SlideShare a Scribd company logo
Boesenbergia pandurata (Roxb.) Schltr. Zingiber zerumbet (L.) Roscoe ex Sm. Rhodomyrtus tomentosa (Aiton) Hassk.
Sandoricum indicum Cav. Mitragyna speciosa (Korth.) Havil. Eclipta prostrata (L.) L.
Murraya paniculata (L.) Jack Curcuma longa L. Curcuma zedoaria (Christm.) Roscoe
Alpinia galanga (L.) Willd. Walsura robusta Roxb. Pluchea indica (L.) Less.
Vitex trifolia L. Dracaena loureiroi (Lour.) Gagnep. Piper sarmentosum Roxb.
Camellia sinensis (L.) Kuntze Cassia alata L. Piper chaba Hunter
Coccinia grandis (L.) Voigt Derris scandens (Roxb.) Benth.
Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm. Impatiens balsamina L. Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer
Euphorbia thymifolia L. Pteridrys syrmatica (Willd.) C. Chr. & Ching Centella asiatica (L.) Urb.
Quercus infectoria Olivier Millingtonia hortensis L. f. Spilanthes acmella (L.) L.
Punica granatum L.
Coriandrum sativum L. Psidium guajava L. Alstonia scholaris (L.) R. Br.
Piper nigrum L. Piper betle L. Ardisia colorata Roxb.
Oroxylum indicum (L.) Benth. ex Kurz Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall. ex Nees Asclepias curassavica L.
Tamarindus indica L. Aegle marmelos (L.) Corrêa Momordica charantia L.
Garcinia mangostana L. Wrightia tomentosa (Roxb.) Roem. & Schult. Holarrhena antidysenterica (L.) Wall. ex A. DC.
Mimosa pudica L. Morinda citrifolia L. Brucea javanica (L.) Merr.
Phyllanthus amarus Schumach. & Thonn.
Terminalia chebula Retz.
Quisqualis indicaL.
Acacia catechu (L. f.) Willd.
Eleutherine americana Merr. Desmos chinensis Lour.
Adhatoda vasica Nees Barleria lupulina Lindl.
Acanthus ebracteatus Vahl Blumea balsamifera (L.) DC. Cinnamomum spp.
Gynura pseudochina (L.) D.C.
1
กระชาย
ชื่อวิทยาศาสตร์	 Boesenbergia pandurata (Roxb.) Schltr.
ชื่อวงศ์	 Zingiberaceae
ชื่อสามัญ	 Fingerroot, Krachai
ชื่อท้องถิ่น	 กะชายกะแอนกระชายด�ำขิงทรายชี้พู้ซีพูโป้ตาวอเป๊าะซอเร๊าะเป๊าะสี่ละแอน
		 ว่านพระอาทิตย์
การปลูกและการขยายพันธุ์
ชอบดินปนทราย ปลูกได้ทั่วไป โดยใช้เหง้าฝังใต้ดิน รดน�้ำให้ชุ่มเฉพาะระยะแรก
ของการปลูกเท่านั้นต่อไปไม่จ�ำเป็นต้องรดน�้ำและไม่ต้องฉีดยาเพราะไม่มีโรคหรือ
แมลงรบกวน
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ดอก :		 ออกเป็นช่อระหว่างกาบใบที่โคนต้น กลีบดอกสีขาวอมชมพู
ต้น :		 พืชล้มลุก สูง 30-80 ซม.
ใบ :		 ใบเดี่ยว รูปรีปลายแหลม สีม่วงแดง เรียงสลับเป็นระนาบเดียวกัน กว้าง 5-10 ซม.
		 ยาว 13-15 ซม.
เหง้า :		 เหง้าสีน�้ำตาลแตกออกเป็นกระจุก อวบน�้ำ ตรงกลางพองกว่าส่วนหัวและท้าย
สารส�ำคัญ	 alpinetin,cadamonin,camphene,camphor,dihydro-5,6-dehydrokawain,
geraniol, helichrysetin, hydroxypanduratin A, methylcinnamate,
ß-ocimene, panduratins A, piocembrin, pinostrobin, sakuranetin,
2',4',6'-trihydroxyhydrochacone, uvangoletin
	
ส่วนที่ใช้เป็นยา	
เหง้า :		 แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้ท้องเสีย รักษาล�ำไส้ใหญ่อักเสบ รักษาโรคงูสวัด รักษาโรค
		 ในช่องปาก ขับระดูขาว ขับปัสสาวะ บ�ำรุงหัวใจ
2
ภาพที่ 1 ส่วนต่าง ๆ ของกระชาย
ลักษณะเหง้า ราก และล�ำต้น
ของกระชาย
ดอกของกระชาย เหง้าและรากของกระชาย
ต้นกระชายดอกกระชาย
3
ตารางที่ 1 ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของสารสกัดและสารส�ำคัญจากส่วนต่าง ๆ ของกระชาย
เชื้อจุลินทรีย์	 สารสกัด/	 ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์	 เอกสารอ้างอิง
	 สารส�ำคัญ
แบคทีเรียกรัมบวก			
Bacillus cereus	 เหง้าc
	 MIC/MBC 	 Voravuthikunchai
		 0.01/0.02 มก./มล.	 และคณะ (2006)
	 เหง้าe,w
	 MIC 12.5 มก./มล.	 Norajit และคณะ
			 (2007)
	 เหง้าpe
	 โซนยับยั้ง 12 มม.	 Norajit และคณะ
		 (100 มก./มล.)	 (2007)	
Bacillus licheniformis	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Phattayakorn และ
		 (5 มก./หลุม)	 Wanchaitanawong
			 (2009)
Listeria monocytogenes 	 เหง้าe,w
	 MIC 6.25 มก./มล.	 Norajit และคณะ
			 (2007)
	 เหง้าh,i
	 MIC 0.1-0.2%	 Thongson และคณะ
		 (ปริมาตร/ปริมาตร)	 (2004) 			
	 เหง้าpe
	 โซนยับยั้ง 13 มม.	 Norajit และคณะ 		
		 (100 มก./มล.)	 (2007)
Methicillin-resistant 	 เหง้าc
	 MIC/MBC	 Voravuthikunchai
Staphylococcus aureus		 0.01/3.13 มก./มล.	 และคณะ (2006)
	 เหง้าc,m
	 โซนยับยั้ง 10 มม.	 Voravuthikunchai
		 (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา)	 และคณะ (2005)
	 เหง้าe
	 โซนยับยั้ง 9-11 มม.	 Voravuthikunchai
		 (2.5 มก./แผ่นยา)	 และคณะ (2004b)
	 เหง้าw
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา)	 และคณะ (2005)		
Staphylococcus aureus	 เหง้าc
	 MIC/MBC 	 Voravuthikunchai
		 0.01/6.25 มก./มล.	 และคณะ (2006)
	 เหง้าc,m
	 โซนยับยั้ง 10-11 มม.	 Voravuthikunchai
		 (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา)	 และคณะ (2005)
4
เชื้อจุลินทรีย์	 สารสกัด/	 ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์	 เอกสารอ้างอิง
	 สารส�ำคัญ
	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (2.5 มก./แผ่นยา)	 และคณะ (2004b)
	 เหง้าe,w
	 MIC 12.5 มก./มล.	 Norajit และคณะ
			 (2007)
	 เหง้าpe
	 โซนยับยั้ง 14 มม.	 Norajit และคณะ
		 (100 มก./มล.)	 (2007)
	 เหง้าw
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา)	 และคณะ (2005)
Streptococcus mutans	 เหง้าc,m
	 โซนยับยั้ง 8 มม.	 Voravuthikunchai
		 (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา)	 และคณะ (2005)
	 เหง้าw
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา)	 และคณะ (2005)
Streptococcus pyogenes	 เหง้าc
	 MIC 7.81 ไมโครกรัม/มล.	 Limsuwan และ
			 Voravuthikunchai
			 (2008)
แบคทีเรียกรัมลบ			
Enterobacter cloacae	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Phattayakorn และ
		 (5 มก./หลุม)	 Wanchaitanawong
			 (2009)
Escherichia coli	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (2.5 มก./แผ่นยา)	 และคณะ (2004a)
	 เหง้าe,pe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Norajit และคณะ (2007)
		 (100 มก./มล.)	
	 เหง้าw
	 MIC 50 มก./มล.	 Norajit และคณะ (2007)
Escherichia coli O157:H7	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (2.5 มก./แผ่นยา)	 และคณะ (2004a)
Klebsiella pneumoniae	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Phattayakorn และ
		 (5 มก./หลุม)	 Wanchaitanawong
			 (2009)
5
เชื้อจุลินทรีย์	 สารสกัด/	 ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์	 เอกสารอ้างอิง
	 สารส�ำคัญ
Pseudomonas aeruginosa	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (2.5 มก./แผ่นยา)	 และคณะ (2004)
Salmonella Typhi	 เหง้าc,w
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา)	 และคณะ (2005)
	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (2.5 มก./แผ่นยา)	 และคณะ (2004b)
	 เหง้าm
	 โซนยับยั้ง 8 มม.	 Voravuthikunchai
		 (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา)	 และคณะ (2005)
Shigella sonnei	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Voravuthikunchai
		 (2.5 มก./แผ่นยา)	 และคณะ (2004b)
ยีสต์		 	
Candida albicans	 เหง้าc,m
	 MIC >512 ไมโครกรัม/มล.	 Phongpaichit
			 และคณะ (2005)
Candida lusitaniae	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Phattayakorn และ
		 (5 มก./หลุม)	 Wanchaitanawong
			 (2009)
Candida tropicalis	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Phattayakorn และ
		 (5 มก./หลุม)	 Wanchaitanawong
			 (2009)
Cryptococcus neoformans	เหง้าc,m
	 MIC 	 Phongpaichit
		 64-128 ไมโครกรัม/มล.	 และคณะ (2005)
Saccharomyces cerevisiae	 เหง้าes
	 โซนยับยั้ง 21 มม.	 Jantan และคณะ		
		 (ไม่ระบุความเข้มข้น)	 (2003)
Trichosporon mucoides	 เหง้าe
	 ไม่มีโซนยับยั้ง	 Phattayakorn และ
		 (5 มก./หลุม)	 Wanchaitanawong
			 (2009)
6
เชื้อจุลินทรีย์	 สารสกัด/	 ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์	 เอกสารอ้างอิง
	 สารส�ำคัญ
รา	 		
Aspergillus fumigatus	 เหง้าes
	 MIC 1-1.25 ไมโครกรัม/มล.	 Jantan และคณะ
			 (2003)
Aspergillus niger	 เหง้าes
	 MIC 1-1.25 ไมโครกรัม/มล.	 Jantan และคณะ
			 (2003)
Epidermophyton floccosum	 เหง้าes
	 MIC 1-2.5 ไมโครกรัม/มล.	 Jantan และคณะ
			 (2003)
Microsporum gypseum	 เหง้าc
	 MIC 64 ไมโครกรัม/มล.	 Phongpaichit 		
			 และคณะ (2005)
Mucor spp.	 เหง้าes
	 MIC 0.63-1 ไมโครกรัม/มล.	 Jantan และคณะ
			 (2003)
Trichophyton rubrum	 เหง้าes
	 MIC 1-2.5 ไมโครกรัม/มล.	 Jantan และคณะ
			 (2003)			
ปรสิต			
Entamoeba histolytica	 เหง้าc
	 IC50 45.8 ไมโครกรัม/มล.	 Sawangjaroen
			 และคณะ (2006)
Giardia intestinalis	 เหง้าc,m
	 MIC 250 ไมโครกรัม/มล.	 Sawangjaroen
			 และคณะ (2005)
	 เหง้าw
	 MIC >1,000 ไมโครกรัม/มล.	 Sawangjaroen
			 และคณะ (2005)
ไวรัส		 	
HIV type 1 	 เหง้าc
	 ยับยั้ง 51%	 Tewtrakul และคณะ
(HIV-1 integrase)		 (100 ไมโครกรัม/มล.)	 (2006)
	 เหง้าm,w
	 ยับยั้ง 13-29%	 Tewtrakul และคณะ
		 (100 ไมโครกรัม/มล.)	 (2006)			
HIV type 1	 compound	 IC50 >100 ไมโครโมล/ล.	 Cheenpracha
(HIV-1 protease)	 1, 4-7		 และคณะ (2006)
7
เชื้อจุลินทรีย์	 สารสกัด/	 ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์	 เอกสารอ้างอิง
	 สารส�ำคัญ
	 compound 2	 IC50 18.7 ไมโครโมล/ล.	 Cheenpracha
			 และคณะ (2006)
	 compound 3	 IC50 5.6 ไมโครโมล/ล.	 Cheenpracha
			 และคณะ (2006)
Japanese encephalitis virus	 compound 8	 ยับยั้ง flaviviral 	 Seniya และคณะ
		 NS2B/NS3 protease	 (2013)
		
สารตัวท�ำละลายที่ใช้ในการสกัด : c = คลอโรฟอร์ม; e = เอทานอล; es = น�้ำมันหอมระเหย; h = เฮกเซน;
i = ไอโซโพรพานอล; m = เมทานอล; pe = ปิโตรเลียมอีเทอร์; w = น�้ำ
สารส�ำคัญ:compound 1=panduratin C;compound 2=panduratin A;compound 3=hydroxypanduratin
A; compound 4 = helichrysetin; compound 5 = 2',4',6'-trihydroxyhydrochalcone; compound 6 =
uvangoletin; compound 7 = cardamonin; compound 8 = 4-hydroxypanduratin A
สรุป
	 น�้ำมันหอมระเหยที่สกัดจากเหง้ากระชายมีฤทธิ์ดีมากในการต้านเชื้อรา ได้แก่ Aspergillus
fumigatus, Aspergillus niger, Epidermophyton floccosum, Mucor spp. และ Trichophyton
rubrum โดยมีค่า MIC อยู่ในช่วง 1-1.25 ไมโครกรัม/มล. (Jantan และคณะ, 2003) ส่วนเหง้าที่สกัด
ด้วยเอทานอลพบว่ามีฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคกรัมบวกได้ดีกว่าแบคทีเรียกรัมลบ เช่น
Bacillus cereus, methicillin-resistant Staphylococcus aureus, Staphylococcus aureus
และStreptococcus pyogenes โดยมีค่าMIC อยู่ในช่วง7.81-10ไมโครกรัม/มล.(Voravuthikunchai
และคณะ, 2006; Limsuwan และ Voravuthikunchai, 2008) นอกจากนี้ สารสกัดดังกล่าวยังมีฤทธิ์
ที่ดีในการต้านเชื้อราสาเหตุโรคกลาก (Microsporum gypseum) และปรสิตสาเหตุของโรคท้องร่วง
(Entamoeba histolytica)โดยมีค่าMIC เท่ากับ64ไมโครกรัม/มล.(Phongpaichit และคณะ,2005)
และ IC50 เท่ากับ 45.8 ไมโครกรัม/มล. (Sawangjaroen และคณะ, 2006) ตามล�ำดับ นอกจากนี้
panduratin A และ hydroxypanduratin A ซึ่งเป็นสารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากเหง้ากระชายมีฤทธิ์ดี
ในการต้านเชื้อไวรัส HIV type 1 โดยมีค่า IC50 อยู่ในช่วง 5.6-18.7 ไมโครโมล/ล. (Cheenpracha
และคณะ, 2006) ส่วนสารสกัดและสารบริสุทธิ์จากเหง้ากระชายที่สกัดด้วยตัวท�ำละลายชนิดอื่น
พบว่ามีฤทธิ์ในการต้านเชื้อจุลินทรีย์ได้ในระดับต�่ำ-ไม่มีฤทธิ์ (มีค่า MIC >1,000 ไมโครกรัม/มล. หรือ
มีค่าโซนยับยั้ง <20 มม.)
8
เอกสารอ้างอิง
1.	 Cheenpracha S, Karalai C, Ponglimanont C, Subhadhirasakul S, Tewtrakul S. 2006.
	 Anti-HIV-1protease activity of compounds from Boesenbergia pandurata.Bioorganic
	 and Medicinal Chemistry 14: 1710-1714.
2.	 Jantan IB, Yassin MSM, Chin CB, Chen LL, Sim NL. 2003. Antifungal activity of the
	 essential oils of nine Zingiberaceae species. Pharmaceutical Biology 41: 392-397.
3.	 Limsuwan S, Voravuthikunchai SP. 2008. Boesenbergia pandurata (Roxb.) Schltr.,
	 Eleutherine americana Merr.and Rhodomyrtus tomentosa (Aiton)Hassk.as antibiofilm
	 producing and antiquorum sensing in Streptococcus pyogenes. FEMS Immunology
	 and Medical Microbiology 53: 429-436.
4.	 Norajit K, Laohakunjit N, Kerdchoechuen O. 2007. Antibacterial effect of five
	 Zingiberaceae essential oils. Molecules 12: 2047-2060.
5.	 Phattayakorn K,Wanchaitanawong P.2009.Antimicrobial activity of Thai herb extracts
	 against coconut milk spoilage microorganisms. Kasetsart Journal: Natural Science
	 43: 752-759.
6.	 Phongpaichit S,Subhadhirasakul S,Wattanapiromsakul C.2005.Antifungal activities
	 of extracts from Thai medicinal plants against opportunistic fungal pathogens
	 associated with AIDS patients. Mycoses 48: 333-338.
7.	 Sawangjaroen N, Subhadhirasakul S, Phongpaichit S, Siripanth C, Jamjaroen K,
	 Sawangjaroen K. 2005. The in vitro anti-giardial activity of extracts from plants that
	 are used for self-medication by AIDS patients in southern Thailand. Parasitology
	 Research 95: 17-21.
8.	 Sawangjaroen N, Phongpaichit S, Subhadhirasakul S, Visutthi M, Srisuwan N,
	 Thammapalerd N. 2006. The anti-amoebic activity of some medicinal plants used
	 by AIDS patients in southern Thailand. Parasitology Research 98: 588-592.
9.	 Seniya C, Mishra H, Yadav A, Sagar N, Chaturvedi B, Uchadia K, Wadhwa G. 2013.
	 Antiviral potential of 4-hydroxypanduratin A, secondary metabolite of fingerroot,
	 Boesenbergia pandurata (Schult.), towards Japanese encephalitis virus NS2B/NS3
	 protease. Bioinformation 9: 54-60.
9
10.	Tewtrakul S, Subhadhirasakul S, Summee S. 2006. Anti-HIV-1 integrase activity of
	 medicinal plants used as self medication by AIDS patients. Songklanakarin Journal
	 of Science and Technology 28: 785-790.
11.	Thongson C,Davidson PM,Mahakarnchanakul W,Weiss J.2004.Antimicrobial activity
	 of ultrasound-assisted solvent-extracted spices. Letters in Applied Microbiology
	 39: 401-406.
12.	Voravuthikunchai SP,Limsuwan S,Supapol O,Subhadhirasakul S.2006.Antibacterial
	 activity of extracts from family Zingiberaceae against foodborne pathogens.Journal
	 of Food Safety 26: 325-334.
13.	Voravuthikunchai SP,Lortheeranuwat A,Jeeju W,Sririrak T,Phongpaichit S,Supawita
	 T. 2004a. Effective medicinal plants against enterohaemorrhagic Escherichia coli
	 O157:H7. Journal of Ethnopharmacology 94: 49-54.
14.	Voravuthikunchai SP, Phongpaichit S, Subhadhirasakul S. 2005. Evaluation of
	 antibacterial activity of medicinal plants widely used among AIDS patients in Thailand.
	 Pharmaceutical Biology 43: 701-706.
15.	Voravuthikunchai SP, Popaya V, Supawita T. 2004b. Antibacterial activity of crude
	 extracts of medicinal plants used in Thailand against pathogenic bacteria.
	 Ethnopharmacologia 33: 60-70.
10
กระทือ
ชื่อวิทยาศาสตร์	 Zingiber zerumbet (L.) Roscoe ex Sm.
ชื่อวงศ์	 Zingiberaceae
ชื่อสามัญ	 Broad-leaved ginger, Ginger, Pinecone ginger, Pine cone ginger,
		 Shampoo ginger, Wild ginger, Zerumbet ginger
ชื่อท้องถิ่น	 กะแวน กะแอน กระทือป่า เปลเพ้อ แสมด�ำ แฮวด�ำ เฮียวแดง เฮียวด�ำ
การปลูกและการขยายพันธุ์
พบได้ทั่วไปใช้เหง้าในการขยายพันธุ์โดยตัดใบออกให้เหลือประมาณ15ซม.ปลูก
ลึกประมาณ 10 ซม. รดน�้ำให้ชุ่มจนกว่าจะแตกใบใหม่
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
ดอก :		 ลักษณะเป็นช่อรูปทรงกระบอกแทงจากใต้ดินกลีบดอกสีขาวหรือสีแดงใบประดับ
		 สีเขียวแกมแดง
ต้น :		 ไม้ล้มลุก สูง 1-1.5 ม.
ใบ :		 ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปหอก ปลายแหลม ขอบเรียบ กว้าง 5-7 ซม. ยาว 20-30 ซม.
เหง้า :		 เหง้าใต้ดิน เปลือกนอกสีน�้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีเหลืองอ่อนและมีกลิ่นหอม
สารส�ำคัญ 	 camphene,camphor,ß-caryophyllene,1,8-cineol,curzerenone,diferuloyl
methane, di-p-coumaroylmethane, feruoyl-p-coumaroyl, ß-humulene,
p-hydroxybenzaldehyde, isoborneol, kaempferols, linalool, stigmast-
4-en-3-one, vanillin, zerumbone, zerumbone epoxide
ส่วนที่ใช้เป็นยา
ดอก :		 แก้ไข้เรื้อรัง แก้ลม รักษาโรคผอมแห้ง บ�ำรุงธาตุ
ต้น :	 	 แก้ไข้ ช่วยเจริญอาหาร
ใบ :		 ขับเลือด
ราก :		 แก้ไข้ แก้เคล็ดขัดยอก
ล�ำต้น :	 ช่วยเจริญอาหาร
เหง้า :		 แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้จุกเสียด แก้ปวดท้อง แก้ฝี ขับปัสสาวะ ขับลม บ�ำรุงน�้ำนม
		 บ�ำรุงธาตุ บ�ำรุงก�ำลัง ช่วยเจริญอาหาร

More Related Content

Similar to 9789740336129

Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guide
Kaow Jaow
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
sms_msn_
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
Rachanont Hiranwong
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Technology Innovation Center
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
pitsanu duangkartok
 

Similar to 9789740336129 (9)

Pharmacy guide
Pharmacy guidePharmacy guide
Pharmacy guide
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
Postharvest Newsletter ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2557
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740336129

  • 1. Boesenbergia pandurata (Roxb.) Schltr. Zingiber zerumbet (L.) Roscoe ex Sm. Rhodomyrtus tomentosa (Aiton) Hassk. Sandoricum indicum Cav. Mitragyna speciosa (Korth.) Havil. Eclipta prostrata (L.) L. Murraya paniculata (L.) Jack Curcuma longa L. Curcuma zedoaria (Christm.) Roscoe Alpinia galanga (L.) Willd. Walsura robusta Roxb. Pluchea indica (L.) Less. Vitex trifolia L. Dracaena loureiroi (Lour.) Gagnep. Piper sarmentosum Roxb.
  • 2. Camellia sinensis (L.) Kuntze Cassia alata L. Piper chaba Hunter Coccinia grandis (L.) Voigt Derris scandens (Roxb.) Benth. Cinnamomum porrectum (Roxb.) Kosterm. Impatiens balsamina L. Peltophorum pterocarpum (DC.) Backer Euphorbia thymifolia L. Pteridrys syrmatica (Willd.) C. Chr. & Ching Centella asiatica (L.) Urb. Quercus infectoria Olivier Millingtonia hortensis L. f. Spilanthes acmella (L.) L. Punica granatum L.
  • 3. Coriandrum sativum L. Psidium guajava L. Alstonia scholaris (L.) R. Br. Piper nigrum L. Piper betle L. Ardisia colorata Roxb. Oroxylum indicum (L.) Benth. ex Kurz Andrographis paniculata (Burm. f.) Wall. ex Nees Asclepias curassavica L. Tamarindus indica L. Aegle marmelos (L.) Corrêa Momordica charantia L. Garcinia mangostana L. Wrightia tomentosa (Roxb.) Roem. & Schult. Holarrhena antidysenterica (L.) Wall. ex A. DC.
  • 4. Mimosa pudica L. Morinda citrifolia L. Brucea javanica (L.) Merr. Phyllanthus amarus Schumach. & Thonn. Terminalia chebula Retz. Quisqualis indicaL. Acacia catechu (L. f.) Willd. Eleutherine americana Merr. Desmos chinensis Lour. Adhatoda vasica Nees Barleria lupulina Lindl. Acanthus ebracteatus Vahl Blumea balsamifera (L.) DC. Cinnamomum spp. Gynura pseudochina (L.) D.C.
  • 5. 1 กระชาย ชื่อวิทยาศาสตร์ Boesenbergia pandurata (Roxb.) Schltr. ชื่อวงศ์ Zingiberaceae ชื่อสามัญ Fingerroot, Krachai ชื่อท้องถิ่น กะชายกะแอนกระชายด�ำขิงทรายชี้พู้ซีพูโป้ตาวอเป๊าะซอเร๊าะเป๊าะสี่ละแอน ว่านพระอาทิตย์ การปลูกและการขยายพันธุ์ ชอบดินปนทราย ปลูกได้ทั่วไป โดยใช้เหง้าฝังใต้ดิน รดน�้ำให้ชุ่มเฉพาะระยะแรก ของการปลูกเท่านั้นต่อไปไม่จ�ำเป็นต้องรดน�้ำและไม่ต้องฉีดยาเพราะไม่มีโรคหรือ แมลงรบกวน ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ดอก : ออกเป็นช่อระหว่างกาบใบที่โคนต้น กลีบดอกสีขาวอมชมพู ต้น : พืชล้มลุก สูง 30-80 ซม. ใบ : ใบเดี่ยว รูปรีปลายแหลม สีม่วงแดง เรียงสลับเป็นระนาบเดียวกัน กว้าง 5-10 ซม. ยาว 13-15 ซม. เหง้า : เหง้าสีน�้ำตาลแตกออกเป็นกระจุก อวบน�้ำ ตรงกลางพองกว่าส่วนหัวและท้าย สารส�ำคัญ alpinetin,cadamonin,camphene,camphor,dihydro-5,6-dehydrokawain, geraniol, helichrysetin, hydroxypanduratin A, methylcinnamate, ß-ocimene, panduratins A, piocembrin, pinostrobin, sakuranetin, 2',4',6'-trihydroxyhydrochacone, uvangoletin ส่วนที่ใช้เป็นยา เหง้า : แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้ท้องเสีย รักษาล�ำไส้ใหญ่อักเสบ รักษาโรคงูสวัด รักษาโรค ในช่องปาก ขับระดูขาว ขับปัสสาวะ บ�ำรุงหัวใจ
  • 6. 2 ภาพที่ 1 ส่วนต่าง ๆ ของกระชาย ลักษณะเหง้า ราก และล�ำต้น ของกระชาย ดอกของกระชาย เหง้าและรากของกระชาย ต้นกระชายดอกกระชาย
  • 7. 3 ตารางที่ 1 ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของสารสกัดและสารส�ำคัญจากส่วนต่าง ๆ ของกระชาย เชื้อจุลินทรีย์ สารสกัด/ ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ เอกสารอ้างอิง สารส�ำคัญ แบคทีเรียกรัมบวก Bacillus cereus เหง้าc MIC/MBC Voravuthikunchai 0.01/0.02 มก./มล. และคณะ (2006) เหง้าe,w MIC 12.5 มก./มล. Norajit และคณะ (2007) เหง้าpe โซนยับยั้ง 12 มม. Norajit และคณะ (100 มก./มล.) (2007) Bacillus licheniformis เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Phattayakorn และ (5 มก./หลุม) Wanchaitanawong (2009) Listeria monocytogenes เหง้าe,w MIC 6.25 มก./มล. Norajit และคณะ (2007) เหง้าh,i MIC 0.1-0.2% Thongson และคณะ (ปริมาตร/ปริมาตร) (2004) เหง้าpe โซนยับยั้ง 13 มม. Norajit และคณะ (100 มก./มล.) (2007) Methicillin-resistant เหง้าc MIC/MBC Voravuthikunchai Staphylococcus aureus 0.01/3.13 มก./มล. และคณะ (2006) เหง้าc,m โซนยับยั้ง 10 มม. Voravuthikunchai (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา) และคณะ (2005) เหง้าe โซนยับยั้ง 9-11 มม. Voravuthikunchai (2.5 มก./แผ่นยา) และคณะ (2004b) เหง้าw ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา) และคณะ (2005) Staphylococcus aureus เหง้าc MIC/MBC Voravuthikunchai 0.01/6.25 มก./มล. และคณะ (2006) เหง้าc,m โซนยับยั้ง 10-11 มม. Voravuthikunchai (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา) และคณะ (2005)
  • 8. 4 เชื้อจุลินทรีย์ สารสกัด/ ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ เอกสารอ้างอิง สารส�ำคัญ เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (2.5 มก./แผ่นยา) และคณะ (2004b) เหง้าe,w MIC 12.5 มก./มล. Norajit และคณะ (2007) เหง้าpe โซนยับยั้ง 14 มม. Norajit และคณะ (100 มก./มล.) (2007) เหง้าw ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา) และคณะ (2005) Streptococcus mutans เหง้าc,m โซนยับยั้ง 8 มม. Voravuthikunchai (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา) และคณะ (2005) เหง้าw ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา) และคณะ (2005) Streptococcus pyogenes เหง้าc MIC 7.81 ไมโครกรัม/มล. Limsuwan และ Voravuthikunchai (2008) แบคทีเรียกรัมลบ Enterobacter cloacae เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Phattayakorn และ (5 มก./หลุม) Wanchaitanawong (2009) Escherichia coli เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (2.5 มก./แผ่นยา) และคณะ (2004a) เหง้าe,pe ไม่มีโซนยับยั้ง Norajit และคณะ (2007) (100 มก./มล.) เหง้าw MIC 50 มก./มล. Norajit และคณะ (2007) Escherichia coli O157:H7 เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (2.5 มก./แผ่นยา) และคณะ (2004a) Klebsiella pneumoniae เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Phattayakorn และ (5 มก./หลุม) Wanchaitanawong (2009)
  • 9. 5 เชื้อจุลินทรีย์ สารสกัด/ ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ เอกสารอ้างอิง สารส�ำคัญ Pseudomonas aeruginosa เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (2.5 มก./แผ่นยา) และคณะ (2004) Salmonella Typhi เหง้าc,w ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา) และคณะ (2005) เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (2.5 มก./แผ่นยา) และคณะ (2004b) เหง้าm โซนยับยั้ง 8 มม. Voravuthikunchai (250 ไมโครกรัม/แผ่นยา) และคณะ (2005) Shigella sonnei เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Voravuthikunchai (2.5 มก./แผ่นยา) และคณะ (2004b) ยีสต์ Candida albicans เหง้าc,m MIC >512 ไมโครกรัม/มล. Phongpaichit และคณะ (2005) Candida lusitaniae เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Phattayakorn และ (5 มก./หลุม) Wanchaitanawong (2009) Candida tropicalis เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Phattayakorn และ (5 มก./หลุม) Wanchaitanawong (2009) Cryptococcus neoformans เหง้าc,m MIC Phongpaichit 64-128 ไมโครกรัม/มล. และคณะ (2005) Saccharomyces cerevisiae เหง้าes โซนยับยั้ง 21 มม. Jantan และคณะ (ไม่ระบุความเข้มข้น) (2003) Trichosporon mucoides เหง้าe ไม่มีโซนยับยั้ง Phattayakorn และ (5 มก./หลุม) Wanchaitanawong (2009)
  • 10. 6 เชื้อจุลินทรีย์ สารสกัด/ ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ เอกสารอ้างอิง สารส�ำคัญ รา Aspergillus fumigatus เหง้าes MIC 1-1.25 ไมโครกรัม/มล. Jantan และคณะ (2003) Aspergillus niger เหง้าes MIC 1-1.25 ไมโครกรัม/มล. Jantan และคณะ (2003) Epidermophyton floccosum เหง้าes MIC 1-2.5 ไมโครกรัม/มล. Jantan และคณะ (2003) Microsporum gypseum เหง้าc MIC 64 ไมโครกรัม/มล. Phongpaichit และคณะ (2005) Mucor spp. เหง้าes MIC 0.63-1 ไมโครกรัม/มล. Jantan และคณะ (2003) Trichophyton rubrum เหง้าes MIC 1-2.5 ไมโครกรัม/มล. Jantan และคณะ (2003) ปรสิต Entamoeba histolytica เหง้าc IC50 45.8 ไมโครกรัม/มล. Sawangjaroen และคณะ (2006) Giardia intestinalis เหง้าc,m MIC 250 ไมโครกรัม/มล. Sawangjaroen และคณะ (2005) เหง้าw MIC >1,000 ไมโครกรัม/มล. Sawangjaroen และคณะ (2005) ไวรัส HIV type 1 เหง้าc ยับยั้ง 51% Tewtrakul และคณะ (HIV-1 integrase) (100 ไมโครกรัม/มล.) (2006) เหง้าm,w ยับยั้ง 13-29% Tewtrakul และคณะ (100 ไมโครกรัม/มล.) (2006) HIV type 1 compound IC50 >100 ไมโครโมล/ล. Cheenpracha (HIV-1 protease) 1, 4-7 และคณะ (2006)
  • 11. 7 เชื้อจุลินทรีย์ สารสกัด/ ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ เอกสารอ้างอิง สารส�ำคัญ compound 2 IC50 18.7 ไมโครโมล/ล. Cheenpracha และคณะ (2006) compound 3 IC50 5.6 ไมโครโมล/ล. Cheenpracha และคณะ (2006) Japanese encephalitis virus compound 8 ยับยั้ง flaviviral Seniya และคณะ NS2B/NS3 protease (2013) สารตัวท�ำละลายที่ใช้ในการสกัด : c = คลอโรฟอร์ม; e = เอทานอล; es = น�้ำมันหอมระเหย; h = เฮกเซน; i = ไอโซโพรพานอล; m = เมทานอล; pe = ปิโตรเลียมอีเทอร์; w = น�้ำ สารส�ำคัญ:compound 1=panduratin C;compound 2=panduratin A;compound 3=hydroxypanduratin A; compound 4 = helichrysetin; compound 5 = 2',4',6'-trihydroxyhydrochalcone; compound 6 = uvangoletin; compound 7 = cardamonin; compound 8 = 4-hydroxypanduratin A สรุป น�้ำมันหอมระเหยที่สกัดจากเหง้ากระชายมีฤทธิ์ดีมากในการต้านเชื้อรา ได้แก่ Aspergillus fumigatus, Aspergillus niger, Epidermophyton floccosum, Mucor spp. และ Trichophyton rubrum โดยมีค่า MIC อยู่ในช่วง 1-1.25 ไมโครกรัม/มล. (Jantan และคณะ, 2003) ส่วนเหง้าที่สกัด ด้วยเอทานอลพบว่ามีฤทธิ์ในการต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคกรัมบวกได้ดีกว่าแบคทีเรียกรัมลบ เช่น Bacillus cereus, methicillin-resistant Staphylococcus aureus, Staphylococcus aureus และStreptococcus pyogenes โดยมีค่าMIC อยู่ในช่วง7.81-10ไมโครกรัม/มล.(Voravuthikunchai และคณะ, 2006; Limsuwan และ Voravuthikunchai, 2008) นอกจากนี้ สารสกัดดังกล่าวยังมีฤทธิ์ ที่ดีในการต้านเชื้อราสาเหตุโรคกลาก (Microsporum gypseum) และปรสิตสาเหตุของโรคท้องร่วง (Entamoeba histolytica)โดยมีค่าMIC เท่ากับ64ไมโครกรัม/มล.(Phongpaichit และคณะ,2005) และ IC50 เท่ากับ 45.8 ไมโครกรัม/มล. (Sawangjaroen และคณะ, 2006) ตามล�ำดับ นอกจากนี้ panduratin A และ hydroxypanduratin A ซึ่งเป็นสารบริสุทธิ์ที่แยกได้จากเหง้ากระชายมีฤทธิ์ดี ในการต้านเชื้อไวรัส HIV type 1 โดยมีค่า IC50 อยู่ในช่วง 5.6-18.7 ไมโครโมล/ล. (Cheenpracha และคณะ, 2006) ส่วนสารสกัดและสารบริสุทธิ์จากเหง้ากระชายที่สกัดด้วยตัวท�ำละลายชนิดอื่น พบว่ามีฤทธิ์ในการต้านเชื้อจุลินทรีย์ได้ในระดับต�่ำ-ไม่มีฤทธิ์ (มีค่า MIC >1,000 ไมโครกรัม/มล. หรือ มีค่าโซนยับยั้ง <20 มม.)
  • 12. 8 เอกสารอ้างอิง 1. Cheenpracha S, Karalai C, Ponglimanont C, Subhadhirasakul S, Tewtrakul S. 2006. Anti-HIV-1protease activity of compounds from Boesenbergia pandurata.Bioorganic and Medicinal Chemistry 14: 1710-1714. 2. Jantan IB, Yassin MSM, Chin CB, Chen LL, Sim NL. 2003. Antifungal activity of the essential oils of nine Zingiberaceae species. Pharmaceutical Biology 41: 392-397. 3. Limsuwan S, Voravuthikunchai SP. 2008. Boesenbergia pandurata (Roxb.) Schltr., Eleutherine americana Merr.and Rhodomyrtus tomentosa (Aiton)Hassk.as antibiofilm producing and antiquorum sensing in Streptococcus pyogenes. FEMS Immunology and Medical Microbiology 53: 429-436. 4. Norajit K, Laohakunjit N, Kerdchoechuen O. 2007. Antibacterial effect of five Zingiberaceae essential oils. Molecules 12: 2047-2060. 5. Phattayakorn K,Wanchaitanawong P.2009.Antimicrobial activity of Thai herb extracts against coconut milk spoilage microorganisms. Kasetsart Journal: Natural Science 43: 752-759. 6. Phongpaichit S,Subhadhirasakul S,Wattanapiromsakul C.2005.Antifungal activities of extracts from Thai medicinal plants against opportunistic fungal pathogens associated with AIDS patients. Mycoses 48: 333-338. 7. Sawangjaroen N, Subhadhirasakul S, Phongpaichit S, Siripanth C, Jamjaroen K, Sawangjaroen K. 2005. The in vitro anti-giardial activity of extracts from plants that are used for self-medication by AIDS patients in southern Thailand. Parasitology Research 95: 17-21. 8. Sawangjaroen N, Phongpaichit S, Subhadhirasakul S, Visutthi M, Srisuwan N, Thammapalerd N. 2006. The anti-amoebic activity of some medicinal plants used by AIDS patients in southern Thailand. Parasitology Research 98: 588-592. 9. Seniya C, Mishra H, Yadav A, Sagar N, Chaturvedi B, Uchadia K, Wadhwa G. 2013. Antiviral potential of 4-hydroxypanduratin A, secondary metabolite of fingerroot, Boesenbergia pandurata (Schult.), towards Japanese encephalitis virus NS2B/NS3 protease. Bioinformation 9: 54-60.
  • 13. 9 10. Tewtrakul S, Subhadhirasakul S, Summee S. 2006. Anti-HIV-1 integrase activity of medicinal plants used as self medication by AIDS patients. Songklanakarin Journal of Science and Technology 28: 785-790. 11. Thongson C,Davidson PM,Mahakarnchanakul W,Weiss J.2004.Antimicrobial activity of ultrasound-assisted solvent-extracted spices. Letters in Applied Microbiology 39: 401-406. 12. Voravuthikunchai SP,Limsuwan S,Supapol O,Subhadhirasakul S.2006.Antibacterial activity of extracts from family Zingiberaceae against foodborne pathogens.Journal of Food Safety 26: 325-334. 13. Voravuthikunchai SP,Lortheeranuwat A,Jeeju W,Sririrak T,Phongpaichit S,Supawita T. 2004a. Effective medicinal plants against enterohaemorrhagic Escherichia coli O157:H7. Journal of Ethnopharmacology 94: 49-54. 14. Voravuthikunchai SP, Phongpaichit S, Subhadhirasakul S. 2005. Evaluation of antibacterial activity of medicinal plants widely used among AIDS patients in Thailand. Pharmaceutical Biology 43: 701-706. 15. Voravuthikunchai SP, Popaya V, Supawita T. 2004b. Antibacterial activity of crude extracts of medicinal plants used in Thailand against pathogenic bacteria. Ethnopharmacologia 33: 60-70.
  • 14. 10 กระทือ ชื่อวิทยาศาสตร์ Zingiber zerumbet (L.) Roscoe ex Sm. ชื่อวงศ์ Zingiberaceae ชื่อสามัญ Broad-leaved ginger, Ginger, Pinecone ginger, Pine cone ginger, Shampoo ginger, Wild ginger, Zerumbet ginger ชื่อท้องถิ่น กะแวน กะแอน กระทือป่า เปลเพ้อ แสมด�ำ แฮวด�ำ เฮียวแดง เฮียวด�ำ การปลูกและการขยายพันธุ์ พบได้ทั่วไปใช้เหง้าในการขยายพันธุ์โดยตัดใบออกให้เหลือประมาณ15ซม.ปลูก ลึกประมาณ 10 ซม. รดน�้ำให้ชุ่มจนกว่าจะแตกใบใหม่ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ดอก : ลักษณะเป็นช่อรูปทรงกระบอกแทงจากใต้ดินกลีบดอกสีขาวหรือสีแดงใบประดับ สีเขียวแกมแดง ต้น : ไม้ล้มลุก สูง 1-1.5 ม. ใบ : ใบเดี่ยวเรียงสลับ รูปหอก ปลายแหลม ขอบเรียบ กว้าง 5-7 ซม. ยาว 20-30 ซม. เหง้า : เหง้าใต้ดิน เปลือกนอกสีน�้ำตาลแกมเหลือง เนื้อในสีเหลืองอ่อนและมีกลิ่นหอม สารส�ำคัญ camphene,camphor,ß-caryophyllene,1,8-cineol,curzerenone,diferuloyl methane, di-p-coumaroylmethane, feruoyl-p-coumaroyl, ß-humulene, p-hydroxybenzaldehyde, isoborneol, kaempferols, linalool, stigmast- 4-en-3-one, vanillin, zerumbone, zerumbone epoxide ส่วนที่ใช้เป็นยา ดอก : แก้ไข้เรื้อรัง แก้ลม รักษาโรคผอมแห้ง บ�ำรุงธาตุ ต้น : แก้ไข้ ช่วยเจริญอาหาร ใบ : ขับเลือด ราก : แก้ไข้ แก้เคล็ดขัดยอก ล�ำต้น : ช่วยเจริญอาหาร เหง้า : แก้ท้องอืดท้องเฟ้อ แก้จุกเสียด แก้ปวดท้อง แก้ฝี ขับปัสสาวะ ขับลม บ�ำรุงน�้ำนม บ�ำรุงธาตุ บ�ำรุงก�ำลัง ช่วยเจริญอาหาร