SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
โครงสร้างข้อมูล
(Structuring Data)
โครงสร้างข้อมูลแบบ Struct
Struct เป็นโครงสร้างข้อมูลชนิดหนึ่งในภาษา C ที่เหมาะสาหรับใช้
ในการเขียนโปรแกรมกับข้อมูลแบบรายการข้อมูลที่มีชนิดข้อมูลแต่ละตัว
แตกต่างกัน เช่น ข้อมูลนักเรียนที่ประกอบด้วย รหัสประจาตัวนักเรียน ชื่อ
นักเรียน แผนการเรียน หรือข้อมูลรายการสั่งซื้อสินค้าที่ประกอบด้วย ชื่อ
สินค้า ราคา จานวน ราคารวม เป็นต้น ซึ่งเราจะเรียกรายการข้อมูลแต่ละ
รายการว่า เร็คคอร์ด (Record)
โครงสร้างข้อมูลนักเรียน
รหัสนักเรียน
ชื่อนักเรียน
แผนการเรียน

ลักษณะโครงสร้างข้อมูล

โครงสร้างข้อมูล
รายการส่งซื้อ
ชื่อสินค้า
ราคา
จานวน
ราคารวม
การประกาศโครงสร้างข้อมูลแบบ struct
การสร้ า งและการประกาศโครงสร้ า งข้ อ มู ล
แบบ struct ขึ้นมาใช้งาน ประกอบด้วย ชื่อและสมาชิก
ภายใน struct ซึ่งมีรปแบบการประกาศใช้งานดังนี้
ู
struct Name
{
type_1 varName_1;
type_2 varName_2;
...
type_n varName_n;
};
โดยที่ Name
type_n
varName_n

เป็นชื่อของ struct ที่ประกาศขึ้นใช้งาน
เป็นชนิดข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัวในโครงสร้าง
ข้อมูลที่กาลังประกาศ
เป็นชื่อของตัวแปรแต่ละตัวในโครงสร้างข้อมูล
ตัวอย่างการประกาศโครงสร้างข้อมูลแบบ struct
struct student
{
char chCode[5];
char strName[30];
char strMajor[30];
};
เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบ struct ชื่อ student ประกอบด้วยสมาชิก ดังนี้
•รหัสนักเรียน เป็นตัวแปรอาร์เรย์ชนิดอักขระ 5 ตัวอักขระ
•ชื่อนักเรียน เป็นตัวแปรชนิดข้อความ 30 ตัวอักษร
•แผนการเรียน เป็นตัวแปรชนิดข้อความ 30 ตัวอักษร
การประกาศโครงสร้างข้อมูลแบบ struct ด้วยคาสั่ง typedef
มีรูปแบบ ดังนี้
typedef struct
{
type_1 varName_1;
type_2 varName_2;
...
type_n varName_n;
}Name;
โดยที่ Name
type_n

เป็นชื่อของ struct ที่ประกาศขึ้นใช้งาน
เป็นชนิดข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัวในโครงสร้าง
ข้อมูลที่กาลังประกาศ
varName_n เป็นชื่อของตัวแปรแต่ละตัวในโครงสร้างข้อมูล
ตัวอย่างการประกาศโครงสร้างข้อมูลแบบ struct ด้วยคาสั่ง typedef
typedef struct
{
char chCode[5];
char strName[30];
char strMajor[30];
};
เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบ struct ชื่อ student ประกอบด้วยสมาชิก ดังนี้
•รหัสนักเรียน เป็นตัวแปรอาร์เรย์ชนิดอักขระ 5 ตัวอักขระ
•ชื่อนักเรียน เป็นตัวแปรชนิดข้อความ 30 ตัวอักษร
•แผนการเรียน เป็นตัวแปรชนิดข้อความ 30 ตัวอักษร
อาร์เรย์กับโครงสร้างข้อมูล
เราสามารถประกาศตัวแปร struct ขึ้นมาใช้งานในแบบอาร์เรย์
เพื่อให้เหมาะสมกับการเขียนโปรแกรมของเราก็ได้ ซึ่งมีรูปแบบเหมือนกับ
การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ทั่วไป ตัวอย่างเช่น
โครงสร้างข้อมูล
นักเรียน [0]

โครงสร้างข้อมูล
นักเรียน []

โครงสร้างข้อมูล
นักเรียน [n]

รหัสนักเรียน

รหัสนักเรียน

รหัสนักเรียน

เกรดเฉลี่ย

เกรดเฉลี่ย

…

เกรดเฉลี่ย

ลักษณะโครงสร้างข้อมูลนักเรียนในแบบอาร์เรย์
พอยน์เตอร์กับโครงสร้างข้อมูล
การใช้งานพอยน์เตอร์กับโครงสร้างข้อมูลแบบ struct จะมี
ลักษณะการใช้งานเหมือนกับการใช้งานพอยน์เตอร์กับตัวแปรทั่วไป ดัง
ตัวอย่างโปรแกรมต่อไปนี้
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12

#include <stdio.h>
#include <conio.h>
typedef struct
{
char strName[30];
int intAge;
int intHigh;
int intWeight;
}Person;
Void TestPointer (Person *p);
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27

main()
{
Person pCustomer = {“Somchai Rakthai”, 23, 180, 75};
TestPointer(&pCustomer);
getch();
}

void TestPointer (Person *p)
{
printf(“Name : %sn”, (*p).strName);
printf(“Age : %dn”, (*p).intAge);
printf(“High : %dn”, (*p).intHigh);
printf(“Weight : %dn”, (*p).intWeight);
}
อธิบายการใช้โปรแกรม
บรรทัดที่ 4 – 10 ประกาศโครงสร้างข้อมูล struct ชื่อ Person ซึ่งประกอบด้วย
- ชื่อ
เป็นตัวแปรชนิดข้อความชื่อ strName
- อายุ
เป็นตัวแปรชนิดจานวนเต็มชื่อ intAge
- ความสูง เป็นตัวแปรชนิดจานวนเต็มชื่อ intHigh
- น้าหนัก เป็นตัวแปรชนิดจานวนเต็มชื่อ intWeight
บรรทัดที่ 12 ประกาศฟังก์ชันโปรโตไทป์
บรรทัดที่ 16
ประกาศตัวแปร struct ชื่อ pCustomer พร้อมกาหนดค่าให้
สมาชิกแต่ละตัว
บรรทัดที่ 17
เรียกใช้งานฟังก์ชัน TestPointer โดยส่งตาแหน่งที่อยู่ของ
ตัวแปร struct ไปให้ฟังก์ชันใช้งาน
บรรทัดที่ 21 – 27
บรรทัดที่ 23
บรรทัดที่ 24
บรรทัดที่ 25
บรรทัดที่ 26

สร้างฟังก์ชัน TestPointer โดยประกาศพอยน์เตอร์รับ
ตาแหน่งที่อยู่ของข้อมูล
แสดงค่าข้อความของตัวแปรพอยน์เตอร์ของ struct
แสดงค่าข้อความของตัวแปรพอยน์เตอร์ของ struct
แสดงค่าข้อความของตัวแปรพอยน์เตอร์ของ struct
แสดงค่าข้อความของตัวแปรพอยน์เตอร์ของ struct
โครงสร้างข้อมูลซ้อนโครงสร้างข้อมูล
ในบางครั้งข้อมูลที่เราต้องจัดการนั้นมีโครงสร้างข้อมูลที่ซับซ้อน
มากกว่า 1 ระดับ เราอาจจะจดการข้อมูลดังกล่าวโดยใช้โครงสร้างข้อมูล
แบบ struct มากกว่า 1 ตัวซ้อนกัน เช่น
โครงสร้างข้อมูล
วัน

โครงสร้างข้อมูล
บุคคล

วันที่

รหัสนักเรียน

เดือน

อายุ

ปี

วันเกิด

ลักษณะโครงสร้างข้อมูลวัน

ลักษณะโครงสร้างข้อมูลบุคคลที่มี
สมาชิกวันเกิดเป็นโครงสร้างข้อมูลวัน

! จากรูป เป็นโครงสร้างข้อมูลบุคคลที่มีสมาชิกประกอบด้วย ชื่อบุคคล อายุ และวันเกิด โดยที่วนเกิดนั้น
ั
เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบ struct ที่ประกอบด้วย วัน เดือน และปีที่เกิด
การใช้งานโครงสร้างข้อมูลกับฟังก์ชัน
มี 3 รูปแบบดังนี้

zzzzzz

ฟังก์ชันที่ไม่มีการรับค่า และมีการส่งค่ากลับ
ฟังก์ชันที่มีการรับค่า และไม่มีการส่งค่ากลับ

ฟังก์ชันที่มีการรับค่า และมีการส่งค่ากลับ
ฟังก์ชันที่ไม่มีการรับค่า และมีการส่งค่ากลับ
ฟังก์ชันที่ไม่มีการรับค่า และมีการส่งค่ากลับ คือ ฟังก์ชันที่ไม่มีการรับ
ค่าข้อมูลจากฟังก์ชันที่เรียกฟังก์ชันใช้งาน และเมื่อประมวลผลเสร็จจะมีการส่ง
ค่าข้อมูลกลับไปยังฟังกันที่เรียกฟังก์ชันนี้ทางาน ในที่นี้เราจะใช้โครงสร้าง
ข้อมูลในการส่งค่ากลับให้ฟังก์ชันที่เรียกฟังก์ชันนี้ทางานนั่นเอง ซึ่งมีรูปแบบ
การสร้างฟังก์ชันดังนี้
struct structName functionName (void)
{
statements;
return varstructName;
}
โดยที่
structName เป็นชื่อสตรัคเจอร์ที่ส่งค่าข้อมูลกลับไปให้ฟังก์ชัน
functionName เป็นชื่อฟังก์ชัน
statements เป็นชุดคาสั่งภายในฟังก์ชัน
varstructName เป็นชื่อตัวแปรสตรัคเจอร์ที่ต้องการส่งกลับ
ฟังก์ชันที่มีการรับค่า และไม่มีการส่งค่ากลับ

ฟังก์ชันที่มีการรับค่า และไม่มีการส่งค่ากลับ คือ
ฟังก์ชันที่มีการรับค่าข้อมูลจากฟังก์ชันที่เรียกฟังก์ชันใช้
งานเข้ามาใช้ในการประมวลผล และเมื่อประมวลผลเสร็จ
จะไม่มีการส่งค่าข้อมูลกลับไปยังฟังก์ชันที่เรียกฟังก์ชันนี้
ทางาน ซึ่งมีรูปแบบการสร้างฟังก์ชันดังนี้
Void functionName (struct structName varstructName)
{
statements;
}
โดยที่
structName เป็นชื่อสตรัคเจอร์รับค่าข้อมูล
functionName เป็นชื่อฟังก์ชัน
varstructName เป็นชื่อตัวแปรสตรัคเจอร์ที่รับค่าข้อมูล
statement เป็นชุดคาสั่งภายในฟังก์ชัน
ฟังก์ชันที่มีการรับค่า และมีการส่งค่ากลับ
คือ ฟั งก์ ชัน ที่มี การรั บค่ าข้ อมู ลจากฟั ง ก์ ชั น ที่ เรี ย ก
ฟังก์ชันใช้งานเข้ามาใช้ในการประมวลผล และเมื่อ
ประมวลผลเสร็ จ จะมี ก ารส่ ง ค่ า ข้ อ มู ล กลั บ ไปยั ง
ฟั ง ก์ ชั น ที่ เ รี ย กฟั ง ก์ ชั น นี้ ท างาน ซึ่ ง มี รู ป แบบการ
สร้างฟังก์ชันดังนี้
struct structNameOutput functionName (structNmaeInput varstructNameInput)
{
statements;
return varstructNameOutput;
}
โดยที่
structNameInput
structNameOutput
functionName
statement
varstructNameInput
varstructNameOutput

เป็นชื่อสตรัคเจอร์ที่รับค่าข้อมูล
เป็นชื่อสตรัคเจอร์ที่ส่งค่าข้อมูล
เป็นชื่อฟังก์ชัน
เป็นชุดคาสั่งภายในฟังก์ชัน
เป็นชื่อตัวแปรสตรัคเจอร์ที่ใช้รับข้อมูล
เป็นชื่อตัวแปรสตรัคเจอร์ที่ต้องการส่งกลับ
ยูเนียน (Union )
ยูเนียน (union) เป็นข้อมูลอีกรูปแบบหนึ่งของภาษา C
ลักษณะการทางานเหมือนกับ struct
คือภายในยูเนียนจะ
ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นชนิดข้อมูลพื้นฐานของภาษา C แต่จะ
แตกต่างที่สมาชิกแต่ละตัวของยูเนียนนั้นใช้พื้นที่หน่วยความจ า
ร่วมกัน โดยพื้นที่หน่วยความจาของยูเนียนจะมีขนาดเท่ากับขนาด
ของสมาชิ ก ที่ มี ข นาดใหญ่ ที่ สุ ด นั่ น หมายความว่ า ยู เ นี ย นจะ
สามารถเก็บข้อมูลสมาชิกได้ทีละตัวเท่านั้น
struct student
{
char strCode[5];
float fGPA;
};

struct student
{
char strCode[5];
float fGPA;
};
fGPA

fGPA

strCode[5];

ขนาดพื้นที่หน่วยความจาของ struct

strCode[5];

ขนาดพื้นที่หน่วยความจาของ Union

จากรูปจะเห็นได้ว่า ขนาดของ struct จะมีขนาดเท่ากับขนาดสมาชิกแต่ละตัวรวมกัน
ส่วนขนาดของยูเนียนจะมีขนาดเท่ากับขนาดของสมาชิกที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
เราสามารถใช้งานยูเนียนได้โดยมีรูปแบบการประกาศ ดังนี้

union unionName
{
type_1 varName_1;
type_2 varName_2;
type_n varName_n;
};
โดยที่
unionName
เป็นชื่อของตัวแปรรูปแบบ union
type_n
เป็นชื่อชนิดข้อมูลของสมาชิกแต่ละตัวของ union
varName_n เป็นชื่อสมาชิกแต่ละตัวของ union
ค่าคงที่ enum (Enumeration Constans)
enum เป็นค่าคงที่อีกรูปแบบหนึ่งของภาษา C โดยมีลักษณะการ
จัดเก็บข้อมูลเป็นชุด โดยสมาชิกแต่ละตัวเป็นชนิดข้อมูลเดียวกันเรียงต่อ
กัน ซึ่งอ้างอิงตาแหน่งข้อมูลด้วยอินเด็กซ์ (index) เหมือนอาร์เรย์ คือ
แต่ละตาแหน่งเพิ่มขึ้น 1 ค่า ซึ่งมีรูปแบบการกาหนดข้อมูลชนิด enum
ดังนี้ enum enumName
{
Data_1;
Data_2;
Data_n;
};
โดยที่
enumName
Data_n

เป็นชื่อของ enum
เป็นข้อมูลแต่ละตัวของ enum

เหนื่อย

ก็
นัก

พักก่อน
请尊重作者劳动成果
转载请注明出处:
www.378700000.com

More Related Content

What's hot

แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลShengyou Lin
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลchanoot29
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5Nuanlaor Nuan
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำSsab Sky
 

What's hot (8)

แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูลแนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
แนวคิดแผนภาพกระแสข้อมูล
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุลงานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
งานนำเสนอ การจัดการฐานข้อมุล
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
นวลลออ ถาวรโรจน์เสถียร เลขที่20 ม.5
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Viewers also liked

ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบสตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบสrubtumproject.com
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)Patchara Wioon
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์waradakhantee
 
โครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลโครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลkorn27122540
 
สแตกและคิว (Stack & queue)
สแตกและคิว (Stack & queue)สแตกและคิว (Stack & queue)
สแตกและคิว (Stack & queue)tumetr
 

Viewers also liked (6)

ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบสตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
ตัวอย่างการออกแบบบดาต้าเบส
 
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
โครงสร้างข้อมูล(พัชรา P)
 
Array
ArrayArray
Array
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
 
โครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลโครงสร้างข้อมูล
โครงสร้างข้อมูล
 
สแตกและคิว (Stack & queue)
สแตกและคิว (Stack & queue)สแตกและคิว (Stack & queue)
สแตกและคิว (Stack & queue)
 

Similar to งานทำ Blog บทที่ 11

Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft accesskomolpalin
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3nunzaza
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนsariya25
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลskiats
 
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานtapabnum
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นTua Tor
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลสุจิตรา แสงเรือง
 

Similar to งานทำ Blog บทที่ 11 (20)

Lab Chapter7 Structure And Function
Lab Chapter7 Structure And FunctionLab Chapter7 Structure And Function
Lab Chapter7 Structure And Function
 
it-06-50
it-06-50it-06-50
it-06-50
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3
33
3
 
SA Chapter 9
SA Chapter 9SA Chapter 9
SA Chapter 9
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
ฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอนฐานข้อมูลนะสอน
ฐานข้อมูลนะสอน
 
K3
K3K3
K3
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูลสถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
สถาปัตยกรรมฐานข้อมูล
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
K3
K3K3
K3
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้นคลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกรัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ3.8 การทำงานแบบลำดับ
3.8 การทำงานแบบลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน3.6 ฟังก์ชัน
3.6 ฟังก์ชัน
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 

งานทำ Blog บทที่ 11