SlideShare a Scribd company logo
อารมณ์ (Emotion)
อารมณ์ คือ กระบวนการ หรือ สภาวะทางด้าน
ความรู้สึกที่ถูกทาให้หวั่นไหว ซึ่งแสดงออกมา
โดยการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในกล้ามเนื้อ
เรียบ ต่อมต่างๆ และพฤติกรรมโดยรวม
สิ่งพิจารณาพฤติกรรมทางอารมณ์
 1. พฤติกรรมการทาลาย
2. พฤติกรรมการเข้าใกล้
3. การยอมแพ้หรือหนี
4. การหยุดการตอบสนอง
5. การแสดงออกทางน้าเสียง
การจาแนกอารมณ์
Carlson (1993) กล่าวว่า บุคคลมีอารมณ์พื้นฐานอยู่ 3 ชนิด คือ
1.ความโกรธ (anger)
2.ความกลัว (fear)
3.ความพึงพอใจ (pleasure)
อารมณ์อื่นๆ เป็นผลที่เกิดจากอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่ง หรือหลายอารมณ์ขออง
อารมณ์ทั้งสามนี้รวมกัน
รังเกียจ เดือดดาล เครียด แค้น เป็นรูปแบบขอองอารมณ์โกรธ
การอิจฉาและความรู้สึกผิด จะอยู่บนพื้นฐานขอองความกลัว
ความรักและความสุข จะมีพื้นฐานมาจากความรู้สึกพึงพอใจ
ความโศกเศร้า เป็นการรวมกันขอองอารมณ์กลัวและ
อารมณ์โกรธ
อารมณ์พื้นฐาน
Izard (1977) เสนอว่า มนุษย์มีอารมณ์พื้นฐาน 10 ชนิด
1. โกรธ 6. ความรู้สึกผิด
2. ดูถูก 7. ความสนใจและตื่นเต้น
3. ขยะแขยง 8. ร่าเริง สนุก
4. ไม่มีความสุข 9. ละอายใจ
5. กลัว 10. ประหลาดใจ
อารมณ์ที่ซับซ้อน
อารมณ์ที่ซับซ้อนเกิดจากการผสมของอารมณ์พื้นฐานอย่างน้อย 2 อารมณ์
ได้แก่
 1. วิตกกังวล (มาจาก...................................................................)
 2. ซึมเศร้า (..............................................................................)
 3. การมุ่งร้าย (..............................................................................)
 4. ความรัก (.............................................................................)
กลัว โกรธ ไม่มีความสุข ความรู้สึกผิด หรือละอายใจ
ไม่มีความสุข รวมกับโกรธ ดูถูก กลัว ความรู้สึกผิด หรือละอายใจ
เป็นการรวมกันของความโกรธ ดูถูก และขยะแขยง
ความสนใจรวมกับความสนุก
การแสดงอารมณ์ทางใบหน้าที่เป็นสากล
ขยะแขยง
ประหลาดใจ
กลัว
ความสุข เศร้า
โกรธ
หน้าที่ของอารมณ์
1. เป็นตัวเร้าให้เกิดพฤติกรรม
2. เป็นตัวรวบรวม
3. เป็นตัวนาและตัวสนับสนุนให้มีการกระทาต่อไป
4. เป็นการสื่อสาร
ประโยชน์ของการรับรู้อารมณ์
1. รู้จักและเข้าใจอารมณ์ของตนเอง
2. เข้าใจและหยั่งถึงอารมณ์ของผู้อื่น
3. จัดการกับอารมณ์ตนเองได้
อารมณ์เกี่ยวกับการสอนอย่างไร
ในการเรียนการสอน
ผู้สอนอาจสร้างเงื่อนไขให้ผู้เรียนเกิดอารมณ์หรือ
ความรู้สึกไม่พึงประสงค์บางอย่างได้ โดยที่ผู้สอนเองไม่
รู้ตัวหรือไม่ได้ตั้งใจ เช่น
ความรู้สึกเบื่อหน่าย
ความรู้สึกเกลียดและกลัว
ความเครียด
บุคลิกภาพ (Personality)
บุคลิกภาพ มาจากคาละติน “Persona” หมายถึง หน้ากาก
บุคลิกภาพ จึงหมายถึง ลักษณะของบุคคลที่ปรากฏต่อบุคคลอื่น
ซึ่งลักษณะเหล่านี้เป็นสิ่งที่เราต้องการให้คนอื่นรับรู้เราว่าเราเป็น
อย่างนั้น
บุคลิกภาพ หมายถึง คุณลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละ
บุคคล แสดงออกโดยพฤติกรรมที่บุคคลนั้นมีต่อสิ่งแวดล้อมที่
ตนกาลังเผชิญอยู่ และพฤติกรรมนี้จะคงเส้นคงวาพอสมควร
ความสาคัญ
• บุคลิกภาพมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ทั้งในด้านส่วนตัวและ
ด้านการงาน เพราะเป็นที่ชื่นชอบของคนโดยทั่วไป ทาให้
ประสบความสาเร็จในด้านต่างๆ และได้รับความร่วมมือจาก
บุคคลอื่นมากขึ้น ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเองช่วย
เสริมสร้างบุคลิกภาพให้ดียิ่งขึ้นเรื่อยๆ
• บุคคลที่มีบุคลิกภาพดี มักจะประสบความสาเร็จในหน้าที่การ
งาน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เพราะมี
ความเชื่อมั่น มีโอกาส รู้วิธีที่จะปรับตัวให้เข้ากับคนอื่นทาให้เกิด
ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน คนที่มีบุคลิกภาพดีจะได้เปรียบคนอื่น
เพราะจะทาให้ได้รับความเชื่อมั่น ศรัทธาจากผู้พบเห็นและคนที่
มีปฏิสัมพันธ์ด้วย การทางานหรือประกอบกิจกรรมต่างๆ ย่อม
ได้รับความร่วมมือจากคนส่วนใหญ่มากกว่าคนที่มีบุคลิกภาพ
ไม่ดี และสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ มีผลมาจาก 3 องค์ประกอบ คือ
 พันธุกรรม (Heredity)
 สิ่งแวดล้อม (Environment Factors)
 สถานการณ์ (Situation Conditions)
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์
ทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสัน
ทฤษฎีบุคลิกภาพของจุง
ทฤษฎีคุณลักษณะ
ทฤษฎีที่ใช้อธิบายพัฒนาการบุคลิกภาพ
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์
 ฟรอยด์ ได้รับยกย่องเป็นบิดาแห่งจิตวิทยาบุคลิกภาพ โดยมีความ
เชื่อว่า
ช่วง 5 ปีแรกของชีวิตจะเป็นพื้นฐานของบุคลิกภาพของผู้ใหญ่
บุคลิกภาพที่แตกต่างกันเนื่องจากประสบการณ์ของแต่ละคนในวัยเด็ก
พัฒนาการทางบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
ความคับข้องใจเป็นพื้นฐานสาหรับพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของ ฟรอยด์
 1. ขั้นปาก (Oral Stage) อายุ 0 – 18 เดือน
 2. ขั้นทวารหนัก (Anal Stage) อายุ 18 เดือน - 3 ปี
 3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3 - 5 ปี
 4. ขั้นแฝง (Latent Stage) อายุ 6 - 12 ปี
 5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage) อายุ 12 ปี ขึ้นไป
องค์ประกอบทางบุคลิกภาพ
• อิด (id) พลังงานจิตที่สนับสนุนให้เกิดการกระทา
ที่นาไปสู่ “หลักแห่งความสุข” เอาความพอใจของตนเอง
เป็นสาคัญ เช่นหิว กระหาย ต้องการทางเพศ
• อีโก้ (ego) พลังงานจิตที่สัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม ให้
อยู่ในหลักของ “ความจริง” รู้จักควบคุมไม่ให้แสดง
พฤติกรรมที่สังคมไม่ปรารถนาออกมา
• ซุปเปอร์อีโก้ (supper ego) พลังงานจิตที่ได้จากการ
เรียนรู้เป็นผลแห่งการฝึกตนเองอย่างเข้มงวด สังคมยอมรับ
“ ส่วนคุณธรรมของบุคคล”
 วุฒิภาวะ คือ พัฒนาการตามวัย
 ความคับข้องใจ ที่เกิดจากความสมหวัง/ไม่สมหวัง เมื่อมี
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก
 ความคับข้องใจ เนื่องมาจากความขัดแย้งภายใน
 ความไม่พร้อมของตนเอง ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านเชาวน์ปัญญา
และการขาดประสบการณ์
 ความวิตกกังวล เนื่องมาจากความกลัว หรือความไม่กล้าของ
ตนเอง
องค์ประกอบที่มีส่วนในพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
กลไกการป้องกันตัว (Defense Mechanism)
กลไกในการป้องกันตัว เป็นวิธีการที่บุคคลใช้ในการปรับตัว เมื่อประสบปัญหาความคับ
ข้องใจ ซึ่งเป็นวิธีการปรับตัวในระดับจิตใต้สานึก และระดับจิตสานึก
1. การเก็บกด (Repression) หมายถึง การเก็บกดความรู้สึกไม่สบายใจ หรือ
ความรู้สึกผิดหวัง
2. การป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่น (Projection) หมายถึง การลดความวิตกกังวล โดย
การป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่น
3. การหาเหตุผลเขอ้าขอ้างตนเอง (Rationalization) หมายถึง การปรับตัวโดยการ
หาเหตุผลเข้าข้างตนเอง โดยให้คาอธิบายที่เป็นที่ยอมรับสาหรับคนอื่น
4. การถดถอย (Regression) หมายถึง การหนีกลับไปอยู่ในสภาพอดีตที่เคยทาให้
ตนมีความสุข
5. การแสดงปฏิกิริยาตรงขอ้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง (Reaction
Formation) หมายถึง การแสดงพฤติกรรมตรงข้ามกับความรู้สึกของตนเอง
6. การสร้างวิมานในอากาศ หรือการฝันกลางวัน (Fantasy หรือ Day
dreaming) เป็นการสร้างจินตนาการ หรือมโนภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ตนต้องการ
แต่เป็นไปไม่ได้
7. การแยกตัว (Isolation) หมายถึง การแยกตนให้พ้นจากสถานการณ์ที่นาความ
คับข้องใจมาให้ โดยการแยกตนออกไปอยู่ตามลาพัง
8. การหาสิ่งมาแทนที่ (Displacement) เป็นการระบายอารมณ์โกรธ หรือ
คับข้องใจต่อคน หรือสิ่งของ ที่ไม่ได้เป็นต้นเหตุของความคับข้องใจ
9. การเลียนแบบ (Identification) หมายถึง การปรับตัวโดยการเลียนแบบ
บุคคลที่ตนนิยมยกย่อง
กลไกการป้องกันตัว (Defense Mechanism)
ทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสัน
อีริคสัน เน้นความสาคัญทางด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม
ทางด้านจิตใจ โดยแบ่งพัฒนาการทางบุคลิกภาพออกเป็น 8 ขอั้น
 1. ความไว้วางใจ vs ความไม่ไว้วางใจ
 2. ความเป็นตัวขอองตัวเอง vs ความไม่มั่นใจในตัวเอง
 3. ความคิดริเริ่ม vs ความรู้สึกผิด
 4. ความขอยันหมั่นเพียร vs ความรู้สึกต่าต้อย
 5. ความเป็นเอกลักษณ์ vs ความสับสนในบทบาท
 6. ความผูกพัน vs การแยกตัว
 7. การทาประโยชน์ให้สังคม vs การคิดถึงแต่ตนเอง
 8. บูรณาภาพ vs ความสิ้นหวัง
คาร์ล จี จุง (Carl G. Jung) แบ่งบุคลิกภาพออกเป็น 2 แบบ คือ
แบบที่ 1 บุคลิกภาพแบบปกปิด (Introverts)
เป็นลักษณะบุคคลที่ไม่ชอบการเข้าสังคมมีเพื่อนมาก ยึดมั่นในความรู้สึกของ
ตนเอง ไม่ชอบคบเพื่อนมาก บางขณะจะมีความรู้สึกว้าเหว่ ชอบอยู่ตามลาพัง
สันโดษ ชอบอ่านหนังสือ เหงา จิตใจไม่มีความมั่นคง อารมณ์หงุดหงิดหวั่นไหว
ง่ายและไม่ชอบการก้าวร้าวรุนแรง
แบบที่ 2 บุคลิกภาพแบบเปิดเผย (Extroverts)
เป็นลักษณะบุคคลที่ถูกครอบงาโดยอิทธิพลจากสิ่งภายนอก มีเป้าหมายที่เป็น
ความจริงมาก ชอบมีประสบการณ์ด้วยตนเอง ชอบเข้าสังคม ชอบมีเพื่อนมาก
ชอบพูดมากกว่าฟัง ช่างพูด จิตใจมั่นคง ร่าเริง แจ่มใส ปรับตนเองได้ค่อนข้างดี
และสามารถที่จะแสดงความก้าวร้าวรุนแรงได้ โดยขาดการควบคุมอารมณ์
ทฤษฏีบุคลิกภาพขออง จุง (Jung’s Personality Theory)
ทฤษฏีบุคลิกภาพขอองแอดเลอร์
(Adler’s Personality Theory)
อัลเฟรด แอดเลอร์ (Alfed Adler) กล่าวว่า
พฤติกรรมของบุคคลจะเป็นอย่างไรนั้นถูกกาหนดโดยสังคมรอบตัว
เช่น เศรษฐกิจ การเมือง ประเพณีวัฒนธรรม วิธีการเลี้ยงดูบุตร
เชื่อว่า บุคคลโดยพื้นฐานแล้วถูกจูงใจโดยปมด้อย บุคคลบางคนมี
ความรู้สึกเป็นปมด้อย ความรู้สึกที่ตนเองมีปมด้อยทาให้เกิดแรงขับที่
เรียกว่า ปมเด่น
ความรู้สึกของตนเองจะแสดงบทบาทที่สาคัญ ในการสร้างรูปแบบ
ของบุคลิกภาพ การรู้จักสร้างตนเอง และบุคลิกภาพแบบที่รู้จักตนเอง
ก่อให้เกิดความพยายามที่จะเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย และสามารถ
พัฒนาศักยภาพของตนเองได้ เพราะว่าศักยภาพนี้เป็นลักษณะพิเศษ
ที่มีอยู่ในแต่ละบุคคล
ทฤษฏีบุคลิกภาพแบบคุณลักษณะ
(Trait Personality Theory)
ออลพอร์ท แบ่งคุณลักษณะเฉพาะบุคคลเป็น 3 ส่วน คือ
พวกมีลักษณะเด่น พวกนี้มักมีร่างกายสูงใหญ่ หรือหน้าตาดี มีลักษณะเด่น
เฉพาะตัว อาจจะเป็นน้าเสียง การพูด ท่าทาง หรือท่าทีที่ปฏิบัติต่อผู้อื่น
พวกมีลักษณะด้อย พวกนี้มักมีรูปร่างเตี้ย หรือตัวเล็ก หน้าตาไม่ดี หรือมี
ลักษณะบางประการที่เป็นปมด้อยของตน
พวกที่มีลักษณะกลาง พวกนี้มักมีร่างกายธรรมดาแบบคนทั่วไป ลักษณะเป็น
กลางๆ ไม่เด่น ไม่ด้อย แต่ก็ไม่มีลักษณะพิเศษที่น่าสนใจ มักผสมผสานกลมกลืนไป
กับคนส่วนใหญ่
แฮนส์ ไอเซงค์ (Hans Esenck) ได้มีการพัฒนาทฤษฏีที่จะอธิบายว่า
ทาไมแต่ละบุคคลจึงมีความแตกต่างกันในทางบุคลิกภาพและพฤติกรรม
คุณลักษณะบุคลิกภาพที่สาคัญ มี 4 คุณลักษณะ คือ พฤติกรรมปกปิด
(Introversion) พฤติกรรมเปิดเผย(Extroversion) พฤติกรรมที่มั่นคง
(Stability) และพฤติกรรมที่ไม่มั่นคง (Unstability)
ทฤษฏีบุคลิกภาพแบบคุณลักษณะ
(Trait Personality Theory)
การวัดบุคลิกภาพแบบ Eysenck
Unstable (Neurotic)
ไม่มั่นคง (มีอาการประสาทอ่อน)
ทฤษฏีบุคลิกภาพตามรูปร่างขอองบุคคล
(Types Personality Theory)
วิลเลียม เซลดอน (William Sheldon ) สรุปว่ารูปร่างแบบพื้นฐานแบ่งเป็น 3 แบบ คือ
รูปร่างอ้วน (Endomorphy) มีลักษณะรูปร่างอ้วน เนื้อนิ่มและลาตัวมีขนาดกลม
รูปร่างไม่ดี มีน้าหนักมาก รับประทานอาหารมาก มีความเชื่องช้าอืดอาด ไม่สะอาด มีเพื่อน
มาก มีนิสัยชอบการเข้าสมาคม ชอบการนอนและการกิน ชอบให้ร่างกายสบายและเป็น
บุคคลที่มีความสุข
รูปร่างล่าสัน (Mesomorphy) มีลักษณะรูปร่างแข็งแรง มีมัดกล้ามเนื้อ มีการ
พัฒนาทางร่างกายมีกล้ามเนื้อแข็งแรงมองดูดี มีเพื่อนมาก มีความสุข มีคนชอบมาก มี
ความประณีต มีความเร็ว ชอบช่วยเหลือบุคคลอื่น มีลักษณะรูปร่างแบบนักกีฬา ชอบการ
ต่อสู้ มีพลังชอบการผจญภัย ชอบการออกกาลังกายและมีความกล้าหาญ
รูปร่างผอม (Ectomorphy) มีลักษณะรูปร่างที่กล้ามเนื้อและกระดูกยังไม่รับการ
พัฒนา หน้าอกแบนราบ ลาตัวมีขนาดบางและอ่อนแอ ศีรษะมีขนาดใหญ่กว่าปกติ มี
น้าหนักเบา รับประทานอาหารได้น้อย ชอบความเงียบ มีความวิตกกังวลใจ มีความ
หวาดกลัวไม่ชอบการต่อสู้ มีคุณสมบัติที่มีจิตสานึกของตัวเอง มีอารมณ์อ่อนไหว มีความ
กังวลใจ ชอบอยู่ตามลาพัง ชอบการใช้ความคิดเป็นต้น
วิธีการวัดบุคลิกภาพ
1. แบบสารวจบุคลิกภาพ (Personality Inventory)
2. แบบทดสอบบุคลิกภาพ เช่น
1. Minnesota Multiphasic Personality Inventory (MMPI)
2. Edwards Personal Preference Schedule (EPPS)
3. การประเมินชนิดฉายภาพตนเอง (Projective Test)
1. Thematic Apperception Test
2. Rorschach Ink Blot Test
4. วิธีวัดบุคลิกภาพชนิดอื่น ๆ (Other Methods of Personality)
1. การสัมภาษณ์ (Interviews)
2. Rating Scales
3. สังคมมิติ (Sociometry)
4. การสร้างสถานการณ์ (Assessment Situation)
 การปรับตัว หมายถึง ความพยายามที่จะแก้ไขผ่อนคลายความ
ตึงเครียดทางอารมณ์ แสวงหาวิถีทางที่จะตอบสนองความ
ต้องการของตน ไม่ว่าจะเป็นความต้องการทางกายหรือทางจิต
 อิงลิช และอิงลิช (English and English. 1970: 336) ได้ให้
ความหมายของการปรับตัวไว้ว่า การปรับตัวเป็นภาวะของ
ความสัมพันธ์ที่กลมกลืนกันกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งบุคคลจะได้รับ
ความพึงพอใจในการตอบสนองทั้งกายและทางสังคม
การปรับตัว
โคลแมน ( Coleman, 1981 : 109) กล่าวว่า การปรับตัว หมายถึง
ผลของความพยายามของบุคคลที่พยายามปรับสภาพปัญหาที่
เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ว่าปัญหานั้นจะเป็นปัญหาด้านบุคลิกภาพ ด้าน
ความต้องการหรือด้านอารมณ์ให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมที่บุคคล
นั้นอยู่
เบอร์นาด ( Bernard, 1960 ) ให้ความหมายของการปรับตัวว่า
เป็นการที่บุคคลสามารถปรับตัวให้เข้ากับตนเองและโลกภายนอก
ได้อย่างดี ความพึงพอใจ ความแจ่มใสอย่างสูงสุด มีพฤติกรรมที่
เหมาะสมกับสภาพสังคม มีความสามารถที่จะเผชิญและยอมรับ
ความจริงของชีวิต
ความหมายของการปรับตัว (ต่อ)
- การดาเนินงาน
- ความพยายาม
อุปสรรค / สภาพการณ์ ที่สร้าง
ความตึงเครียดทางอารมณ์
เป้าหมาย
การปรับตัว ได้
ไม่ได้ เปลี่ยนเป้าหมาย
หรือหนี
ปัญหาการปรับตัว
 สภาพการณ์ที่ก่อให้เกิดความตึงเครียด
ทางอารมณ์หรือปัญหาในการปรับตัว
ได้แก่ ความคับข้องใจ ความขัดแย้งในใจ
และความกดดัน
ความคับข ้องใจ(Frustration)
ความคับข้องใจ หมายถึง สภาวะอารมณ์ที่ไม่พึงพอใจ
ไม่สบายใจ เมื่อบุคคลไม่สามารถตอบสนองความ
ต้องการของตนเองได้
ความคับข้องใจ หมายถึง สภาพของจิตใจ หรือ
ความรู้สึกไม่พึงพอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความ
ปรารถนาที่บุคคลมุ่งหวังนั้นถูกขัดขวาง
ทาให้ไม่สามารถบรรลุในเป้าหมายได้
ความขัดแย ้งในใจ (Conflict)
 เป็นสภาพการณ์ที่เกิดจากการมีเป้าหมายให้เลือกอย่างน้อย
2 เป้าหมาย ซึ่งถ้าเลือกอย่างหนึ่งแล้วจะไม่ได้อีกอย่างหนึ่ง
สถานการณ์เช่นนี้ทาให้บุคคลมีความขัดแย้งในใจ ย่อมก่อให้ เกิด
ความคับข้องใจได้
ความขัดแย้งในใจ หมายถึง สภาพของจิตใจหรือความ
รู้สึกลาบากใจ อึดอัดใจหนักใจ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการ
ที่ต้องตัดสินใจเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่งจากสภาพการณ์ที่เขาเผชิญอยู่
ความขัดแย ้งในใจ
 มีลักษณะ 4 แบบ
 1.Approach – Approach Conflict
 2.Avoidance – Avoidance Conflict
 3.Approach – Avoidance Conflict
 4.Double Approach – Avoidance Conflict
1. ความขัดแย ้งบวก - บวก
(Approach – Approach Conflict)
 ความขัดแย้งในใจเนื่องจากไม่สามารถเลือก
เป้าหมายอันใดอันหนึ่งจากเป้าหมายที่ปรารถนา
อย่างน้อยสองประการขึ้นไป เช่น
 “ รักหญิงสาวพร้อมๆกันสองคน แต่ต้องเลือก
คนใดคนหนึ่ง”
2. ความขัดแย ้งลบ – ลบ
(Avoidance – Avoidance Conflict)
ความขัดแย้งในใจเนื่องจากไม่สามารถเลือกเป้าหมายอันใดอันหนึ่งจาก
เป้าหมายที่ไม่น่าปรารถนาอย่างน้อยสองประการขึ้นไป เช่น
 “เด็กป่วยต้องเลือกระหว่างรับประทานยากับฉีดยา”
 “บางคนต้องเลือกระหว่างงานที่เงินเดือนน้อยกับการไม่มีงานทา”
 “นักเรียนบางรายต้องเลือกระหว่างการให้พ่อแม่เป็นหนี้กู้เงินส่งเรียน
กับการเป็นหนี้ กยศ. ด้วยตนเอง”
3. ความขัดแย ้งบวก - ลบ
(Approach – Avoidance Conflict)
ความขัดแย้งในใจเนื่องจากไม่สามารถเลือก
เป้าหมายที่ประกอบด้วยสิ่งที่น่าปรารถนาและไม่น่า
ปรารถนาผสมผสานกันอยู่ เช่น
 “หญิงสาวชอบขนมหวานแต่กลัวอ้วน”
 “ชายหนุ่มต้องการแต่งงานแต่กลัวความรับผิดชอบ
ในชีวิตสมรส”
4. ความขัดแย้งทั้งชอบและไม่ชอบในตัวเลือกทั้งคู่
(Double Approach – Avoidance Conflict)
เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเลือกระหว่างของสองสิ่งที่มี
ทั้งที่ชอบและไม่ชอบ เช่น
 “จะเลือกไปทางานที่บริษัทไหนดี บริษัท ก. เงินเดือนสูงมาก
แต่อยู่ไกลบ้าน และต้องทางานวันเสาร์ด้วย บริษัท ข.
เงินเดือนไม่สูงมากนัก แต่อยู่ใกล้บ้าน และได้หยุดวันเสาร์ด้วย”
นักจิตวิทยาได้ทาการทดลองกับหนูและสรุปผลการวิจัยในพฤติกรรมที่ต้องตัดสินใจ
เลือก ดังนี้
 - เมื่อเข้าใกล้สิ่งล่อใจทางบวกมากขึ้นเท่าใด บุคคลก็ยิ่งมีแนวโน้มในการ
เข้าไปหามากขึ้นหรือมีพลังความปรารถนาเข้มข้นขึ้น
 - เมื่อเข้าใกล้สิ่งล่อใจทางลบมากขึ้นเท่าใด บุคคลก็ยิ่งมีแนวโน้มในการ
หลีกหนีมากขึ้นหรือมีพลังความไม่ปรารถนาเพิ่มมากขึ้น
 - เมื่อเข้าใกล้สิ่งล่อใจทางบวกและทางลบในระยะทางที่เท่ากัน บุคคลมี
แนวโน้มที่จะหลีกหนีสูงกว่าแนวโน้มในการเข้าไปหา หรือพลังความ
ไม่ปรารถนาจะมีความเข้มข้นกว่าพลังของความปรารถนา
 - แนวโน้มทั้งในด้านการเข้าไปหาและการหลีกหนี บุคคลจะมีแนวโน้มใน
ทางใดมากกว่ากันขึ้นอยู่กับแรงขับของอินทรีย์ในขณะนั้น
ในสังคมปัจจุบัน บุคคลต้องเผชิญกับความขัดแย้งใน
ใจที่ต้องเลือกตัวเลือกที่ดีพอกัน ไม่ดีพอกัน หรือมีทั้ง
ดีและไม่ดีในตัวมันเอง ซึ่งทาให้ยากต่อการตัดสินใจ
ทาให้บุคคลต้องปรับตัวในการเลือกปฏิบัติอย่างใด
อย่างหนึ่งอยู่เสมอ ความขัดแย้งในใจนี้ถ้าแก้ไขไม่
สาเร็จ อาจมีผลทาให้บุคคลนั้นมีความวิตกกังวลสูง
กลายเป็นคนเครียดและก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ
กาย และสุขภาพจิต
สรุป
ความกดดัน (Pressure)
 ความกดดัน คือ สภาพการณ์ที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลหรือ
สิ่งแวดล้อมที่ทาให้การไปสู่เป้าหมายของเขาสับสนวุ่นวาย
เพิ่มขึ้น
 ความกดดัน หมายถึง สภาพการณ์ที่บังคับ หรือเรียกร้องให้
บุคคลจาเป็นจะต้องกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น
“การแข่งขันเพื่อให้ได้ชัยชนะ”
แบบของการตอบโต้ความตึงเครียดทางอารมณ์
 การตอบโต้ความตึงเครียดทางอารมณ์ของบุคคล อาจแบ่ง
ได้เป็น 3 แบบตามความแตกต่างของการแสดงออก คือ
 1. การสร้างพลังเพื่อเผชิญปัญหา
 2. ความพยายามที่จะกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อเผชิญปัญหา
 3. การใช้กลไกการป้องกันตนเอง
การสร้างพลังเพื่อเผชิญปัญหา
 การสร้างพลังเพื่อเผชิญปัญหา ช่วยลดความตึงเครียดและ
ความวิตกกังวล และช่วยเสริมสร้างความสมดุลทางจิตใจ
มักแสดงออกในรูปแบบต่างๆ ดังนี้
 การร้องไห้
 การพูดระบายความรู้สึก
 การหัวเราะ
 การคิดทบทวน
 การแสวงหาที่พึ่งทางใจ
 การหลับและการฝัน
ความพยายามที่จะกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อเผชิญปัญหา
 เป็นความพยายามที่จะเผชิญปัญหาอย่างแท้จริง โดย
การกระทาที่มีเหตุผลเป็นไปในทางสร้างสรรค์
 การตอบโต้ในรูปแบบการต่อสู้
 การตอบโต้ในรูปของการหลีกหนี
 การตอบโต้ในรูปของการรอมชอม
การใช้กลไกการป้องกันตนเอง
ลักษณะของกลไกการป้องกันตนเอง คือ
 1. เป็นวิธีการที่บุคคลพยายามคุ้มครองและคงไว้ซึ่งศักดิ์ศรี ของตน
 2. เป็นวิธีการที่บุคคลปกป้องตนจากภัยคุกคามทั้งจากภายนอก
และภายใน
 3. เป็นวิธีการที่มีคุณลักษณะทั้งในทางบวกและลบ
 4. กลไกในการป้องกันตนเองทุกชนิดมีลักษณะร่วม คือ การหลอก
ตัวเองซึ่งแสดงออกในรูปการปฏิเสธความต้องการ การปลอมแปลง
ลักษณะการปรับตัวของเด็กปกติ
 เด็กปกติ หมายถึง เด็กที่มีการพัฒนาหรือเจริญงอกงาม
ตามวุฒิภาวะแห่งวัย ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา มีบุคลิกภาพที่พึงปรารถนา และมีการ
แสดงออกทางพฤติกรรมอันพึงประสงค์ เนื่องจากการ
ปรับตัวให้เข้ากับบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์
ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
ลักษณะการปรับตัวของเด็กปกติ
1. มีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น
2. มีความสามารถในการพัฒนา “ตน” (Self)
3. มีความเชื่อมั่นและความรู้สึกมั่นคง
4. มีความกล้าที่จะเผชิญความจริงในชีวิต
5. มีลักษณะอบอุ่นเป็นมิตร
6. รู้จักรักษาอนามัยและสุขภาพร่างกายเสมอ
7. มีความรู้สึกตระหนักในหน้าที่ที่ปฏิบัติ
8. พร้อมที่จะรับประสบการณ์ใหม่ๆ และสนใจกิจกรรมรอบตัว
9. ปราศจากนิสัยในทางจิตที่กระทบกระเทือนบุคลิกภาพ
10. มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี
11. มีความร่าเริงแจ่มใส
12. มีพฤติกรรมเหมาะสมกับวัย
ลักษณะการปรับตัวของเด็กปกติ (ต่อ)
ลักษณะการปรับตัวของเด็กมีปัญหา
 เด็กมีปัญหา หมายถึง เด็กที่มีความเจริญงอกงาม
และพัฒนาแตกต่างไปจากเด็กปกติอื่นๆ อย่างชัดเจน
ในด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายๆ ด้าน อาทิเช่น ด้าน
สติปัญญา ด้านความสามารถในการเรียน ด้าน
ร่างกาย ด้านการพูด ด้านการมองเห็น หรือด้าน
อารมณ์ เป็นต้น
พฤติกรรมการปรับตัวของเด็กที่มีปัญหา
 โรเบริท์ เอช วูดดี้ (Robert H. Woody. 1969) อธิบายถึงพฤติกรรมการปรับตัว
ของเด็กที่มีปัญหาว่ามีลักษณะดังต่อไปนี้
 1. ด้านการเรียนรู้และความจา ขาดความสามารถในการเรียนรู้และความจา
 2. ลักษณะของบุคลิกภาพไม่เหมาะสม
 3. มีปัญหาด้านการรับรู้ มีการรับรู้ที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง
 4. มีอารมณ์อ่อนไหวง่าย อารมณ์ไม่คงที่ มีปัญหาทางระบบประสาท
 5. ความสามารถทางสังคมด้อย
 6. มีความรู้สึกที่ไม่ดีต่อตนเอง มีความวิตกกังวลสูง
 7. มีลักษณะทางสังคมและอารมณ์ไม่พึงประสงค์ มีพฤติกรรมก้าวร้าว
 8. มีพฤติกรรมที่แสดงถึงการขาดวุฒิภาวะ และถอยหนีสังคม
สรุป
 การปรับตัวเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญกับคนทุกคน
ซึ่งจะต้องเกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลิกภาพ บุคคลที่ประสบ
ความสาเร็จในการปรับตัว จะสามารถสร้างบุคลิกภาพที่ดี
ดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข
 ความสามารถในการปรับตัวเป็นการแสดงให้เห็นถึงการมี
สุขภาพจิตดี โดยเฉพาะวัยเด็ก ซึ่งถือว่าอยู่ในช่วงสาคัญใน
การปรับตัวสู่สังคมภายนอก ซึ่งจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ มี
บุคลิกภาพและการปรับตัวที่ดี

More Related Content

What's hot

รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
Jiraporn
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
Thepsatri Rajabhat University
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
พัน พัน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
Phanuwat Somvongs
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
Lumyai Pirum
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
Prachoom Rangkasikorn
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
Kan Pan
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
phatthra jampathong
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

What's hot (20)

รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
 
1 nervesys plan
1 nervesys plan1 nervesys plan
1 nervesys plan
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

More from SuriwiphaSriwanna

11
1111

More from SuriwiphaSriwanna (11)

Ied211
Ied211Ied211
Ied211
 
6
66
6
 
12
1212
12
 
11
1111
11
 
8
88
8
 
7
77
7
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
11
1111
11
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

9

  • 1.
  • 2. อารมณ์ (Emotion) อารมณ์ คือ กระบวนการ หรือ สภาวะทางด้าน ความรู้สึกที่ถูกทาให้หวั่นไหว ซึ่งแสดงออกมา โดยการเปลี่ยนแปลงของร่างกายในกล้ามเนื้อ เรียบ ต่อมต่างๆ และพฤติกรรมโดยรวม
  • 3. สิ่งพิจารณาพฤติกรรมทางอารมณ์  1. พฤติกรรมการทาลาย 2. พฤติกรรมการเข้าใกล้ 3. การยอมแพ้หรือหนี 4. การหยุดการตอบสนอง 5. การแสดงออกทางน้าเสียง
  • 4. การจาแนกอารมณ์ Carlson (1993) กล่าวว่า บุคคลมีอารมณ์พื้นฐานอยู่ 3 ชนิด คือ 1.ความโกรธ (anger) 2.ความกลัว (fear) 3.ความพึงพอใจ (pleasure)
  • 5. อารมณ์อื่นๆ เป็นผลที่เกิดจากอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่ง หรือหลายอารมณ์ขออง อารมณ์ทั้งสามนี้รวมกัน รังเกียจ เดือดดาล เครียด แค้น เป็นรูปแบบขอองอารมณ์โกรธ การอิจฉาและความรู้สึกผิด จะอยู่บนพื้นฐานขอองความกลัว ความรักและความสุข จะมีพื้นฐานมาจากความรู้สึกพึงพอใจ ความโศกเศร้า เป็นการรวมกันขอองอารมณ์กลัวและ อารมณ์โกรธ
  • 6. อารมณ์พื้นฐาน Izard (1977) เสนอว่า มนุษย์มีอารมณ์พื้นฐาน 10 ชนิด 1. โกรธ 6. ความรู้สึกผิด 2. ดูถูก 7. ความสนใจและตื่นเต้น 3. ขยะแขยง 8. ร่าเริง สนุก 4. ไม่มีความสุข 9. ละอายใจ 5. กลัว 10. ประหลาดใจ
  • 7. อารมณ์ที่ซับซ้อน อารมณ์ที่ซับซ้อนเกิดจากการผสมของอารมณ์พื้นฐานอย่างน้อย 2 อารมณ์ ได้แก่  1. วิตกกังวล (มาจาก...................................................................)  2. ซึมเศร้า (..............................................................................)  3. การมุ่งร้าย (..............................................................................)  4. ความรัก (.............................................................................) กลัว โกรธ ไม่มีความสุข ความรู้สึกผิด หรือละอายใจ ไม่มีความสุข รวมกับโกรธ ดูถูก กลัว ความรู้สึกผิด หรือละอายใจ เป็นการรวมกันของความโกรธ ดูถูก และขยะแขยง ความสนใจรวมกับความสนุก
  • 9. หน้าที่ของอารมณ์ 1. เป็นตัวเร้าให้เกิดพฤติกรรม 2. เป็นตัวรวบรวม 3. เป็นตัวนาและตัวสนับสนุนให้มีการกระทาต่อไป 4. เป็นการสื่อสาร
  • 13. บุคลิกภาพ (Personality) บุคลิกภาพ มาจากคาละติน “Persona” หมายถึง หน้ากาก บุคลิกภาพ จึงหมายถึง ลักษณะของบุคคลที่ปรากฏต่อบุคคลอื่น ซึ่งลักษณะเหล่านี้เป็นสิ่งที่เราต้องการให้คนอื่นรับรู้เราว่าเราเป็น อย่างนั้น บุคลิกภาพ หมายถึง คุณลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละ บุคคล แสดงออกโดยพฤติกรรมที่บุคคลนั้นมีต่อสิ่งแวดล้อมที่ ตนกาลังเผชิญอยู่ และพฤติกรรมนี้จะคงเส้นคงวาพอสมควร
  • 14. ความสาคัญ • บุคลิกภาพมีความสาคัญต่อชีวิตมนุษย์ทั้งในด้านส่วนตัวและ ด้านการงาน เพราะเป็นที่ชื่นชอบของคนโดยทั่วไป ทาให้ ประสบความสาเร็จในด้านต่างๆ และได้รับความร่วมมือจาก บุคคลอื่นมากขึ้น ก่อให้เกิดความเชื่อมั่นในตนเองช่วย เสริมสร้างบุคลิกภาพให้ดียิ่งขึ้นเรื่อยๆ • บุคคลที่มีบุคลิกภาพดี มักจะประสบความสาเร็จในหน้าที่การ งาน และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข เพราะมี ความเชื่อมั่น มีโอกาส รู้วิธีที่จะปรับตัวให้เข้ากับคนอื่นทาให้เกิด ความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน คนที่มีบุคลิกภาพดีจะได้เปรียบคนอื่น เพราะจะทาให้ได้รับความเชื่อมั่น ศรัทธาจากผู้พบเห็นและคนที่ มีปฏิสัมพันธ์ด้วย การทางานหรือประกอบกิจกรรมต่างๆ ย่อม ได้รับความร่วมมือจากคนส่วนใหญ่มากกว่าคนที่มีบุคลิกภาพ ไม่ดี และสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
  • 15. สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ บุคลิกภาพ มีผลมาจาก 3 องค์ประกอบ คือ  พันธุกรรม (Heredity)  สิ่งแวดล้อม (Environment Factors)  สถานการณ์ (Situation Conditions)
  • 17. ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของฟรอยด์  ฟรอยด์ ได้รับยกย่องเป็นบิดาแห่งจิตวิทยาบุคลิกภาพ โดยมีความ เชื่อว่า ช่วง 5 ปีแรกของชีวิตจะเป็นพื้นฐานของบุคลิกภาพของผู้ใหญ่ บุคลิกภาพที่แตกต่างกันเนื่องจากประสบการณ์ของแต่ละคนในวัยเด็ก พัฒนาการทางบุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ความคับข้องใจเป็นพื้นฐานสาหรับพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
  • 18. พัฒนาการทางบุคลิกภาพตามทฤษฎีจิตวิเคราะห์ของ ฟรอยด์  1. ขั้นปาก (Oral Stage) อายุ 0 – 18 เดือน  2. ขั้นทวารหนัก (Anal Stage) อายุ 18 เดือน - 3 ปี  3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3 - 5 ปี  4. ขั้นแฝง (Latent Stage) อายุ 6 - 12 ปี  5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage) อายุ 12 ปี ขึ้นไป
  • 19. องค์ประกอบทางบุคลิกภาพ • อิด (id) พลังงานจิตที่สนับสนุนให้เกิดการกระทา ที่นาไปสู่ “หลักแห่งความสุข” เอาความพอใจของตนเอง เป็นสาคัญ เช่นหิว กระหาย ต้องการทางเพศ • อีโก้ (ego) พลังงานจิตที่สัมพันธ์ระหว่างกิจกรรม ให้ อยู่ในหลักของ “ความจริง” รู้จักควบคุมไม่ให้แสดง พฤติกรรมที่สังคมไม่ปรารถนาออกมา • ซุปเปอร์อีโก้ (supper ego) พลังงานจิตที่ได้จากการ เรียนรู้เป็นผลแห่งการฝึกตนเองอย่างเข้มงวด สังคมยอมรับ “ ส่วนคุณธรรมของบุคคล”
  • 20.  วุฒิภาวะ คือ พัฒนาการตามวัย  ความคับข้องใจ ที่เกิดจากความสมหวัง/ไม่สมหวัง เมื่อมี ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมภายนอก  ความคับข้องใจ เนื่องมาจากความขัดแย้งภายใน  ความไม่พร้อมของตนเอง ทั้งทางด้านร่างกาย ด้านเชาวน์ปัญญา และการขาดประสบการณ์  ความวิตกกังวล เนื่องมาจากความกลัว หรือความไม่กล้าของ ตนเอง องค์ประกอบที่มีส่วนในพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
  • 21. กลไกการป้องกันตัว (Defense Mechanism) กลไกในการป้องกันตัว เป็นวิธีการที่บุคคลใช้ในการปรับตัว เมื่อประสบปัญหาความคับ ข้องใจ ซึ่งเป็นวิธีการปรับตัวในระดับจิตใต้สานึก และระดับจิตสานึก 1. การเก็บกด (Repression) หมายถึง การเก็บกดความรู้สึกไม่สบายใจ หรือ ความรู้สึกผิดหวัง 2. การป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่น (Projection) หมายถึง การลดความวิตกกังวล โดย การป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่น 3. การหาเหตุผลเขอ้าขอ้างตนเอง (Rationalization) หมายถึง การปรับตัวโดยการ หาเหตุผลเข้าข้างตนเอง โดยให้คาอธิบายที่เป็นที่ยอมรับสาหรับคนอื่น 4. การถดถอย (Regression) หมายถึง การหนีกลับไปอยู่ในสภาพอดีตที่เคยทาให้ ตนมีความสุข 5. การแสดงปฏิกิริยาตรงขอ้ามกับความปรารถนาที่แท้จริง (Reaction Formation) หมายถึง การแสดงพฤติกรรมตรงข้ามกับความรู้สึกของตนเอง
  • 22. 6. การสร้างวิมานในอากาศ หรือการฝันกลางวัน (Fantasy หรือ Day dreaming) เป็นการสร้างจินตนาการ หรือมโนภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ตนต้องการ แต่เป็นไปไม่ได้ 7. การแยกตัว (Isolation) หมายถึง การแยกตนให้พ้นจากสถานการณ์ที่นาความ คับข้องใจมาให้ โดยการแยกตนออกไปอยู่ตามลาพัง 8. การหาสิ่งมาแทนที่ (Displacement) เป็นการระบายอารมณ์โกรธ หรือ คับข้องใจต่อคน หรือสิ่งของ ที่ไม่ได้เป็นต้นเหตุของความคับข้องใจ 9. การเลียนแบบ (Identification) หมายถึง การปรับตัวโดยการเลียนแบบ บุคคลที่ตนนิยมยกย่อง กลไกการป้องกันตัว (Defense Mechanism)
  • 23. ทฤษฎีจิตสังคมของอีริคสัน อีริคสัน เน้นความสาคัญทางด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ทางด้านจิตใจ โดยแบ่งพัฒนาการทางบุคลิกภาพออกเป็น 8 ขอั้น  1. ความไว้วางใจ vs ความไม่ไว้วางใจ  2. ความเป็นตัวขอองตัวเอง vs ความไม่มั่นใจในตัวเอง  3. ความคิดริเริ่ม vs ความรู้สึกผิด  4. ความขอยันหมั่นเพียร vs ความรู้สึกต่าต้อย  5. ความเป็นเอกลักษณ์ vs ความสับสนในบทบาท  6. ความผูกพัน vs การแยกตัว  7. การทาประโยชน์ให้สังคม vs การคิดถึงแต่ตนเอง  8. บูรณาภาพ vs ความสิ้นหวัง
  • 24. คาร์ล จี จุง (Carl G. Jung) แบ่งบุคลิกภาพออกเป็น 2 แบบ คือ แบบที่ 1 บุคลิกภาพแบบปกปิด (Introverts) เป็นลักษณะบุคคลที่ไม่ชอบการเข้าสังคมมีเพื่อนมาก ยึดมั่นในความรู้สึกของ ตนเอง ไม่ชอบคบเพื่อนมาก บางขณะจะมีความรู้สึกว้าเหว่ ชอบอยู่ตามลาพัง สันโดษ ชอบอ่านหนังสือ เหงา จิตใจไม่มีความมั่นคง อารมณ์หงุดหงิดหวั่นไหว ง่ายและไม่ชอบการก้าวร้าวรุนแรง แบบที่ 2 บุคลิกภาพแบบเปิดเผย (Extroverts) เป็นลักษณะบุคคลที่ถูกครอบงาโดยอิทธิพลจากสิ่งภายนอก มีเป้าหมายที่เป็น ความจริงมาก ชอบมีประสบการณ์ด้วยตนเอง ชอบเข้าสังคม ชอบมีเพื่อนมาก ชอบพูดมากกว่าฟัง ช่างพูด จิตใจมั่นคง ร่าเริง แจ่มใส ปรับตนเองได้ค่อนข้างดี และสามารถที่จะแสดงความก้าวร้าวรุนแรงได้ โดยขาดการควบคุมอารมณ์ ทฤษฏีบุคลิกภาพขออง จุง (Jung’s Personality Theory)
  • 25. ทฤษฏีบุคลิกภาพขอองแอดเลอร์ (Adler’s Personality Theory) อัลเฟรด แอดเลอร์ (Alfed Adler) กล่าวว่า พฤติกรรมของบุคคลจะเป็นอย่างไรนั้นถูกกาหนดโดยสังคมรอบตัว เช่น เศรษฐกิจ การเมือง ประเพณีวัฒนธรรม วิธีการเลี้ยงดูบุตร เชื่อว่า บุคคลโดยพื้นฐานแล้วถูกจูงใจโดยปมด้อย บุคคลบางคนมี ความรู้สึกเป็นปมด้อย ความรู้สึกที่ตนเองมีปมด้อยทาให้เกิดแรงขับที่ เรียกว่า ปมเด่น ความรู้สึกของตนเองจะแสดงบทบาทที่สาคัญ ในการสร้างรูปแบบ ของบุคลิกภาพ การรู้จักสร้างตนเอง และบุคลิกภาพแบบที่รู้จักตนเอง ก่อให้เกิดความพยายามที่จะเอาชนะอุปสรรคทั้งหลาย และสามารถ พัฒนาศักยภาพของตนเองได้ เพราะว่าศักยภาพนี้เป็นลักษณะพิเศษ ที่มีอยู่ในแต่ละบุคคล
  • 26. ทฤษฏีบุคลิกภาพแบบคุณลักษณะ (Trait Personality Theory) ออลพอร์ท แบ่งคุณลักษณะเฉพาะบุคคลเป็น 3 ส่วน คือ พวกมีลักษณะเด่น พวกนี้มักมีร่างกายสูงใหญ่ หรือหน้าตาดี มีลักษณะเด่น เฉพาะตัว อาจจะเป็นน้าเสียง การพูด ท่าทาง หรือท่าทีที่ปฏิบัติต่อผู้อื่น พวกมีลักษณะด้อย พวกนี้มักมีรูปร่างเตี้ย หรือตัวเล็ก หน้าตาไม่ดี หรือมี ลักษณะบางประการที่เป็นปมด้อยของตน พวกที่มีลักษณะกลาง พวกนี้มักมีร่างกายธรรมดาแบบคนทั่วไป ลักษณะเป็น กลางๆ ไม่เด่น ไม่ด้อย แต่ก็ไม่มีลักษณะพิเศษที่น่าสนใจ มักผสมผสานกลมกลืนไป กับคนส่วนใหญ่
  • 27. แฮนส์ ไอเซงค์ (Hans Esenck) ได้มีการพัฒนาทฤษฏีที่จะอธิบายว่า ทาไมแต่ละบุคคลจึงมีความแตกต่างกันในทางบุคลิกภาพและพฤติกรรม คุณลักษณะบุคลิกภาพที่สาคัญ มี 4 คุณลักษณะ คือ พฤติกรรมปกปิด (Introversion) พฤติกรรมเปิดเผย(Extroversion) พฤติกรรมที่มั่นคง (Stability) และพฤติกรรมที่ไม่มั่นคง (Unstability) ทฤษฏีบุคลิกภาพแบบคุณลักษณะ (Trait Personality Theory)
  • 29. ทฤษฏีบุคลิกภาพตามรูปร่างขอองบุคคล (Types Personality Theory) วิลเลียม เซลดอน (William Sheldon ) สรุปว่ารูปร่างแบบพื้นฐานแบ่งเป็น 3 แบบ คือ รูปร่างอ้วน (Endomorphy) มีลักษณะรูปร่างอ้วน เนื้อนิ่มและลาตัวมีขนาดกลม รูปร่างไม่ดี มีน้าหนักมาก รับประทานอาหารมาก มีความเชื่องช้าอืดอาด ไม่สะอาด มีเพื่อน มาก มีนิสัยชอบการเข้าสมาคม ชอบการนอนและการกิน ชอบให้ร่างกายสบายและเป็น บุคคลที่มีความสุข รูปร่างล่าสัน (Mesomorphy) มีลักษณะรูปร่างแข็งแรง มีมัดกล้ามเนื้อ มีการ พัฒนาทางร่างกายมีกล้ามเนื้อแข็งแรงมองดูดี มีเพื่อนมาก มีความสุข มีคนชอบมาก มี ความประณีต มีความเร็ว ชอบช่วยเหลือบุคคลอื่น มีลักษณะรูปร่างแบบนักกีฬา ชอบการ ต่อสู้ มีพลังชอบการผจญภัย ชอบการออกกาลังกายและมีความกล้าหาญ รูปร่างผอม (Ectomorphy) มีลักษณะรูปร่างที่กล้ามเนื้อและกระดูกยังไม่รับการ พัฒนา หน้าอกแบนราบ ลาตัวมีขนาดบางและอ่อนแอ ศีรษะมีขนาดใหญ่กว่าปกติ มี น้าหนักเบา รับประทานอาหารได้น้อย ชอบความเงียบ มีความวิตกกังวลใจ มีความ หวาดกลัวไม่ชอบการต่อสู้ มีคุณสมบัติที่มีจิตสานึกของตัวเอง มีอารมณ์อ่อนไหว มีความ กังวลใจ ชอบอยู่ตามลาพัง ชอบการใช้ความคิดเป็นต้น
  • 30. วิธีการวัดบุคลิกภาพ 1. แบบสารวจบุคลิกภาพ (Personality Inventory) 2. แบบทดสอบบุคลิกภาพ เช่น 1. Minnesota Multiphasic Personality Inventory (MMPI) 2. Edwards Personal Preference Schedule (EPPS) 3. การประเมินชนิดฉายภาพตนเอง (Projective Test) 1. Thematic Apperception Test 2. Rorschach Ink Blot Test 4. วิธีวัดบุคลิกภาพชนิดอื่น ๆ (Other Methods of Personality) 1. การสัมภาษณ์ (Interviews) 2. Rating Scales 3. สังคมมิติ (Sociometry) 4. การสร้างสถานการณ์ (Assessment Situation)
  • 31.  การปรับตัว หมายถึง ความพยายามที่จะแก้ไขผ่อนคลายความ ตึงเครียดทางอารมณ์ แสวงหาวิถีทางที่จะตอบสนองความ ต้องการของตน ไม่ว่าจะเป็นความต้องการทางกายหรือทางจิต  อิงลิช และอิงลิช (English and English. 1970: 336) ได้ให้ ความหมายของการปรับตัวไว้ว่า การปรับตัวเป็นภาวะของ ความสัมพันธ์ที่กลมกลืนกันกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งบุคคลจะได้รับ ความพึงพอใจในการตอบสนองทั้งกายและทางสังคม การปรับตัว
  • 32. โคลแมน ( Coleman, 1981 : 109) กล่าวว่า การปรับตัว หมายถึง ผลของความพยายามของบุคคลที่พยายามปรับสภาพปัญหาที่ เกิดขึ้นแก่ตน ไม่ว่าปัญหานั้นจะเป็นปัญหาด้านบุคลิกภาพ ด้าน ความต้องการหรือด้านอารมณ์ให้เหมาะกับสภาพแวดล้อมที่บุคคล นั้นอยู่ เบอร์นาด ( Bernard, 1960 ) ให้ความหมายของการปรับตัวว่า เป็นการที่บุคคลสามารถปรับตัวให้เข้ากับตนเองและโลกภายนอก ได้อย่างดี ความพึงพอใจ ความแจ่มใสอย่างสูงสุด มีพฤติกรรมที่ เหมาะสมกับสภาพสังคม มีความสามารถที่จะเผชิญและยอมรับ ความจริงของชีวิต ความหมายของการปรับตัว (ต่อ)
  • 33. - การดาเนินงาน - ความพยายาม อุปสรรค / สภาพการณ์ ที่สร้าง ความตึงเครียดทางอารมณ์ เป้าหมาย การปรับตัว ได้ ไม่ได้ เปลี่ยนเป้าหมาย หรือหนี
  • 35. ความคับข ้องใจ(Frustration) ความคับข้องใจ หมายถึง สภาวะอารมณ์ที่ไม่พึงพอใจ ไม่สบายใจ เมื่อบุคคลไม่สามารถตอบสนองความ ต้องการของตนเองได้ ความคับข้องใจ หมายถึง สภาพของจิตใจ หรือ ความรู้สึกไม่พึงพอใจอันเป็นผลสืบเนื่องมาจากความ ปรารถนาที่บุคคลมุ่งหวังนั้นถูกขัดขวาง ทาให้ไม่สามารถบรรลุในเป้าหมายได้
  • 36. ความขัดแย ้งในใจ (Conflict)  เป็นสภาพการณ์ที่เกิดจากการมีเป้าหมายให้เลือกอย่างน้อย 2 เป้าหมาย ซึ่งถ้าเลือกอย่างหนึ่งแล้วจะไม่ได้อีกอย่างหนึ่ง สถานการณ์เช่นนี้ทาให้บุคคลมีความขัดแย้งในใจ ย่อมก่อให้ เกิด ความคับข้องใจได้ ความขัดแย้งในใจ หมายถึง สภาพของจิตใจหรือความ รู้สึกลาบากใจ อึดอัดใจหนักใจ อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการ ที่ต้องตัดสินใจเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่งจากสภาพการณ์ที่เขาเผชิญอยู่
  • 37. ความขัดแย ้งในใจ  มีลักษณะ 4 แบบ  1.Approach – Approach Conflict  2.Avoidance – Avoidance Conflict  3.Approach – Avoidance Conflict  4.Double Approach – Avoidance Conflict
  • 38. 1. ความขัดแย ้งบวก - บวก (Approach – Approach Conflict)  ความขัดแย้งในใจเนื่องจากไม่สามารถเลือก เป้าหมายอันใดอันหนึ่งจากเป้าหมายที่ปรารถนา อย่างน้อยสองประการขึ้นไป เช่น  “ รักหญิงสาวพร้อมๆกันสองคน แต่ต้องเลือก คนใดคนหนึ่ง”
  • 39. 2. ความขัดแย ้งลบ – ลบ (Avoidance – Avoidance Conflict) ความขัดแย้งในใจเนื่องจากไม่สามารถเลือกเป้าหมายอันใดอันหนึ่งจาก เป้าหมายที่ไม่น่าปรารถนาอย่างน้อยสองประการขึ้นไป เช่น  “เด็กป่วยต้องเลือกระหว่างรับประทานยากับฉีดยา”  “บางคนต้องเลือกระหว่างงานที่เงินเดือนน้อยกับการไม่มีงานทา”  “นักเรียนบางรายต้องเลือกระหว่างการให้พ่อแม่เป็นหนี้กู้เงินส่งเรียน กับการเป็นหนี้ กยศ. ด้วยตนเอง”
  • 40. 3. ความขัดแย ้งบวก - ลบ (Approach – Avoidance Conflict) ความขัดแย้งในใจเนื่องจากไม่สามารถเลือก เป้าหมายที่ประกอบด้วยสิ่งที่น่าปรารถนาและไม่น่า ปรารถนาผสมผสานกันอยู่ เช่น  “หญิงสาวชอบขนมหวานแต่กลัวอ้วน”  “ชายหนุ่มต้องการแต่งงานแต่กลัวความรับผิดชอบ ในชีวิตสมรส”
  • 41. 4. ความขัดแย้งทั้งชอบและไม่ชอบในตัวเลือกทั้งคู่ (Double Approach – Avoidance Conflict) เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเลือกระหว่างของสองสิ่งที่มี ทั้งที่ชอบและไม่ชอบ เช่น  “จะเลือกไปทางานที่บริษัทไหนดี บริษัท ก. เงินเดือนสูงมาก แต่อยู่ไกลบ้าน และต้องทางานวันเสาร์ด้วย บริษัท ข. เงินเดือนไม่สูงมากนัก แต่อยู่ใกล้บ้าน และได้หยุดวันเสาร์ด้วย”
  • 42. นักจิตวิทยาได้ทาการทดลองกับหนูและสรุปผลการวิจัยในพฤติกรรมที่ต้องตัดสินใจ เลือก ดังนี้  - เมื่อเข้าใกล้สิ่งล่อใจทางบวกมากขึ้นเท่าใด บุคคลก็ยิ่งมีแนวโน้มในการ เข้าไปหามากขึ้นหรือมีพลังความปรารถนาเข้มข้นขึ้น  - เมื่อเข้าใกล้สิ่งล่อใจทางลบมากขึ้นเท่าใด บุคคลก็ยิ่งมีแนวโน้มในการ หลีกหนีมากขึ้นหรือมีพลังความไม่ปรารถนาเพิ่มมากขึ้น  - เมื่อเข้าใกล้สิ่งล่อใจทางบวกและทางลบในระยะทางที่เท่ากัน บุคคลมี แนวโน้มที่จะหลีกหนีสูงกว่าแนวโน้มในการเข้าไปหา หรือพลังความ ไม่ปรารถนาจะมีความเข้มข้นกว่าพลังของความปรารถนา  - แนวโน้มทั้งในด้านการเข้าไปหาและการหลีกหนี บุคคลจะมีแนวโน้มใน ทางใดมากกว่ากันขึ้นอยู่กับแรงขับของอินทรีย์ในขณะนั้น
  • 43. ในสังคมปัจจุบัน บุคคลต้องเผชิญกับความขัดแย้งใน ใจที่ต้องเลือกตัวเลือกที่ดีพอกัน ไม่ดีพอกัน หรือมีทั้ง ดีและไม่ดีในตัวมันเอง ซึ่งทาให้ยากต่อการตัดสินใจ ทาให้บุคคลต้องปรับตัวในการเลือกปฏิบัติอย่างใด อย่างหนึ่งอยู่เสมอ ความขัดแย้งในใจนี้ถ้าแก้ไขไม่ สาเร็จ อาจมีผลทาให้บุคคลนั้นมีความวิตกกังวลสูง กลายเป็นคนเครียดและก่อให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพ กาย และสุขภาพจิต สรุป
  • 44. ความกดดัน (Pressure)  ความกดดัน คือ สภาพการณ์ที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลหรือ สิ่งแวดล้อมที่ทาให้การไปสู่เป้าหมายของเขาสับสนวุ่นวาย เพิ่มขึ้น  ความกดดัน หมายถึง สภาพการณ์ที่บังคับ หรือเรียกร้องให้ บุคคลจาเป็นจะต้องกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เช่น “การแข่งขันเพื่อให้ได้ชัยชนะ”
  • 45. แบบของการตอบโต้ความตึงเครียดทางอารมณ์  การตอบโต้ความตึงเครียดทางอารมณ์ของบุคคล อาจแบ่ง ได้เป็น 3 แบบตามความแตกต่างของการแสดงออก คือ  1. การสร้างพลังเพื่อเผชิญปัญหา  2. ความพยายามที่จะกระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพื่อเผชิญปัญหา  3. การใช้กลไกการป้องกันตนเอง
  • 46. การสร้างพลังเพื่อเผชิญปัญหา  การสร้างพลังเพื่อเผชิญปัญหา ช่วยลดความตึงเครียดและ ความวิตกกังวล และช่วยเสริมสร้างความสมดุลทางจิตใจ มักแสดงออกในรูปแบบต่างๆ ดังนี้  การร้องไห้  การพูดระบายความรู้สึก  การหัวเราะ  การคิดทบทวน  การแสวงหาที่พึ่งทางใจ  การหลับและการฝัน
  • 48. การใช้กลไกการป้องกันตนเอง ลักษณะของกลไกการป้องกันตนเอง คือ  1. เป็นวิธีการที่บุคคลพยายามคุ้มครองและคงไว้ซึ่งศักดิ์ศรี ของตน  2. เป็นวิธีการที่บุคคลปกป้องตนจากภัยคุกคามทั้งจากภายนอก และภายใน  3. เป็นวิธีการที่มีคุณลักษณะทั้งในทางบวกและลบ  4. กลไกในการป้องกันตนเองทุกชนิดมีลักษณะร่วม คือ การหลอก ตัวเองซึ่งแสดงออกในรูปการปฏิเสธความต้องการ การปลอมแปลง
  • 49. ลักษณะการปรับตัวของเด็กปกติ  เด็กปกติ หมายถึง เด็กที่มีการพัฒนาหรือเจริญงอกงาม ตามวุฒิภาวะแห่งวัย ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา มีบุคลิกภาพที่พึงปรารถนา และมีการ แสดงออกทางพฤติกรรมอันพึงประสงค์ เนื่องจากการ ปรับตัวให้เข้ากับบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ ต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
  • 50. ลักษณะการปรับตัวของเด็กปกติ 1. มีความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น 2. มีความสามารถในการพัฒนา “ตน” (Self) 3. มีความเชื่อมั่นและความรู้สึกมั่นคง 4. มีความกล้าที่จะเผชิญความจริงในชีวิต 5. มีลักษณะอบอุ่นเป็นมิตร 6. รู้จักรักษาอนามัยและสุขภาพร่างกายเสมอ
  • 51. 7. มีความรู้สึกตระหนักในหน้าที่ที่ปฏิบัติ 8. พร้อมที่จะรับประสบการณ์ใหม่ๆ และสนใจกิจกรรมรอบตัว 9. ปราศจากนิสัยในทางจิตที่กระทบกระเทือนบุคลิกภาพ 10. มีความสามารถในการปรับตัวได้ดี 11. มีความร่าเริงแจ่มใส 12. มีพฤติกรรมเหมาะสมกับวัย ลักษณะการปรับตัวของเด็กปกติ (ต่อ)
  • 52. ลักษณะการปรับตัวของเด็กมีปัญหา  เด็กมีปัญหา หมายถึง เด็กที่มีความเจริญงอกงาม และพัฒนาแตกต่างไปจากเด็กปกติอื่นๆ อย่างชัดเจน ในด้านใดด้านหนึ่งหรือหลายๆ ด้าน อาทิเช่น ด้าน สติปัญญา ด้านความสามารถในการเรียน ด้าน ร่างกาย ด้านการพูด ด้านการมองเห็น หรือด้าน อารมณ์ เป็นต้น
  • 53. พฤติกรรมการปรับตัวของเด็กที่มีปัญหา  โรเบริท์ เอช วูดดี้ (Robert H. Woody. 1969) อธิบายถึงพฤติกรรมการปรับตัว ของเด็กที่มีปัญหาว่ามีลักษณะดังต่อไปนี้  1. ด้านการเรียนรู้และความจา ขาดความสามารถในการเรียนรู้และความจา  2. ลักษณะของบุคลิกภาพไม่เหมาะสม  3. มีปัญหาด้านการรับรู้ มีการรับรู้ที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง  4. มีอารมณ์อ่อนไหวง่าย อารมณ์ไม่คงที่ มีปัญหาทางระบบประสาท  5. ความสามารถทางสังคมด้อย  6. มีความรู้สึกที่ไม่ดีต่อตนเอง มีความวิตกกังวลสูง  7. มีลักษณะทางสังคมและอารมณ์ไม่พึงประสงค์ มีพฤติกรรมก้าวร้าว  8. มีพฤติกรรมที่แสดงถึงการขาดวุฒิภาวะ และถอยหนีสังคม
  • 54. สรุป  การปรับตัวเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญกับคนทุกคน ซึ่งจะต้องเกี่ยวข้องกับการพัฒนาบุคลิกภาพ บุคคลที่ประสบ ความสาเร็จในการปรับตัว จะสามารถสร้างบุคลิกภาพที่ดี ดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข  ความสามารถในการปรับตัวเป็นการแสดงให้เห็นถึงการมี สุขภาพจิตดี โดยเฉพาะวัยเด็ก ซึ่งถือว่าอยู่ในช่วงสาคัญใน การปรับตัวสู่สังคมภายนอก ซึ่งจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่สมบูรณ์ มี บุคลิกภาพและการปรับตัวที่ดี