีสันลวดลายและการนาไปใช ้ประโยชน์ ขั้นตอนในการต่อเรือหัวโทงมีดังนี้ ขั้น ต อ น ที่ 1 ก า ร เ ต รีย ม แ ล ะ ว า ง “ ก ร ะ ดู ก งู ” ห รือ “มาดเรือ” เป็ นขั้นตอนแรกของการต่อเรือ กระดูกงูเปรียบเสมือนกระดู ก สั น ห ลั ง ข อ ง เ รื อ เ ป็ น ส่ ว น ที่ แ ข็ ง แ ร ง ที่ สุ ด ข อ ง เ รื อ จึงต้องวางกระดูกงูเป็ นหลักของโครงเรือ กระดูกงู คือ ไม้แกนกลางขอ ง ล า เ รื อ ที่ มี ค ว า ม ย า ว ต า ม ข น า ด ข อ ง ล า เ รื อ เป็ นที่ยึดเกาะของแผ่นไม้กระดาน ที่ซ ้อนต่อขึ้นเป็ นลาเรือ และเป็ นทีสา หรับติดตั้งกงของเรือ โดยเตรียมไม้ตามรูปร่างที่มีสัดส่วนการโค้งตามห ลั ก ก า ร ต่ อ เ รื อ มีความเหมาะสมตามขนาดของเรือโดยขั้นตอนนี้จะมีการนากระดูกงูวาง บนคาน 3 จุด ได้แก่ บริเวณ หัวเรือ กลางเรือ และ ท้ายเรือ 3- 5 ตัว ตอกตะปูยึดกระดูกงูไว้ (23 + 80 เซนติเมตร) ขั้ น ต อ น ที่ 2 ก า ร ขึ้ น ก ร ะ ด า น เ รื อ ห รื อ “กราบเรือ” คือการวางกระดานเรือตั้งแต่ด้านล่างสุดจากกระดูกงูถึงด้า นบนสุด เป็ นส่วนประกอบของเรือที่เป็ นแผ่นไม้กระดานไม้ที่เสริมข้างตัว เรือให้สูงขึ้น เป็ นไม้ที่ติดไว้ตลอดด้านข้างของตัวเรือ ที่ต่อเติมเสริมขึ้นไ ป ต า ม แ น ว ก ร ะ ดู ก งู ส อ ง ข้ า ง ซ้ายขวา ให้ลาเรือขยายกว้างออกตรงกลางลาเรือ แล้วเรียวแคบไปทาง ส่วนหัวเรือ และท้ายเรือ ขนาดของแผ่นไม้กระดานที่นามาต่อเป็ นกราบเ รือ จะใช ้ไม้ขนาด หนา 1 นิ้ว x กว้าง 6 นิ้ว ยาวตลอดทั้งลา (ประมาณ 9 เมตร) ขั้นตอนที่ 3 การวางกง “กง” คือไม้ที่มีลักษณะคล้ายกับตัว U ใ นภาษาอังกฤษ ที่วางขวางอยู่ในลาเรือ ตามขนาดความโค้งของเรือตั้งแ ต่หัวเรือจนถึงท้ายเรือ กงจะมีขนาดความกว้างที่สุดตรงกลางลาเรือ แล้ ว ค่ อ ย ๆ เรียวเล็กแคบลงไปทางส่วนหัวและส่วนท้ายตามลาดับ กงจึงเปรียบเส มือนโครงสร ้างหรือโครงกระดูก เพราะไม้กระดานแต่ละแผ่นที่ประกอบขึ้ นเป็ นลาเรือ จะต้องถูกตอกตรึงกับกงด้วยตะปู จึงสร ้างความแข็งแรงให้ กั บ ล า เ รื อ เ ป็ น อ ย่ า ง ยิ่ ง ก า ร ท า “กง”ของเรือหัวโทง(ของนายมะตาบ) กง 1 ตัว จะแบ่งเป็ น 3 ส่วน คือ
  • 14. ๑๔ “กง ท้อง ” 1 ส่ ว น อีก 2 ส่ ว น คือ “กง มือ ” 2 ฝั่ ง ซ้า ย -ขว า การวางกง เริ่มจากการวางกงกลางลาเรือเป็ นตัวแรก แล้วไล่ไป จนถึงหัว-ท้ายเรือ (เรือหัวโทงจะมีจานวนกงเป็ นเลขคี่ คือ 11 -23 ตัวกง) โดยการวางกงแต่ละตัวที่มี 3 ส่วน จะเริ่มจาก “กงท้อง”ก่อน โ ด ย จ ะ ว า ง ก ง ท้ อ ง ตั ว แ ร ก ก ล า ง ล า เ รื อ แ ล้ ว เทคนิ คคือสังเกตหรือเล็งด้วยสายตาและอาศัยประสบการณ์ ตั ด สิ น ใ จ เ ลื อ ก ว่ า จ ะ ท า “ ก ง มื อ ” ฝั่ ง ซ ้า ย ห รื อ ข ว า จากที่มองเห็นว่ามีสัดส่วนเค้าโครงที่ทาให้เรือดูสวยงามกว่า เมื่อทาฝั่งที่ เลือกได้แล้ว ก็จะทาอีกฝั่งที่เหลืออีกฝั่งให้เท่ากัน ก็จะได้ความสมดุล ขั้ น ต อ น ที่ 4 ก า ร แ ต่ ง ก ง ด้ว ย ข ว า น “ แ ม ะ ” ห รื อ “ละแมะ” (เป็ นขวานที่ใช ้ถากไม้ รูปร่างคล้ายจอบ หรือขวานขุดปลายงอ ใช้ขุดเรือแต่งเรือโกลน) เป็ นขั้นตอนในการที่จะเก็บรายละเอียดของกง หลังจากที่วางกงแล้ว จาเป็ นต้องแต่งกง (ขอดหรือถาก “กง”) ใ ห้ไ ด้รู ป ที่ ส ม บู ร ณ์เ รีย บ ร ้อ ย เ พ ร า ะ ก ง ท า จ า ก ไ ม้ 3 ส่ ว น จึงต้องเก็บรายละเอียดให้เรียบร ้อย และกงมีความสาคัญต่อรูปทรงและค วามแข็งแรงของเรือ ขั้นตอนที่ 5 การใส่หัวเรือ เป็ นขั้นตอนที่ทาหลังจากวางกงเสร็จแล้ ว ตอนนี้จะได้ตัวลาเรือที่เป็ นโครงที่ยังไม่มีหัวและท้ายเรือ โดยหัวและท้า ยเรือยังอ้าค่อนข้างกว้างอยู่ การจะใส่หัวเรือจึงต้องทาตามลาดับคือ เ ริ่ ม จ า ก วั ด ร ะ ย ะ ที่ จ ะ ใ ห้ เ ป็ น ส่ ว น หั ว ด้วยการที่เว้นตัวกงที่ 3 จากหัวเรือ ใช้แม่แรงบีบกดให้หัวเรือสอบเข้าม า โ ด ย ก ะ ป ร ะ ม า ณ ว่ า ส่ ว น ด้ า น ล่ า ง ต ร ง ก ร ะ ดู ก งู มีขนาด 4 นิ้ว ส่วนบนกระดานกราบแผ่นบนสุดให้กราบซ้ายขวาห่างกัน ป ร ะ ม า ณ 10-12 นิ้ ว ส่ ว น ตั ว ไ ม้ ที่ ท า เ ป็ น ตั ว หั ว เ รื อ จ ะ มี ข น า ด ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั น คื อ ด้านล่างที่เป็ นด้านในจะกว้าง 4 นิ้ว ด้านนอกประมาณ 2 นิ้ว แล้วหัวเรื อ จ ะ มี รู ป ร่า ง สู ง ขึ้น ไ ป ต า ม ส ม ค ว ร ใ ห้ส ม ดุ ล กับ ข น า ด เ รือ แ ล ะ ส า ม า ร ถ แ ห ว ก น้ า รี ด น้ า ห รื อ ฟันคลื่นได้ดี โดยที่ช่างจะอาศัยประสบการณ์ในการกาหนดส่วนโค้งรูป ทรงของหัวเรือ ขั้นตอนที่ 6 การใส่ท้ายเรือ ทา ลักษณะเดียวกับหัวเรือ ร ะ ย ะ โ ด ย มี ร ะ ย ะ หัวเรือประมาณ 1 เมตร 80 เซนติเมตร ส่วนท้าย 1 เมตร 20เซนติเมตร
  • 15. ๑๕ ขั้นตอนที่ 7 การติดตั้ง “หน้านางใน” “กงฉบัง” และ “ ก ร ะ ด า น ปิ ด หั ว ก ง ” ทั้ง หัว แ ล ะ ท้า ย เ รือ “ ห น้า น า ง ใ น ” จ ะ ใ ช้ก ร ะ ด า น ห น า 2-2 ๑ / ๒ นิ้ ว เ ดิ ม เ ป็ น ไ ม้ 2 ชิ้ น ปัจจุบันใช ้เป็ นไม้ชิ้นเดียวกัน ทารูปลักษณะมีการโค้ง อ่อนช้อย ตามรูปแบบ แล้วใช้ตะปูตอกยึด กับตัวเรือ “กงฉบัง” หรือ “กงฝาก” เป็ น ก า ร ติ ด ตั้ ง ที่ ส่ ว น หั ว ร ะ ย ะ ป ร ะ ม า ณ 1-1.20 เ ม ต ร ส่วนท้ายระยะ 60 เซนติเมตร ก่อนที่จะมีการปูกระดานปิ ดหัวกง ที่ หั ว แ ล ะ ท้ า ย เ รื อ ก ร ะ ด า น ปิ ด หั ว ก ง ” เป็ นกระดานที่ติดเพื่อปิดกงที่ส่วนหัวเรือและท้ายเรือ เป็ นส่วนที่ทาให้มีพื้ น ที่ ใ ช ้ ส อ ย ส่วนหัวเพื่อการขึ้นลงเรือ ส่วนท้ายเป็ นที่ติดตั้งเครื่องยนต์เรือหางยาวแล ะสาหรับผู้ควบคุมเรือ ขั้ น ต อ น 8 ก า ร ติ ด ไ ม้ คิ้ ว ป ร ะ ดั บ ตกแต่งตลอดแนวขอบเรือ เป็ นการเสริมขอบที่ต้องมีเทคนิคและฝีมือใน ก า ร “ ดั ด ไ ม้ คิ้ ว ” ที่จะให้สวยงามต้องค่อยๆทาอย่างประณีตพิถีพิถัน แม้ไม้ที่ใช ้จะเป็ นขนา ด ๑/๒ x 2 นิ้ว ขั้ น ต อ น ที่ 9 ก า ร ติ ด “ ร า ทู ” ห รื อ “ ลู ก ก ล้ว ย ” เ รื อ ใ ช้ ไ ม้ ข น า ด 1x2 นิ้ ว ติ ด ตั้ ง ด้ า น ข้ า ง ล า เ รื อ ตลอดแนวขอบบนสองข้างลาเรือ อยู่ใต้ “ไม้คิ้ว” ประโยชน์เพื่อ ใช ้เป็ นตัวผ่อนแรงกระทบกับท่าเรือหรือเรือลาอื่นๆ หรือถือว่าเป็ น “กันกระแทก” นั่นเอง ขั้นตอนที่ 10 การติดตั้ง “ไม้เส้นตา”และ ปูกระดานพื้นเรือ “ไม้เส้นตา ” คือไม้ที่ติด เ ป็ น แ น ว ย า ว ด้า น ใ น ล า เ รือ ซ ้า ย - ขวา โดยตียึดแนวกง ในระดับที่เหมาะสม เพื่อปูกระดานนั่ง หรือ วางม้านั่ง มีประโยชน์ทางอ้อมคือเพิ่มความแข็งแรงของเรือด้วย ขั้ น ต อ น ที่ 1 1 ก า ร ปู ก ร ะ ด า น “ พื้ น เ รื อ ” ต า ม ป ร ะ โ ย ช น์ ใ ช้ ส อ ย ไ ม่ ต้ อ ง เ ห ยี ย บ ท้ อ ง เ รื อ สะดวกในการเดินของผู้โดยสาร ขั้ น ต อ น ที่ 12 ก า ร ท า ที่ ตั้ ง แ ท่ น เ ค รื่ อ ง เจาะที่ตั้งเครื่อง ที่ใช ้ร ้อยน๊อตและการเติมแพนหางเรือ “แพนหางเรือ” คือส่วนที่ อยู่ท้ายเรือ ติดตั้งเพื่อให้เรือหัวโทง สามารถแล่นอย่างสมดุล
  • 16. ๑๖ บังคับไม่ให้หัวเชิดเกินไป การติดตั้งอาจทาได้ทั้งก่อนหรือหลังเอาเรือลง น้าแล้วค่อยติดตั้งก็ได้ ขั้นตอนที่ 13 การตกแต่งรายละเอียดเรือ ด้วย กบ และ ผัด (ขัดผิวไม้) นอกและในเรือ งานนี้ในส่วนที่ต้องการความเรียบร ้อยจะใช ้วิ ธีลงด้วยกระดาษทรายมือเปล่าเก็บรายละเอียด ขั้ น ต อ น ที่ 14 ก า ร ต อ ก ห มั น เ รื อ ก า ร ย า แ น ว มักจะทาโดยช่างที่มีความชานาญเฉพาะ ขั้ น ต อ น ที่ 15 ก า ร ท า สี กั น เ พ รี ย ง ท า น้ า มั น ย า ง แ ล ะ แ ล ค เ ก อ ร ์ โ ด ย จ ะ ท า สี กั น เ พ รี ย ง บ ริ เ ว ณ ใ ต้ ท้ อ ง เ รื อ ป ร ะ ม า ณ ใ ห้ ถึ ง แ น ว ร ะ ดั บ น้ า (ไม่มาทั้งลาเพราะสิ้นเปลืองและอาจดูไม่สวย) เมื่อทาสีกันเพรียงแล้วจะ ลงน้ามันยาง ปัจจุบันเป็ นน้ามันยางสาเร็จรูป เ มื่ อ เ ส ร็ จ ก ร ะ บ ว น ก า ร ต่ า ง ๆ ใ น ก า ร ต่ อ เ รือ หัว โ ท ง แ ล้ว จ ะ มี กิจ ก ร ร ม ต า ม ค ว า ม นิ ย ม คื อ ก า ร ผู ก ผ้ า หั ว เ รื อ เ พื่ อ เ รือ หัว โ ท ง จ ะ มีค ว า ม ส ว ย ง า ม เ มื่อ เ ล่ น โ ต้ค ลื่น ใ น ท้อ ง ท ะ เ ล มีการขอแรงเพื่อนบ้านมาช่วยในการดึงเรือลงน้า และถือโอกาสจัดเลี้ยง ด้ ว ย อ า ห า ร ที่ นิ ย ม คื อ ข้ า ว เ ห นี ย ว ไ ก่ ไ ก่ ต้ ม ก ะ ทิ ห รื อ ค น ที่ ฐ า น ะ ดี อ า จ มี แ ก ง แ พ ะ เพื่อเลี้ยงเพื่อนบ้านญาติมิตรที่มาร่วมช่วยเหลือและแสดงความยินดี ในช่วงการจะดึงเรือลงน้า จะมีนายช่างเจาะรู 4-6 หุน ต ร ง ก ร ะ ดู ก งู ลู ก ก ร ะ ด า น เ รื อ ให้ทะลุท้องเรือลงไป จากนั้นจึงมีการขอพรแล้วจึงใช ้ไม้เหลาเท่ารูที่เจาะ ท า เ ป็ น ลิ่ ม ต อ ก อุ ด รู ไ ว้ ด้วยการใช้ขวานหรือค้อนตอก การทากิจกรรมนี้จะมีการขอให้ผู้รู ้ทาง ศาสนา (อีหม่าม โต๊ะไบ) ช่วยขอพร ( “ดุอา” ในศาสนาอิสลาม) ใ ห้ เรือลงไปแล้วอย่าให้มีอุปสรรค ขอให้คลื่นลมอานวย ออกทะเลให้ได้กุ้ง ได้ปลา มากๆ ในความเมตตาของพระเจ้าในศาสนาอิสลาม (มี“รีสกี” ในศาสนาอิสลาม) มี ค า ก ล่ า ว ต่ อ ๆ กั น ม า ว่ า ถ้าไม่มีการเจาะท้องเรือเช่นนี้ “เรือจะยังไม่เป็ นเรือ เมื่อเจาะแล้วเรือจะรู ้ ตัว ว่ า เ ป็ น เ รือ ” นั บ ว่ า ก า ร เ จ า ะ ท้อ ง เ รือ นี้ สิ่ ง ที่ ถื อ ป ฏิ บั ติ ในการต่อเรือหัวโทงสืบต่อกันมา การมีพิธีกรรมประกอบอาจแตกต่างกั
  • 17. ๑๗ นไปตามบริบทของสังคม นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่ถือปฏิบัติเคร่งครัดอีกอย่า ง คื อ ก า ร ที่ จ ะ ไ ม่ ต่ อ เ รือ เ ป็ น จ า น ว น ก ง ที่ เ ป็ น “ เ ล ข คู่ ” เด็ดขาด ไม่มีใครฝ่าฝืน หนังสืออ่ำนเพิ่มเติม จั น ท ร า ท อ ง ส มั ค ร (2541 : 10) ไ ด้ใ ห้ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ว้ว่ า คื อ หนังสือที่เขียนเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรตอนใด ตอนหนึ่ง เ นื้ อ ห า เ จ า ะ ลึ ก เ ฉ พ า ะ วิ ช า โ ด ย เ พิ่ ม เ ติ ม ใ ห้ ก ว้ า ง ข ว า ง ลึ ก ซึ้ง ม า ก ขึ้ น ก ว่ า เ ดิ ม เ พื่ อ ใ ช ้ ป ร ะ ก อ บ ใ น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น สาหรับให้นักเรียนอ่านศึกษาหาความรู ้เพิ่มเติมและเลือกอ่านได้ตามควา ม สนใจและตามกาลังสติปัญญาของตน จิ น ต น า ใ บ ก า ซู ยี (2542 : 134) ไ ด้ใ ห้ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ว้ว่ า คื อ หนังสือที่บรรจุความรู ้ซึ่งอาจจะเป็ นความรู ้ส่วนใดส่วนหนึ่งจากสูตรหรือค วามรู ้ในเรื่องใดเรื่องหนึ่งซึ่งเป็ นประโยชน์เสริมประสบการณ์ให้แก่ผู้เรียน ซึ่งเป็ นนักเรียนวัยต่างๆ มีลักษณะแนวการเขียนทั้งในแง่ให้สาระ ประโยชน์โดยตรงในลักษณะการเขียนแบบสารคดีและให้ความสนุกในลั กษณะการเขียนแบบบันเทิงคดีปะปนอยู่ด้วย แต่เน้นหนักไปในแง่ให้สาระ ประโยชน์มากกว่าความบันเทิง ทั้งนี้การเน้นหนักในแง่ให้สาระ ประโยชน์ความรู้จะเป็ นจุดประสงค์สาคัญของการเขียนหนังสืออ่านเพิ่มเ ติม ก ล่ า ว โ ด ย ส รุ ป ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ห ม า ย ถึ ง หนังสือที่เป็ นความรู ้ส่วนหนึ่งของหลักสูตรรายวิชาใดวิชาหนึ่งที่จัดทาขึ้น ให้นักเรียนอ่านเพื่อสร ้างเสริมประสบการณ์เพิ่มเติมให้กับนักเรียนได้มีค วามรู ้ความเข้าใจในเรื่องนั้นๆได้อย่างลึกซึ้ง ชัดเจนขึ้นด้วยตนเอง โดยคานึงถึงวัยและความสามารถในการอ่านของเด็กแต่ละบุคคลเป็ นสา คัญ ควำมสำคัญของหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม หนังสืออ่านเพิ่มเติมเป็ นสื่อการเรียนอย่างหนึ่งที่กระทรวงศึกษาธิก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ห น่ ว ย ง า น ข อ ง รั ฐ ท้องถิ่นโรงเรียนและเอกชนมีส่วนร่วมในการจัดทาเพื่อให้โรงเรียนใช้เป็ น
  • 18. ๑๘ สื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ในกลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ โ ด ย ใ ห้เ ห ม า ะ ส ม กับ ส ภ า พ แ ล ะ ค ว า ม ต้อ ง ก า ร ข อ ง ท้อ ง ถิ่น ซึ่ ง ใ น ก า ร จั ด ท า ห นั ง สื อ ดั ง ก ล่ า ว โรงเรียนจะต้องนาเนื้อหาในหลักสูตรมาขยายให้มีรายละเอียดมากขึ้น โ ด ย เ น้ น เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ที่ ใ ห้ค ว า ม รู ้ข้อ เ ท็ จ จ ริง ที่ มี คุ ณ ค่ า ค ว า ม เ พ ลิ ด เ พ ลิ น อัน แ ต ก ต่ า ง ไ ป จ า ก ห นั ง สื อ แ บ บ เ รีย น ซึ่งความจาเป็ นในการใช ้หนังสืออ่านเพิ่มเติมสรุปได้ดังนี้ ๑ . ช่วยขยายเนื้อหาแบบเรียนให้กว้างขวางขึ้นหนังสืออ่านเพิ่มเติมจัดทาขึ้น เ พื่ อ จุ ด มุ่ ง ห ม า ย เ ฉ พ า ะ ส่ ว น ย่ อ ย ที่ช่ว ย เ น้น ข ย า ย เ นื้อ ห า แ ล ะ ยัง มี ภ า พ ป ร ะ ก อ บ ท า ใ ห้เ กิด ความรู ้ความเข้าใจได้กว้างขวางขึ้นดีขึ้นและง่ายขึ้น ๒. สร ้างเสริมนิ สัยรักการค้นคว้าและพัฒนาการอ่าน หนังสืออ่านเพิ่มเติมเด็กสามารถอ่านได้อย่างอิสระไม่จากัดสถานที่ เป็ นการสร ้างเสริมทักษะนิสัยให้รักการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอ ง ฝึ ก ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร อ่ า น อ ยู่ เ ส ม อ รวมทั้งยังเป็ นการใช ้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์อีกด้วย ๓ . ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ด็ ก มี นิ สั ย รั ก ก า ร อ่ า น ห นั ง สื อ หนังสืออ่านเพิ่มเติมมีเรื่องราวเนื้อหาที่ สนุ กสนานเพิ่มเติม มี ภ า พ ป ร ะ ก อ บ แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม กั บ วั ย จึ ง ส า ม า ร ถ เ ร ้า ค ว า ม ส น ใ จ ที่ จ ะ อ่ า น ม า ก ก ว่ า แ บ บ เ รีย น ซึ่งจะปลูกฝังให้เด็กเกิดนิสัยรักการอ่านในที่สุด ๔. ช่วยชดเชยความบกพร่องทางด้านจิตใจของ เด็ ก ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ที่ เ ป็ น เ รื่ อ ง ร า ว ส า ม า ร ถ ช ด เ ช ย ค ว า ม รู้ สึ ก บ ก พ ร่ อ ง ท า ง จิ ต ใ จ เสริมสร ้างคุณธรรมได้ดีกว่าแบบเรียน ๕ . ช่ว ย ใ ห้เ ด็ ก ไ ด้รับ ค ว า ม เ พ ลิ ด เ พ ลิ น บัน เ ทิ ง ใ จ ลับสมองและส่งเสริมเชาว์ปัญญาหนังสืออ่านเพิ่มเติมมีเนื้อเรื่องที่สนุกสน านแฝงไว้ด้วยความรู ้มีความเหมาะสมกับวัยจึงเป็ นสื่อสาคัญที่จะสร ้างคว ามเพลิดเพลิน ส่งเสริมเชาว์ปัญญาให้แก่เด็ก (บันลือ พฤกษะวัน, 2524 : 58;ปรานี เชียงทอง, 2526 : 133) กองวิจัยทางการศึกษา (2529: 31 อ้างถึงใน เทียมจันทร ์ศรีสังข์. 2542: 12) ส รุ ป ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ห นั ง สือ อ่ า น เ พิ่ม เ ติม ไ ว้ว่ า สามารถส่งเสริมความเจริญงอกงามทั้งทางด้านอารมณ์และทางด้านสังค
  • 19. ๑๙ ม ตลอดจนปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน รักการค้นคว้า เพิ่มพูนความรู ้ และปลูกฝังอุดมคติอันดีงามในการดารงชีวิต ลั ก ข ณ า ร อ ด ส น (2540 : 28) ก ล่ า ว ถึง ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ห นั ง สือ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติม ว่ า เ ป็ น สื่อ ก า ร ส อ น ที่ มี ป ร ะ โ ย ช น์ ทั้ ง ต่ อ ผู้ ส อ น แ ล ะ ผู้ เ รี ย น เป็ นหนังสือที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้อ่านมีความรู ้กว้างขวางยิ่งขึ้น ช่วยส่งเสริมทักษะการอ่านและเป็ นแหล่งในการศึกษาค้นคว้าความรู ้เพิ่มเ ติม รวมทั้งปลูกฝังให้เด็กรักการอ่าน เ ที ย ม จั น ท ร ์ ศ รี สั ง ข์ (2540 : 12) ก ล่ า ว ถึง ค ว า ม ส า คัญ ข อ ง ห นั ง สือ อ่ า น เ พิ่ม เ ติม ว่ า ส า ม า ร ถ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ ด็ ก รั ก ก า ร อ่ า น มี ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร พั ฒ น า ส ติ ปั ญ ญ า ข อ ง เ ด็ ก เ ป็ น แ ห ล่ ง ค ว า ม รู้แ ล ะ ส น อ ง ค ว า ม ส น ใ จ ข อ ง เ ด็ ก และสามารถใช ้เป็ นสื่อประกอบการเรียนการสอนและค้นคว้าหาความรู ้เพิ่ มเติมสาหรับนักเรียนอีกด้วย กล่าวโดยสรุป ความสาคัญของหนังสืออ่านเพิ่มเติม คือ การช่วยส่งเสริมการอ่านทาให้ ผู้อ่านหรือผู้เขียนได้รับความรู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ รื่ อ ง ต่ า ง ๆ เพื่อให้เกิดพัฒนาการด้านความรู ้และสติปัญญาพัฒนาการด้านภาษา พั ฒ น า ก า ร ด้ า น นิ สั ย บุ ค ลิ ก ภ า พ พัฒนาการด้านเจตคติต่อสังคมรวมทั้งเป็ นสิ่งพักผ่อนหย่อนใจให้กับผู้อ่า น จุดมุ่งหมำยในกำรสร้ำงหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม หนังสืออ่านเพิ่มเติมเป็ นสื่อการเรียนการสอนอย่างหนึ่ ง ที่ ก ร ม วิ ช า ก า ร ส่ ง เ ส ริม ใ ห้โ ร ง เ รีย น ชุ ม ช น แ ล ะ ท้อ ง ถิ่ น ตลอดจนเอกชนจัดทาขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสได้อ่านหนังสือที่มีสาระเ กี่ยวกับประสบการณ์จริงในท้องถิ่นของตน สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการ ของท้องถิ่นทาให้นักเรียนมีความรู ้กว้างไกลออกไป น อ ก เ ห นื อ จ า ก ก า ร อ่ า น ห นั ง สื อ แ บ บ เ รี ย น ที่ หลักสูตรกาหนดจุดมุ่งหมายในการสร ้างหนังสืออ่านเพิ่มเติม (ณรงค์ ทองปาน,2526 : 79 – 81) 15 สรุปได้ดังนี้
  • 20. ๒๐ 1. เพื่อปลูกฝังทัศนคติ ค่านิยม คุณธรรมและวัฒนธรรมอันดีงามตามขนบธรรมเนียม ประเพณีไทย 2. เพื่อเสริมสร ้างจินตนาการ และความคิดสร ้างสรรค์ 3. เพื่อให้ความรู ้ข่าวสารใหม่ ๆ ข้อเท็จจริงที่ถูกต้อง ที่นอกเหนือจากบทเรียนในรูปแบบ ที่เหมาะสมกับเด็ก 4. เพื่อช่วยให้เด็กมีหนังสือที่มีเนื้อหาสาระเหมาะสมกับวัย 5. เพื่อสร ้างนิสัยรักการอ่าน การค้นคว้า และเกิดทักษะในการอ่าน 6. เพื่อช่วยให้เด็กรู ้จักการใช ้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 7. เพื่อให้เด็กได้รับความบันเทิงสนุกสนานเพลิดเพลินได้รับความจรรโลงค วามสุขและ สนองความต้องการของวัยเด็ก 8. เพื่อช่วยให้การถ่ายทอดมรดกทางวัฒนธรรมและสร ้างศรัทธาในเอกลักษ ณ์ไทย หนังสืออ่านเพิ่มเติมจัดเป็ นหนังสือเสริมประสบการณ์ชนิดหนึ่ง มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ ความรู ้ที่ถูกต้องเหมาะสม และสอดคล้องกับความสนใจของเด็ก ช่วยให้เด็กได้รับความรู้ประสบการณ์มีทักษะ เจตคติ ตลอดจนคุณธรรมต่าง ๆ มีความสนุกสนานเพลิดเพลินสร ้างนิสัยที่ดี ในการอ่านและใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ ลักษณะบทบำทหน้ำที่และประโยชน์ของหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม กรมวิชาการ (อ้างถึงในจินตนา ใบกาซูยี. 2542 : 143) ได้กล่าวถึงลักษณะบทบาทหน้าที่และประโยชน์ของหนังสืออ่านเพิ่มเติมไ ว้ดังต่อไปนี้ 1 . ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม รู้ หนังสืออ่านเพิ่มเติมควรมีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับความรู้หรือทักษะ ความคิดรวบยอด หลักการ หรือทฤษฏีเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่อง ซึ่ ง เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ผู้ อ่ า น ใ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต การศึกษาหาความรู ้รวมทั้งก่อให้เกิดความเจริญงอกงามและพัฒนาการใ นด้านต่างๆ
  • 21. ๒๑ 2. ส่งเสริมสติปัญญา หนังสืออ่านเพิ่มเติมควรมีลักษณะที่ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาโด ยเปิดโอกาสให้ผู้อ่านได้พัฒนาทักษะในการสังเกต ตีความ เปรียบเทียบ ให้เหตุและผล จาแนกแจกแจง วิเคราะห์สังเคราะห์ประเมินค่า ตลอดจนสามารถนาความรู ้และทักษะเหล่านั้นไปใช ้ให้เกิดประโยชน์ในก ารแก้ปัญหาต่างๆ นอกเหนือไปจากการมีเนื้อหาสาระที่ให้ผู้อ่านเกิดความรู ้ความเข้าใจในเ รื่องต่างๆ 3. ส่งเสริมเจตคติที่เหมาะสม หนังสืออ่านเพิ่มเติมควรสอดแทรกแนวความคิดที่ช่วยให้ ผู้อ่านเกิดเจตคติที่เหมาะสมในการนาความรู ้นั้นๆ ไปใช ้ตามแนวทางที่พึงประสงค์ นอกเหนือไปจากการเสนอเนื้อหาสาระที่เป็ นความรู ้และส่งเสริมสติปัญญ า 4 . ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ห นั ง สื อ อ่ า น เ พิ่ ม เ ติ ม ค ว ร เ ส น อ เ นื้ อ ห า ส า ร ะ ใ น ลัก ษ ณ ะ ที่ ส่ ง เ ส ริม ใ ห้ผู้อ่ า น ส า ม า ร ถ ท า ค ว า ม เ ข้า ใ จ เ รื่อ ง ร า ว ไ ด้ โดยการใช ้ภาษาที่ถูกต้องเหมาะสมกับความรู ้และประสบการณ์ทางด้าน ก า ร ใ ช้ ภ า ษ า ข อ ง ผู้ อ่ า น สามารถเสนอเนื้อหาตามลาดับขั้นตอนของความรู ้และตามการพัฒนาก า ร ส ติ ปั ญ ญ า ข อ ง ผู้ อ่ า น ให้ตัวอย่างที่เหมาะสมตลอดจนใช ้เทคนิควิธีหรือเครื่องส่งเสริมความเข้าใ จ อื่ น ๆ เ ช่ น ภ า พ ป ร ะ ก อ บ แ ผ น ภู มิ ต า ร า ง ค า ถ า ม และอภิศัพท์เหล่านี้เป็ นต้น 5 . ส่งเสริมการศึกษาหาความรู ้ด้วยตนเองหนังสืออ่านเพิ่มเติมควรมีลักษณะ ที่กระตุ้นให้ผู้อ่านเกิดความสนใจและกระตือรือร ้นที่จะศึกษาหาความรู ้ด้ว ย ต น เ อ ง โ ด ย ก า ร เ น้ น เ รื่ อ ง ร า ว ที่ เ ด็ ก ส น ใ จ เห็นความสาคัญและประโยชน์ของเรื่องราวที่เสนอซึ่งเกี่ยวข้องกับผู้เรียน อาจสอดแทรกคาถามยั่วยุต่างๆ ตลอดจนเสนอแนะหนังสืออื่นๆ ที่ผู้อ่านอาจจะไปศึกษาให้กว้างขวางให้ลึกซึ้งขึ้นตามความต้องการและส นใจของแต่ละบุคคล รูปแบบกำรเขียนหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม
  • 22. ๒๒ จินตนา ใบกาซูยี (2542 : 134 ) กล่าวว่า แนวการเขียนหนังสืออ่านเพิ่มเติมมีทั้งในลักษณะการเขียนแบบสารคดีแ ละการเขียนแบบบันเทิงคดีแต่จะมุ่งเน้นมีลักษณะการเขียนแบบสารคดีม ากกว่าเพิ่มเติมควรจะเขียนเป็ นความเรียงมากที่สุด ในการเขียนความเรียงนั้น มีโวหารหรือวิธี เรียบเรียงที่สาคัญและนิยมใช ้มากมีดังต่อไปนี้ 1. การบรรยาย เป็ นวิธีการเล่าเรื่องที่ได้พบเห็นมาอย่างถี่ถ้วน อาจมีตัวบุคคลหรือตัว ละคร มีพฤติกรรมหรือเหตุการณ์ หรือปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นเนื้อเรื่องดาเนินไปซึ่งนิยมใช ้เขียนงานปร ะเภทนิทาน นิยาย ตานาน ประวัติ เรื่องเล่า รายงาน หรือบันทึกเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 2. การพรรณนา เป็ นวิธีการให้รายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ที่ได้พบเห็นมาโดยไม่มีเนื้อเรื่อง หรือเป็ นการราพันความรู้สึกของผู้เขียนก็ได้ นิยมใช้เขียนในการพรรณนา ความงามของธรรมชาติ สถานที่ และความดีของบุคคล เป็ นต้น 3. การอธิบาย เป็ นวิธีการชี้แจง สั่งสอน อธิบาย และพิสูจน์ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เป็ นการให้ความกระจ่างในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 4. การอภิปราย เป็ นวิธีการชักจูงใจชี้ชวนให้คล้อยตามและปฏิบัติตามโดยใช ้เหตุผลหรือ การใช ้ตัวอย่าง หรือการอ้างอิงให้น่าเชื่อถือและสมจริง 5. การเปรียบเทียบเป็ นวิธีการเทียบเคียงเพื่อให้ข้อความที่มีอยู่เดิมนั้นมี ความหมายกระจ่างขึ้น โดยการอีกตัวอย่างหนึ่งมาเทียบให้เห็นความแตกต่างหรือความเหมือนกั น 6. การเล่าเรื่อง เป็ นวิธีการเขียนเล่าประสบการณ์ให้ผู้อ่านได้รับรู้ในลักษณะ การบรรยายเล่าเรื่องและมีการพูดคุยสนทนา เพื่อให้เรื่องดาเนินไปมีการใช ้สรรพนามระหว่างผู้อ่านกับผู้เรียน