SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
1

ข้อ สอบกระบวนวิช า PSY1001 (PC 103) จิต วิท ยาทั่ว ไป
คำา สั่ง ให้น ัก ศึก ษาเลือ กคำา ตอบที่ถ ูก ต้อ งที่ส ุด เพีย งคำา ตอบ
เดีย ว (ข้อ สอบมีท ั้ง หมด 120 ข้อ )
ข้อ 1. -- 3. จงใช้ต ัว เลือ กต่อ ไปนี้ต อบคำา ถาม
(1) การสังเกต (Observation)
(2) การสำารวจ
(Survey)
(3) การทดลอง (Experimentation)
(4) การทดสอบทางจิตวิทยา (Psychological Testing)
(5) การศึกษาประวัติรายกรณี (Case Study)
1. เป็นวิธีที่ทำาให้แน่ใจได้ว่าอะไรเป็นสาเหตุให้เกิดพฤติกรรม
ตอบ 3 การทดลอง (Experimentation) เป็นวิธีการศึกษาที่
ทำาให้วิชาจิตวิทยาได้รับการยอมรับ
ว่าเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง เพราะเป็นการศึกษาถึงเหตุและผล
โดยผู้ทดลองจะสร้าง
เหตุการณ์บางอย่างขึ้นมาหรือเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมตามที่
ต้องการศึกษาซึ่งเรียกว่า “ตัว
แปรอิสระ” หรือ “ตัวแปรต้น” (สาเหตุของพฤติกรรมหรือศึกษาผล
ของการเปลี่ยนแปลง
นั้น ๆ ซึ่งเรียกว่า “ตัวแปรตาม” (ผลของพฤติกรรม) ข้อดีของการ
ทดลองคือ สามารถ
ควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุของพฤติกรรม ทำาให้แน่ใจได้
ว่าอะไรเป็นสาเหตุ
อะไรเป็นผล
2. นักจิตวิทยาสนใจพฤติกรรมใดก็จะเฝ้าติดตามไปเรื่อย ๆ
ตอบ 1 การสังเกต (Observation) เป็นการแสวงหาข้อเท็จจริง
โดยการเฝ้ามองปรากฏการณ์
หรือสถานการณ์ตามที่เป็นจริง โดยที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัว แล้วจึง
บันทึกรายละเอียดไว้ ซึ่ง
เป็นวิธีที่จะช่วยให้เจ้าใจพฤติกรรมของคนในสภาพแวดล้อมตาม
ธรรมชาติมากที่สุด
2

3. นักจิตวิทยาทำาการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง แทนการศึกษา
จากประชากรทั้งหมด
ตอบ 2 การสำารวจ (Survey) เป็นวิธีการศึกษาทางจิตวิทยาที่เน้น
การศึกษาลักษณะบางลักษณะ
ของบุคคลบางกลุ่มที่ถูกเลือกให้เป็นตัวแทนของประชากรที่
ต้องการศึกษาด้วยการออก
แบบสอบถามให้ตอบหรือโดยการสัมภาษณ์ และนำาคำาตอบที่ได้ไป
ประมวลผลด้วยวิธีการ
ทางสถิติ
ข้อ 4. - 7. จงให้ต ัว เลือ กต่อ ไปนี้ต อบคำา ถาม
(1) กลุ่มโครงสร้างของจิต
(3) กลุ่มจิตวิเคราะห์
(4) กลุ่มมนุษยนิยม

(2) กลุ่มพฤติกรรมนิยม
(5) กลุ่มหน้าที่ของจิต

4. นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้เชื่อว่ามนุษย์ต้องการพัฒนาตนเองให้ถึง
Self-actualization
ตอบ 4 กลุ่มมนุษยนิยม (Humanistic Psychology) จะเน้นใน
เรื่องของเสรีภาพความต้องการ
ความรัก ความมีศักดิ์ศรีในตนเอง การมีความคิดสร้างสรรค์ และที่
สำาคัญที่สุดก็คือ
มนุษย์มีความต้องการเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ (Selfactualization) ซึ่งเป็นความ
ต้องการที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเองให้ถึงขีดสูงสุด ซึ่งนัก
จิตวิทยาในกลุ่มนี้ ได้แก่
คาร์ล โรเจอร์ และอับราฮัม มาสโลว์
5. นักจิตวิทยาที่สำาคัญในกลุ่มนี้ก็คือ จอห์น บี. วัตสัน
ตอบ 2 กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) จะปฏิเสธเรื่องจิต
โดยสิ้นเชิง แต่จะให้ความสำาคัญ
ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง และเชื่อ
ว่าการวิเคราะห์พฤติกรรม
3

ภายนอกให้กระจ่างจะช่วยให้เข้าใจบุคคล ซึ่งนักจิตวิทยาที่สำาคัญ
ในกลุ่มนี้ คือ จอห์น บี.
วัตสัน และ บี.เอฟ. สกินเนอร์
6. กลุ่มนี้เชื่อว่าจิตประกอบด้วย Sensation, Feeling และ
Image
ตอบ 1 กลุ่มโครงสร้างของจิต (Structuralism) จะให้ความ
สนใจศึกษาองค์ประกอบของ
จิตสำานึก 3 ลักษณะ คือ การรับสัมผัส (Sensation), ความรู้สึก
(Feeling) และมโน
ภาพ (Image) โดยใช้วิธีการศึกษาที่เรียกว่า การมองภายใน
(Introspection) และ
วิธีการสังเกต-ทดลอง
7. การเสนอวิธีบำาบัดจิตโดยให้ความสำาคัญจิตไร้สำานึก
(จิตใต้สำานึก)
ตอบ 3 กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) เกิดจากแนวความ
คิดของซิกมันต์ ฟรอยด์ โดย
เขาได้อธิบายว่า บุคลิกภาพของบุคคลพัฒนามาจากแรงจูงใจไร้
สำานึก ซึ่งสิ่งที่อยู่ในจิต
ส่วนที่ไร้สำานึก ได้แก่ ความปรารถนา แรงขับทางเพศ และความ
ก้าวร้าว เมื่อถูกเก็บกด
จะปรากฏออกมาในรูปของความฝัน ความขัดแย้งใจ และการพูด
พลั้งปาก ซึ่งฟรอยด์ได้
เสนอวิธีบำาบัดรักษาทางจิตที่เรียกว่า จิตวิเคราะห์ โดยให้ความ
สำาคัญกับจิตใจสำานึกว่า
เป็นแหล่งของความคิด แรงกระตุ้น และความปรารถนาที่ซ่อนเร้น
อยู่ของมนุษย์
8. จิตวิทยา คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเรื่องใด
(1) การโน้มน้าวจิตใจ
(3) คุณธรรมจริยธรรม
(4) พฤติกรรมของมนุษย์
ประสาท

(2) การทำางานของร่างกาย
(5) การทำางานของระบบ
4

ตอบ 4 จิตวิทยา (Psychology) คือ วิชาหรือศาสตร์ที่ว่าด้วยการ
ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์
และกระบวนการของจิต ซึ่งต้องอาศัยวิธีการศึกษาเชิง
วิทยาศาสตร์ในการค้นหาความรู้ด้วย
การสังเกต ทดลอง สำารวจ ศึกษาสหพันธ์ ใช้วิธีการทางคลินิก
และสรุปสิ่งที่ค้นพบอย่าง
เป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำาความรู้นั้นมาอธิบาย ทำาความ
เข้าใจ พยากรณ์หรือ
ทำานายควบคุม และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้น ๆ
9. การกะพริบตาเมื่อถูกลมพัด การถอยเท้าหนีเมื่อเหยียบก้นบุหรี่
เป็นลักษณะอะไร
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)

วงจรปฏิกิริยาสะท้อนที่เล็กที่สุด
การตอบสนองอัตโนมัติของระบบประสาท
เป็นการเรียนรู้จากสภาพที่เกิดขึ้นจริง
เป็นการแสดงออกทางกายโดยการสั่งของสมอง
เป็นการทำางานของระบบกล้ามเนื้อ

ตอบ 1 วงจรปฏิกิริยาสะท้อน (Simple Reflex Action) ถือว่า
เป็นวงจรที่เล็กที่สุดของกลไกการ
ตอบสนอง ซึ่งเป็นการแสดงออกทางร่างกายโดยอัตโนมัติโดยที่
สมองไม่ต้องสั่งงานแต่วงจร
ของกระแสประสาทจะผ่านเฉพาะไขสันหลังเท่านั้น เช่น การ
กะพริบตาเมื่อถูกลมพัดการ
ถอยเท้าหนีเมื่อเหยียบก้นบุหรี่ การยกมือออกเมื่อจับโดนกานำ้า
ร้อน เป็นต้น
10. อวัยวะภายในของร่างกาย เช่น กระเพาะอาหาร, ลำาไส้ เป็น
กล้ามเนื้อและมีลักษณะการทำางานแบบ
ใด
(1)
(2)
(3)
(4)

กล้ามเนื้อลายทำางานภายใต้อำานาจจิตใจ
กล้ามเนื้อเรียบทำางานนอกอำานาจจิตใจ
กล้ามเนื้อหัวใจทำางานนอกอำานาจจิตใจ
กล้ามเนื้อลายทำางานนอกอำานาจจิตใจ
5

(5) กล้ามเนื้อเรียบทำางานภายใต้อำานาจจิตใจ
ตอบ 2 กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) ประกอบด้วยเซลล์ซึ่ง
มีลักษณะคล้ายกระสวยทอผ้า
คือหัวและท้ายของเซลล์เล็กและแหลมแต่ป่องตรงกลาง โดย
ตัวอย่างของกล้ามเนื้อเรียบ
ได้แก่ กล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร กระเพาะปัสสาวะ สำาไส้ ไต
กะบังลม มดลูก ท่อนำา
ไข่ และอวัยวะภายในอื่น ๆ ซึ่งการทำางานของกล้ามเนื้อเรียบจะ
อยู่นอกอำานาจจิตใจ
(Involuntary Control) เพราะถูกควบคุมโดยระบบประสาท
อัตโนมัติ
11. ระบบประสาทชนิดใดที่ทำาให้ร่างกายมีความสงบและพักผ่อน
การย่อยดี ความดันโลหิตตำ่า
(1) ระบบประสาทอัตโนมัติ
มาติก
(3) ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก
พาเซติก
(5) ระบบประสาทส่วนกลาง

(2) ระบบประสาทโซ
(4) ระบบประสาทซิม

ตอบ 3 ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก (Parasympathetic
Nervous System) เป็นระบบ
ประสาทที่ทำาให้ร่างกายมีความสงบและพักผ่อน การย่อยดี ความ
ดันโลหิตตำ่า ซึ่งการ
ทำางานของระบบนี้จะช่วยทำาให้ร่างกายอยู่ในภาวะสงบ
12. จุดที่ Dendrite ของตัวหนึ่งรับกระแสประสาทจาก Axon
ของอีกเซลล์หนึ่งเรียกว่าอะไร
(1) Simple Reflex Action
(3) Dendrite
(4) Synapse

(2) Neurotransmitter
(5) Nerve Cell

ตอบ 4 ซีแนปส์ (Synapse) คือ จุดที่เดนไดรท์ (Dendrite) ของ
เซลล์ประสาทตัวหนึ่งรับ
6

กระแสประสาทจากแอ๊กซอน (Axon) ของอีกเซลล์หนึ่ง ซึ่งถือว่า
เป็นตัวกำาหนดทิศทาง
เคลื่อนที่ของกระแสประสาท
13. คนที่เป็นโรค Alzheimer แสดงว่าขาดสารสื่อประสาทชนิด
ใด
(1) Gaba
Selotonin
(4) Norepinephrin

(2) Dopamine

(3)

(5) Acetylcholin

ตอบ 5 อะซีทิลโคลีน (Acetylcholin) เป็นสารสื่อประสาทที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องกับการกระตุ้น
ความจำา ถ้าสมองส่วนที่ผลิตสารสื่อประสาทนี้เสียไป จะทำาให้เกิด
โรคความจำาเสื่อม หรือ
โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s Disease) ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการ
หลงลืมและบุคลิกภาพเลื่อน
ลอย โดยเฉพาะในคนชราที่มีอายุ 90 ปี
14. ในช่วยเวลาที่ลมพัดฝุ่นมาเข้าตาเราจะหลับตาอย่างรวดเร็ว
เป็นผลมาจากการเชื่อมโยงของอวัยวะใด
(1) สมอง
ก้านสมอง
(4) ไขสันหลัง

(2) เซลล์ประสาท

(3)

(5) ระบบประสาทลิมบิก

ตอบ 4 ไขสันหลัง (Spinal Cord) เป็นส่วนหนึ่งของระบบ
ประสาทส่วนกลาง ซึ่งอยู่ภายในโพรง
กระดูกสันหลังที่ติดต่อกับสมองโดยตรง และเป็นศูนย์กลางที่สำาคัญ
ของระบบประสาทที่
บริเวณลำาตัวและแขนขา ซึ่งจะทำางานอย่างรวดเร็วมาก เช่น เวลา
ที่ลมพัดฝุ่นมาเข้าตา
เราจะหลับตาอย่างรวดเร็ว เป็นต้น
15. “หนีต ำา รวจโดยการวิ่ง ข้า มประตูร ั้ว สูง ๆ หรือ กระโดด
ลงมาจากชั้น 2” เป็นผลมาจากการทำางาน
ของต่อมใด
7

(1) Pituitary
(4) Thyroid

(2) Gonad
(5) Parathyroid

(3) Adrenal

ตอบ 3 ต่อมหมวกไตหรือต่อมแอดรีนัล (Adrenal Gland) มี 2
ชั้น คือเปลือกต่อมหมวกไต
และแกนในต่อมหมวกไต โดยแกนในต่อมหมวกไตจะสร้าง
ฮอร์โมนสำาคัญชนิดหนึ่งคือ
แอดรีนาลิน (Adrenalin) ซึ่งจะหลั่งออกมาเมื่อร่างกายอยู่ใน
ภาวะฉุกเฉิน ตื่นเต้น
เคร่งเครียด ต่อสู้ หิวกระหาย เจ็บปวด หรือเมือออกกำาลังกาย
่
16. “ฮอร์โมนที่ควบคุมระดับในเลือดให้มีความคงที่พอดี” คือต่อม
ใด
(1) Pituitary
Adrenal
(4) Gonad

(2) Pancreas

(3)

(5) Thyroid

ตอบ 2 ตับอ่อนหรือต่อมแพนเครียส (Pancreas) จะทำาหน้าที่เป็น
ทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อโดย
จะผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญคือ อินซูลิน (Insulin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่
ควบคุมระดับนำ้าตาลใน
เลือดให้เข้มข้นพอดี ถ้าตับอ่อนผลิตฮอร์โมนอินซูลินในระดับตำ่า
จะทำาให้เกิดอาการของ
โรคเบาหวานขึ้นมาได้
17. ฮอร์โมนที่ทำาหน้าที่กระตุ้นให้ฮอร์โมนจากต่อมอื่นภายใน
ร่างกายทำางานคือต่อมใด
(1) Pituitary
Adrenal
(4) Gonad

(2) Pancreas

(3)

(5) Thyroid

ตอบ 1 ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) เป็นตอมไร้ท่อที่มีความ
สำาคัญที่สุดของร่างกายเพราะ
8

สร้างฮอร์โมนหลายชนิดเพื่อไปควบคุมการทำางานหรือควบคุมการ
ผลิตฮอร์โมนของต่อมไร้
ท่ออื่น ๆ ซึ่งเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า มาสเตอร์แกลนด์ (Master
Gland) โดยมีฮอร์โมนที่
สำาคัญคือโกร๊ธฮอร์โมน ซึ่งจะทำาหน้าที่กระตุ้นการเจริญเติบโต
ของร่างกายและต่อมนำ้านม
18. กระบวนการรับสัมผัสมีความสำาคัญอย่างไร
(1) เป็นจุดเริ่มต้นของแรงจูงใจ
ข้อมูลดิบเพื่อส่งให้สมอง
(3) เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
การตอบสนอง
(5) เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา

(2) ทำาการเปลี่ยน
(4) เกี่ยวข้องกับ

ตอบ 2 กระบวนการรับสัมผัส เป็นกระบวนการที่ประสาทสัมผัสทั้ง
5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และ
ผิวหนังรับสิ่งเร้าจากภายนอกมาสู่ระบบประสาท แล้วทำาการ
เปลี่ยนข้อมูลดิบ เพื่อส่งให้
สมองและเปลี่ยนเป็นการรับรู้
19. กระบวนการรับรู้ทำางานอย่างไร
(1)
(2)
(3)
(4)

จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ
เลือก จัด และตีความข้อมูลจากการสัมผัส
ตัดสินใจเพื่อตอบสนอง
เกี่ยวข้องกับการรับข้อมูลที่สัมผัส

(5) ถูกทุกข้อ

ตอบ 2 กระบวนการรับรู้ เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากการสัมผัส
โดยการรับรู้จะมุ่งไปที่ความ
เข้าใจ และการแปลความหมายของสิ่งเร้าที่มากระทบประสาท
สัมผัส ดังนั้นกระบวนการ
รับรู้จึงเป็นการเลือก จัด และตีความข้อมูลจากการสัมผัส ซึ่งจะขึ้น
อยู่กับประสบการณ์ใน
อดีต การเรียนรู้สภาพจิตใจในปัจจุบัน ตลอดจนการรูปแบบสิ่งเร้า
นั้น ๆ
9

20. ธรรมชาติของการรับสัมผัสและการรับรู้ของเราเป็นอย่างไร
(1) เราไม่สามารถรับสัมผัสทุกอย่างในโลกได้เนื่องจากมนุษย์มีข้อ
จำากัด
(2) การรับสัมผัสจะไม่เกิดขึ้นกับคลื่นแสงที่มีขนาด 500 นาโน
มิเตอร์
(3) เราเลือกที่จะรับสัมผัสได้
(4) เราเลือกที่จะรับรู้ไม่ได้
(5) สัมผัสผิวกายของเรา ได้แก่ กด เจ็บ ร้อน เย็น
ตอบ 1 ธรรมชาติของการรับสัมผัสและการรับรู้ของเรานั้น เราไม่
สามารถรับสัมผัสทุกอย่างในโลก
ได้เนื่องจากคลื่นที่สายตามนุษย์รับได้มีขีดจำากัดอยู่เพียงระยะ
ประมาณ 380 - 780 นาโน
มิเตอร์ (นม.) เท่านั้น นอกจากนี้เราเลือกที่จะรับสัมผัสไม่ได้ แต่
เราเลือกที่จะรับรู้ได้
21. การทำางานของเซลล์ประสาทรอดส์กับโคนส์เป็นอย่างไร
(1) รอดส์กับโคนส์จะทำางานพร้อมกันในเวลากลางวัน
(2) รอดส์จะเหมาะกับการทำางานในที่สว่างจ้ามากกว่าโคนส์
(3) รอดส์จะเหมาะกับการทำางานในขณะที่แสงสลัวมากกว่าโคนส์
(4) รอดส์จะทำางานกับคลื่นแสงนำ้าเงิน-เหลือง ขณะที่โคนส์ทำางาน
กับคลื่นแสงแดง-เขียว
(5) ข้อ1และ 2
ตอบ 3 ที่ผนังของเรตินา (Retina) จะมีเซลล์ประสาทอยู่ 2 ชนิด
คือ
1. รอดส์ (Rods) มีลักษณะเป็นแท่งยาว และไวต่อแสงขาวดำา จึง
เป็นเซลล์ที่รับแสงสลัวใน
เวลากลางคืน
2. โคนส์ (Cones) มีลักษณะสั้น เป็นรูปกรวย และไวต่อแสงที่
เป็นสี ช่วยทำาให้รับภาพสีได้
ดีจึงเป็นเซลล์ที่รับแสงจ้าในเวลากลางวัน ดังนั้นคนตาบอดสีจึงไม่
มีโคนส์อยู่ที่เรตินาเลย
22. นักจิตวิทยาพบปรากฏการณ์ความคงที่ในการรับรู้เรื่องใด
10

(1) สี
(2) ขนาด
(3) รูปร่าง
(4) ข้อ 1 และ 2
(5) ข้อ 1,2 และ 3
ตอบ 5 ปรากฏการณ์คงที่ (Constancy) เป็นธรรมชาติของเรื่อง
ราวการรับรู้และการเห็นนั่นคือ
การที่ตาเห็นเพียงส่วนหนึ่ง แต่ความเข้าใจในการรับรู้ยังอยู่ใน
สภาพเดิม ซึ่งแบ่งเป็น 3
ชนิด คือ
1. การคงที่ของสี เช่น การที่เรามองเห็นหาดทรายในเวลากลาง
คืนยังคงเป็นสีขาว ฯลฯ
2. การคงที่ของขนาด เช่น มองจากตึกสูงเห็นคนตัวเท่ามด แต่เรา
ก็ยังรู้ว่าคนมีขนาดเท่า
เดิม ฯลฯ
3. การคงที่ของรูปร่าง เช่น การเห็นเพียงแค่สันหนังสือ เราก็ยัง
รับรู้ว่าเป็นหนังสือ ฯลฯ
23. ดีเนสเตซีสคือสัมผัสในเรื่องใด
(1) ความเจ็บปวด
(3) การทรงตัว
(4) ความลึก

(2) การเคลื่อนไหว
(5) ความคงที่

ตอบ 2 สัมผัสดีเนสเตซีส (Kinesthesis Sense) คือ ประสาท
เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและ
กล้ามเนื้อรับสัมผัสต่าง ๆ ซึ่งทำาให้เราทราบถึงการเคลื่อนไหวของ
ร่างกายว่าอยู่ในสภาพ
ตำาแหน่ง ท่วงท่า หรือทิศทางใด
24. คลื่นเสียงมีคุณสมบัติอย่างไร
(1) ความถี่และเฮิรตซ์
(3) ความถี่และความแรง
(4) ความดังและความเข้ม

(2) ความแรงและเดซิเบล
(5) ข้อ 1 และ 2

ตอบ 3 กระแสเสียงหรือคลื่นเสียง (Sound Wave) มีคุณสมบัติ 2
ประการ คือ ความถี่
11

(Frequency) และความแรง (Amplitude) ของคลื่น
25. เราจะรับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดมากหรือน้อยได้เกี่ยวข้องกับ
อะไร
(1) ทฤษฎีคุมด่าน
(3) ทฤษฎีปรปักษ์
(4) หลักของเพอร์สเปคทีพ

(2) หลักของภาพและพื้น
(5) ทฤษฎีปฏิกิริยาสะท้อน

ตอบ 1 ทฤษฎีคุมด่าน (Gate Control Theory) เป็นทฤษฎีการ
เจ็บปวดที่เชื่อว่า ไขสันหลัง
เป็นที่รวมของประสาทใหญ่น้อยที่จะส่งไปยังสมองและที่มาจาก
กล้ามเนื้อและผิวหนังอื่น ๆ
ของร่างกาย ซึ่งหากบุคคลมีอาการกลัวความเจ็บปวดในสมอง จะ
ทำาให้เกิดกระแสประสาท
ไปเร้าด่านที่ไขสันหลังทำาให้ด่านเปิดและส่งกระแสที่เจ็บปวดไปยัง
สมองได้
26. นักจิตวิทยานำาหน้าผามายา (Visual Cliff) มาใช้ในการ
ทดลองเกี่ยวกับอะไร
(1) ปรากฏการณ์คงที่
ระยะทาง/ความลึก
(3) การล่วงรู้เหตุการณ์ในอนาคต
ต้องอาศัยดวงตา

(2) การรับรู้
(4) การกะระยะโดยไม่

(5) ผิดทุกข้อ
ตอบ 2 จากการทดลองเกี่ยวกับการรับรู้ความลึกและระยะทางโดย
อาศัยเครื่องมือที่เรียกว่า “หน้า
ผามายา” (Visual Cliff) พบว่าเมื่อเด็กทารกคลานไปถึงกึ่งกลาง
โต๊ะที่เป็นรอยต่อระหว่าง
กระจกโปร่งใสกับที่ทาสีตาหมากรุก (ทำาให้แลเห็นเป็นพื้นที่ 2
ระดับที่มีความสูงตำ่า
ต่างกัน) เด็กจะไม่กล้าคลานออกไป แสดงว่าการรับรู้ความลึกเกิด
ขึ้นได้เองโดยไม่ต้อง
เรียนรู้
12

27. สัมปชัญญะเกี่ยวข้องกับเรื่องใด
(1) อารมณ์
(3) พันธุกรรม
(4) การตอบสนองต่อสิ่งเร้า

(2) สัญชาตญาณ
(5) สภาวะรู้ตัวในขณะปัจจุบัน

ตอบ 5 สัมปชัญญะ หมายถึง การรู้ตัวทั่วพร้อมว่ากำาลังทำา พูด คิด
หรือมีพฤติกรรมใดอยู่โดย
สภาวะที่ร่างกายของบุคคลออกจากสัมปชัญญะหรือขาด
สัมปชัญญะ (การรู้ตัวตำ่า) ได้แก่
การนอนหลับ การหมดสติ การสะกดจิต การใช้ยาเสพติด และการ
นั่งสมาธิภาวนา
28. สภาพจิตใจที่มีความเครียด สับสนวุ่นวาย คิดมาก ฟุ้งซ่าน
คลื่นสมองจะมีคลื่นแบบใด
(1)แอลฟา
แกมมา

(2) เดลตา
(5) ซิกมา

(3) บีตา

(4)

ตอบ 3 ในช่วงตื่น กระแสคลื่นสมองของมนุษย์จะสั้นและถี่ เรียก
ว่า คลื่นบีตา (Beta)
โดยเฉพาะในคนที่มีความเครียด สับสนวุ่นวาย คิดมาก ฟุ้งซ่าน
จะมีแต่คลื่นสมองบีตา
เท่านั้น ส่วน ในช่วงเคลิ้มหลับหรือก่อนนอนหลับ หรือในขณะที่
ร่างกายมีการผ่อนคลาย
เต็มที่ หรือในช่วง เวลาที่นั่งเจริญสมาธิภาวนา กระแสคลื่นสมอง
จะยาวและห่างขึ้น
เรียกว่า คลื่นแอลฟา (Alpha)
29. การขัดขวางไม่ให้มีการนอนหลับทั้งในมนุษย์และสัตว์ จะ
ทำาให้เกิดอาการชนิดใด
(1) REM
Microsleep

(2) Non-REM

(4) Day Dreaming

(5) ฝันร้าย

(3)
13

ตอบ 3 โดยปกติแล้วร่างกายของมนุษย์และสัตว์ต้องการการนอน
หลับพักผ่อนตามปกติ แต่ถ้าการ
นอนหลับนั้นถูกขัดขวางไม่ให้เกิดขึ้น ทั้งคนและสัตว์จะมีการ
สัปหงกเป็นพัก ๆ หรือมี
การหลับเป็นช่วงสั้น ๆ ซึ่งเรียกว่า Microsleep
30. แบบแผนการนอนหลับที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากเดินทางข้าม
ทวีปจากซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลก
หนึ่งเรียกว่าอะไร
(1) Fatigue
EEG
(4) Jet Lag

(2) Sleep Spindle

(3)

(5) MRI

ตอบ 4 นักเดินทางที่ต้องขึ้นเครื่องบินเดินทางข้ามทวีปจากซีก
โลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งมักจะ
เกิดสภาวะที่เรียกว่า Jet Lag คือ ต้องปรับตัวกับเวลาของประเทศ
ที่เดินทางไปถึงใหม่
เนื่องจากแบบแผนการนอนตามธรรมชาติถูกรบกวน
31. กาแฟ บุหรี่ มีผลต่อภาวะการรู้สึกตัวอย่างไร
(1) กดประสาท
(3) กล่อมประสาท
(4) หลอนประสาท

(2) กระตุ้นประสาท
(5) ทำาลายประสาท

ตอบ 2 ยาเสพติดแบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง
ได้ 4 กลุ่ม คือ
1. ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยาระงับ
ประสาท ยากล่อมประสาท
ยานอนหลับ สารระเหย (ทินเนอร์ เนนซีน) และเครื่องดื่มมึนเมา
(เหล้า เบียร์)
2. ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ พวกแอมเฟตามีน (ยาบ้า)
กระท่อม โคเคอีน สาร
นิโคตินในบุหรี่ สารคาเฟอีนในกาแฟหรือชา และยาแก้ปวด
3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี (LSD) ดีเอ็มที (DMT)
และเห็ดขี้ควาย
14

4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน อาจกด กระตุ้น หรือหลอน
ประสาทร่วมกัน ได้แก่ กัญชา
32. คลื่นสมองชนิดใดปรากฏขณะที่บุคคลกำาลังเจริญสมาธิ
(1) ควอนตัม
(3) บีตา
(4) แอลฟา

(2) แกมมา
(5) ถูกทุกข้อ

ตอบ 4 ดูคำาอธิบายข้อ 28. ประกอบ
33. LSD เป็นยาเสพติดลักษณะใด
(1) กระตุ้นประสาท
(3) หลอนประสาท
(4) ออกฤทธิผสมผสาน
์

(2) กดประสาท
(5) ถูกทุกข้อ

ตอบ 3 ดูคำาอธิบายข้อ 31. ประกอบ
34. แอลแลน ฮอบซัน และคณะ อธิบายเกี่ยวกับความฝันไว้
อย่างไร
(1) เป็นการแสดงออกของความต้องการในระดับจิตใต้สำานึก
(2) เป็นเรื่องของความวิตกกังวลและความแปรปรวนของธาตุ
(3) เป็นเรื่องของความคิดคำานึงและความรู้สึกที่ต่อเนื่องจากกลาง
วัน
(4) เป็นเรื่องของกระบวนการทางสรีรวิทยาล้วน ๆ ไม่เกี่ยวกับ
จิตใต้สำานึก
(5) เป็นการส่งผ่านของประสบการณ์ย้อนยุคจากบรรพบุรุษที่นอก
เหนือจากการรับรู้ในปัจจุบัน
ตอบ 4 Activation-synthesis Hypothesis เป็นทฤษฎีความ
ฝันในปัจจุบันที่กำาเนิด โดย
นักวิทยาศาสตร์ 2 คน คือ แอลแลน ฮอบซัน และโรเบิร์ต แมคคา
เลย์ ซึ่งเชื่อว่า ความ
ฝันเป็นกระบวนการทางสรีรวิทยาล้วน ๆ ไม่เกี่ยวกับจิตใต้สำานึก
แต่อย่างใด กล่าวคือ
15

ในช่วงของการนอนหลับที่มี REM เกิดขึ้น เซลล์ในสมองจะถูก
กระตุ้นให้ทำางานตลอด
ช่วงเวลาที่บุคคลกำาลังฝันอยู่
35. เอาสติมาจับที่ลมหายใจ เมื่อหายใจเข้าภาวนาว่า “พุท” เมื่อ
หายใจออกภาวนาว่า “โธ” เป็น
วิธีการฝึกสมาธิแบบใด
(1) พอง-ยุบ
(3) ธรรมกาย
(4) เซน (5) เต๋า

(2) อานาปานสติ

ตอบ 2 วิธีอานาปานสติ หมายถึง การเอาจิตมาจับที่ลมหายใจของ
ผู้ปฏิบัติ ซึ่งอาจเอาสติมา
ตั้งไว้ที่ปลายจมูก เมื่อหายใจเข้าก็ใช้คำาบริกรรมภาวนาว่า “พุท”
และเมื่อหายใจ
ออกก็ให้ภาวนาว่า “โธ” และมีสติอยู่ที่ลมหายใจเข้าออกตลอด
เวลา เพื่อไม่ให้จิตส่ง
ส่ายออกไปภายนอก
36. กรณีที่มีโครโมโซมเพศผิดปกติจะส่งผลอย่างไร
(1) อาการปัญญาอ่อน
(3) รูปร่างใหญ่ผิดปกติ
(4) เป็นหมัน

(2) รูปร่างแคระแกร็น
(5) ถูกทุกข้อ

ตอบ 5 กรณีที่มีโครโมโซมเพศผิดปกติจะส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อ
บุคคลในด้านต่าง ๆ คือ
1. ด้านร่างกาย เช่น ทำาให้มีรูปร่างแคระแกร็นหรือมีรูปร่างใหญ่
ผิดปกติ ผูหญิงบางคนอาจ
้
ไม่มีหน้าอก ไม่มีประจำาเดือน และเป็นหมัน ฯลฯ
2. ด้านสติปัญญา เช่น ทำาให้มีอาการของโรคปัญญาอ่าน ฯลฯ
37. การขาดออกซิเจนเป็นเวลาเท่าใดที่มีผลให้เซลล์สมองของ
ทารกถูกทำาลาย
16

(1) 18 วินาที
(5) 10 นาที

(2) 30 วินาที

(3) 1 นาที

(4) 4 นาที

ตอบ 1 สภาวะของการขาดออกซิเจนขณะคลอดมีสาเหตุมาจาก
การที่ทารกคลอดยากหรือรกไม่เปิด
ทำาให้ออกซิเจนเข้าสู่กระแสโลหิตของทารกไม่ได้ ซึ่งหากทารก
ขาดออกซิเจนประมาณ 18
วินาทีเท่านั้น จะมีผลต่อเซลล์สมองทำาให้เซลล์สมองถูกทำาลาย
และถ้าขาดนาน ๆ อาจ
ทำาให้ทารกตายได้
38. สุขภาพจิตของแม่ส่งผลต่อเด็กในครรภ์ได้อย่างไร
(1) ทำาให้เด็กปัญญาอ่อน
ความพิการหูหนวกตาบอด
(3) เด็กเป็นโรคภูมิแพ้
ง่าย
(5) ขาดฮอร์โมนบางชนิด

(2) เด็กเกิด
(4) ร่างกายอ่อนแอติดเชื้อ

ตอบ 1 สุขภาพจิตของแม่ในด้านอารมณ์จะส่งผลต่อเด็กในครรภ์
เป็นอย่างมาก เพราะถ้าแม่มี
อารมณ์เครียดมาก ๆ หรือนาน ๆ จะทำาให้ฮอร์โมนในเลือดไม่
สมดุล ซึ่งเป็นสาเหตุของ
โรคปัญญาอ่อนชนิด Mongolism
39. กีเซลล์ได้ทำาการศึกษาในเรื่องใด
(1) การเรียนรู้ของฝาแฝด
(3) ระยะสำาคัญของวุฒิภาวะ
(4) ประสบการณ์ในระยะฝังใจ

(2) วุฒิภาวะ
(5) ถูกทุกข้อ

ตอบ 2 กีเซลล์ (Gesell) เป็นนักจิตวิทยาที่ศึกษาเรื่องวุฒิภาวะ
หรือความพร้อมของบุคคล
(Maturation) และลักษณะพัฒนาการของทารก โดยเขาเชื่อว่า
“วุฒิภาวะเพียงอย่าง
เดียวที่มีส่วนรับผิดชอบต่อการเจริญเติบโตและความสามารถของ
บุคคล” และ “การเรียนรู้
17

ไม่ว่าลักษณะใดจะไม่ก่อประโยชน์หากร่างกายไม่พร้อมหรือยัง
ไม่มีวุฒิภาวะ”
40. ลอเรนซ์ทำาการทดลองที่พบความสำาคัญในเรื่องใด (ใช้ตัว
เลือกข้อ 39.)
ตอบ 4 ลอเรนซ์ (Lorenz) เป็นผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบ
ฝังใจ (Imprinting) โดยเขา
ได้ทดลองกับห่าน ซึ่งผลปรากฏว่าเมื่อลูกห่านฟักตัวออกจากไข่มา
แล้ว ลูกห่านจะฝังใจ
ตามสิ่งแรกที่เคลื่อนไหวทีมันได้เห็น ทั้งนี้ประสบการณ์การเรียนรู้
แบบฝังใจจะเกิดขึ้นใน
ช่วงเวลาสั้น ๆ และเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ยาก
41. นักจิตวิทยาท่านใดที่กล่าวถึงความสำาคัญของปฏิสัมพันธ์ทาง
สังคมระหว่างเด็กกับบุคคลใกล้ชิด
(1) ฟรอยด์
เพียเจท์
(4) บรูเนอร์

(2) อิริคสัน

(3)

(5) โคลเบิร์ก

ตอบ 2 อิริคสัน (Erikson) เป็นผู้ที่ศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับ
พัฒนาการทางจิตสังคม
(Psychosocial Stages) โดยเน้นความสำาคัญของความสัมพันธ์
และความต้องการทาง
สังคม (ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม) ระหว่างเด็กกับบุคคลใกล้ชิด ด้วย
การศึกษาว่าพัฒนาการ
ทางจิตและสังคมของมนุษย์เกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอดจนกระทั้งการ
สิ้นสุดของชีวิต ซึ่งเขาได้
แบ่งระยะพัฒนาการของคนในแต่ละวัยออกเป็น 8 ระยะด้วยกัน
42. โครโมโซมคู่ใดที่ปกติ
(1) XO
ข้อ 2 และ 3

(2) XY

(3) XX

(4) YY

ตอบ 5 โดยปกติโครโมโซมเพศของมนุษย์จะเป็นดังนี้

(5)
18

1. เพศชาย มีโครโมโซมเพศเป็น XY
2. เพศหญิง มีโครโมโซมเพศเป็น XX
43. เหตุใดจึงเกิดฝาแฝดเหมือน
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)

เกิดเซลล์ปฏิสนธิพร้อมกันมากกว่า 1 เซลล์
เกิดการแบ่งตัวของเซลล์ปฏิสนธิผิดพลาด
สภาพร่างกายของแม่สมบูรณ์มากกว่า
แม่มีอายุน้อยเกินไป
เป็นไปได้ทุกกรณี

ตอบ 2 ฝาแฝด (Twins) แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ
1. ฝาแฝดเหมือนหรือแฝดแท้ (Identical Twins) เกิดจากไข่ 1
ใบ ผสมกับ
สเปิร์มหรืออสุจิ 1 ตัวแล้วเซลล์เกิดการแบ่งตัวเป็นตัวอ่อน 2 ตัว
(เกิดการ
แบ่งตัวของเซลล์ปฏิสนธิผิดพลาด) ฝาแฝดเหมือนจึงเป็นเพศ
เดียวกัน
2. ฝาแฝดคล้ายหรือแฝดเทียม (Fraternal Twins) เกิดจากไข่
2 ใบ ผสมกับ
สเปิร์มหรืออสุจิ 2 ตัว เซลล์แบ่งตัวเป็นอิสระจากกัน (เกิดเซลล์
ปฏิสนธิพร้อมกัน
มากกว่า 1 เซลล์) ฝาแฝด คล้ายจึงอาจมีเพศเหมือนกันหรือต่าง
กันก็ได้
44. ยีนส์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ยกเว้น กรณีใด
(1) Rh แฟคเตอร์
มารดา
(3) การได้รับรังสีบางชนิด
เพศแบบ XXY
(5) การมีโครโมโซมเพศแบบ XYY

(2) สุขภาพจิตของ
(4) การมีโครโมโซม

ตอบ 3 โดยทั่วไปแล้วยีนส์ที่อยู่ในร่างกายของคนเรานั้นจะไม่
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ใน
สภาพการณ์ที่เป็นปกติ แต่อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ด้วยการใช้รังสี
เอกซเรย์ (X-ray) หรือ
19

การใช้ยาบางชนิด
45. การเปรียบเทียบค่าสหสัมพันธ์ของคะแนนสติปัญญาระหว่าง
กลุ่มฝาแฝดเหมือน พ่อกับลูก ฝาแฝด
คล้ายพี่กับน้อง เพื่อตอบคำาถามใด
(1) ความสำาคัญของพัฒนาการ
พันธุกรรม
(3) ความสำาคัญของสิ่งแวดล้อม
การอบรมเลี้ยงดู
(5) ความสำาคัญจองสติปัญญา

(2) ความสำาคัญของ
(4) ความสำาคัญของ

ตอบ 2 การเปรียบเทียบค่าสหสัมพันธ์ของคะแนนสติปัญญาใน
บุคคลที่มีความใกล้ชิดทางพันธุกรรม
ต่าง ๆ กัน เช่น ระหว่างกลุ่มฝาแฝดเหมือน ฝาแฝดคล้าย พ่อแม่
กับลูก พี่กับน้อง
ฯลฯ เพื่อตอบคำาถามในเรื่องความสำาคัญของพันธุกรรมหรือ
อิทธิพลของพันธุกรรมที่มีต่อ
การพัฒนาทางด้านสติปัญญา
46. พฤติกรรมอะไรเกิดมาจากการเรียนรู้
(1) การถ่ายภาพกระแสนำ้าเพื่อวางไข่ของปลาบางชนิด
(2) การไอ
(3) การชักใย
ของแมงมุม
(4) การแยกแยะความแตกต่างของกลิ่นของสุนัข
(5)
การกระตุกมือ
ตอบ 4 การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่ค่อนข้างถาวรของ
พฤติกรรมอันเป็นผล
เนื่องมาจากประสบการณ์ในอดีต เช่น สุนัขดมกลิ่นสามารถแยก
ความแตกต่างของ
ยาเสพติดหรือวัตถุระเบิดออกจากสิ่งอื่น ๆ ได้ แต่พฤติกรรมบาง
อย่างของมนุษย์และสัตว์
ก็ไม่ได้เกิดจากการเรียนรู้ แต่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนซึ่งเป็น
พฤติกรรมการตอบสนองตาม
ธรรมชาติที่มีมาแต่กำาเนิด เช่น การกะพริบตา การกระตุกมือ การ
ไอหรือจาม ฯลฯ และ
20

เกิดจากสัญชาตญาณซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ซับซ้อน ไม่ต้องเรียนรู้
และเป็นลักษณะเฉพาะ
เผ่าพันธุ์ เช่น การว่ายนำ้าของปลา การชักใยของแมงมุม การบิน
ได้ของนก ฯลฯ
47. การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกค้นพบโดยท่านใด
(1) สกินเนอร์
(3) ธอร์นไดค์
(4) พาฟลอฟ

(2) แบนดูรา
(5) เซียร์ส

ตอบ 4 ต้นศตวรรษที่ 20 นักสรีรวิทยาชาวรัสเซียชื่อ อีวาน พา
ฟลอฟ (Ivan Pavlov) ได้
ค้นพบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกซึ่งเกิดขึ้นโดยมีการให้สิ่งเร้าที่
วางเงื่อนไขควบคู่กับสิ่ง
เร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข จนก่อให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ได้วาง
เงื่อนไขขึ้น และเมื่อให้สิ่งเร้า
ทั้ง 2 ลักษณะบ่อย ๆ เข้า สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขจะก่อให้เกิดการ
ตอบสนองขึ้นมาได้เอง
เรียกว่า “การตอบสนองที่วางเงื่อนไข” ซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิด
จากการเรียนรู้
ข้อ 48. - 51. พิจ ารณาจากตัว เลือ กต่อ ไปนี้
(1) สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS)
เงื่อนไข (US)
(3) การตอบสนองที่วางเงื่อนไข (CR)
เหมือน (Generalization)
(5) การหยุดยั้ง (Extinction)

(2) สิ่งเร้าที่ไม่ได้วาง
(4) การสรุปความ

48. แมวเห็นปลาย่างแล้วนำ้าลายไหล
ตอบ 2 สิ่งเราที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus :
US) เป็นสิ่งเร้าที่ไม่ได้เกิดจาก
การเรียนรู้ที่จะตอบสนองต่อสิ่งนั้น และมักทำาให้เกิดการตอบสนอง
แบบปฏิกิริยาสะท้อน
21

เช่น แมวเห็นปลาย่างแล้วนำ้าลายไหล ดังนั้นปลาย่างจึงเป็นสิ่งเร้า
ที่ไม่ได้วางเงื่อนไข
เนื่องจากทำาให้แมวหลั่งนำ้าลายซึ่งเป็นปฏิกิริยาสะท้อน
49. ปลาเลิกช่วยมดทำาขนม เพราะมดไม่ยอมแบ่งขนมให้ปลาอีก
ต่อไป
ตอบ 5 การหยุดยั้งพฤติกรรม (Extinction) คือ การลดลงของ
การตอบสนองที่เรียนรู้แล้ว
เนื่องจากไม่ได้รับการเสริมแรงเป็นเวลานานก่อนที่จะเกิดการหยุด
ยั้งของพฤติกรรม เช่น
ปรากฏการณ์ที่เด็กเลิกงอแงหลังจากที่แม่ทำาเป็นเฉย ๆ และไม่
สนใจต่อการร้องไห้ของเขา
ซึ่งเมื่อทำาเช่นนี้หลาย ๆ ครั้ง พฤติกรรมการร้องงอแงของเด็กก็จะ
ลดลงและหมดไปใน
ที่สุด
50. เล็กเบื่อบ้าน ทุกครั้งที่เข้าบ้านมีแต่เรื่อง
ตอบ 3 การตอบสนองที่วางเงื่อนไข (Conditioned
Response : CR) เป็นการตอบสนองที่เกิด
จากการเรียนรู้ ไม่ใช่ปฏิกิริยาสะท้อนธรรมดา เช่น เด็กจะเกิด
อาการเบื่อบ้าน เพราะทุก
ครั้งที่เข้าบ้านจะพบกับเหตุการณ์พ่อแม่ทะเลาะกันเสมอ เป็นต้น
51. ผูหญิงเหมือนไม้เลื้อยทุกคน
้
ตอบ 4 การสรุปความเหมือน (Generalization) หมายถึง การ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่คล้ายกัน
กับสิ่งที่เร้าที่วางเงื่อนไขเอาไว้แล้ว หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเป็นการ
ขยายผลของการเรียนรู้ไป
ยังสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่คล้ายกัน เช่น เด็กที่ถูกไฟไหม้นิ้วโดย
บังเอิญขณะเล่นไม้ขีดไฟก็
จะกลัวเปลวไฟที่เห็นจากที่จุดบุหรี่ เตาไฟ เตาผิง และอื่น ๆ
เป็นต้น
ข้อ 52.- 54. พิจ ารณาจากตัว เลือ กต่อ ไปนี้
22

(1) อัตราส่วนคงที่
แน่นอน
(3) ช่วงเวลาคงที่
แน่นอน

(2) อัตราส่วนไม่
(4) ช่วงเวลาไม่

52. พนักงานขายประกัน ขายได้มากได้ส่วนแบ่งมาก
ตอบ 1 การเสริมแรงแบบอัตราส่วนคงที่ (Fixed Ratio) คือ การ
ให้การเสริมแรงตามอัตราส่วน
ของการตอบสนองที่คงที่ โดยจะดูจำานวนครั้งของการตอบสนอง
เช่น ให้รางวัลเมื่อมีการ
ตอบสนองทุก 3 ครั้ง ซึ่งการเสริมแรงแบบนี้จะทำาให้อัตราการ
ตอบสนองสูงที่สุด เช่น
การที่พนักงานขายได้รับค่าตอบแทนตามจำานวนของสินค้าที่ขาย
ได้ ดังนั้นพนักงานขายจึง
เร่งทำายอดขายเพื่อให้ได้รับผลตอบแทนมากขึ้น
53. ปีใหม่ปีที่แล้วประชาไม่ได้ของขวัญจากใครเลย
ตอบ 2 การเสริมแรงแบบอัตราส่วนที่ไม่แน่นอน (Variable
Ratio) คือ การให้แรงเสริมต่อการ
ตอบสนองในอัตราที่ไม่แน่นอน จึงทำาให้ยากแก่การทำานายว่าจะ
ได้รับรางวัลเมื่อใด เช่น
บางครั้งตอบสนอง 2 ครั้งจึงได้รางวัล แต่บางครั้งต้องตอบสนอง
ถึง 5 ครั้ง จึงจะได้
รางวัล ซึ่งการเสริมแรงแบบนี้จะทำาให้เกิดการตอบสนองในอัตรา
สูงแต่น้อยกว่าแบบ
อัตราส่วนคงที่ เช่น การเล่นพนันตู้แบบสล็อตแมชีน การซื้อสลาก
กินแบ่งรัฐบาล
54. DJ เพลงประกาศว่า ใครโทรศัพท์เข้าสถานีเป็นรายที่ 100
จะได้ไปเที่ยวเชียงใหม่ฟรี
ตอบ 1 ดูคำาอธิบายข้อ 52. ประกอบ
55. มานะตกวิชาเลขคณิต ทำาให้มานะไม่มีกำาลังใจที่จะเรียน
หนังสืออีกต่อไป และคิดว่าตนคงไม่สามารถ
23

เรียนหนังสือได้
(1) การเสริมแรง
(3) การหยุดยั้ง
(4) การแยกความแตกต่าง

(2) การลงโทษ
(5) การสรุปความเหมือน

ตอบ 2 การลงโทษ หมายถึง การปรากฏของสิ่งที่ไม่พึงปรารถนา
หรือการนำาสิ่งที่พึงปรารถนา
ออกไปจึงมีผลให้การตอบสนองลดลง เช่น การตี การเสียสิทธิ์
การจำาคุก การสอบตก
ฯลฯ ซึ่งการลงโทษจะทำาให้เกิดผลข้างเคียงคือ เกิดการวาง
เงื่อนไขเกี่ยวกับความกลัวต่อ
บุคคล สถานการณ์ หรือ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษ
กระตุ้นให้เกิดความก้าวร้าว
และเกิดการเรียนรู้ที่จะหนีและหลีกเลี่ยง เช่น นักเรียนที่สอบตกมัก
จะเกิดความรู้สึกท้อแท้
ในการเรียนจนไม่อยากเรียนหนังสืออีกต่อไป
56. ความจำาระยะสั้นจะมีลักษณะเป็นอย่างไร
(1) เก็บข้อมูลไม่จำากัดจำานวน
ความหมาย
(3) จำาในสิ่งที่เป็นข้อเท็จจริงของโลก
เป็นเรื่องของชีวิตตนเอง
(5) ทำางานอยู่ในระดับปฏิบัติการ

(2) จำาในสิ่งที่มี
(4) จำาในสิ่งที่

ตอบ 5 ความจำาระยะสั้น ทำาหน้าที่คล้ายคลังข้อมูลชั่วคราวที่เก็บ
ข้อมูลได้ในจำานวนจำากัดโดยจะ
เก็บข้อมูลในลักษณะจินตภาพ เป็นความจำาที่ช่วยป้องกันไม่ให้เรา
สับสนเกี่ยวกับชื่อ วันที่
หมายเลยโทรศัพท์ และเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ นอกจากนี้ยังเป็นความ
จำาในส่วนที่
ปฏิบัติงาน (Working Memory) การหมุนโทรศัพท์ การคิดเลข
ในใจ การจำารายการสั่ง
ของที่จะซื้อ ฯลฯ
57. ภาพติดตาหรือจินตภาพจะคงอยู่ได้กี่วินาที
24

(1) 2 วินาที
(3) 1 วินาที
(4) ครึ่งวินาที

(2) เศษ 1 ส่วน 2 วินาที
(5) ขึ้นอยู่กับบุคคล

ตอบ 4 ความจำาจากการรับสัมผัส คือ ระบบการจำาขั้นแรกที่จะเก็บ
ข้อมูลไว้ในช่วงสั้น ๆ เพื่อถ่าย
ข้อมูลต่อไปยังระบบการจำาอื่น ๆ เช่น ถ้าได้เห็นข้อมูล ภาพติดตา
(Icon) หรือจินต
ภาพจะคงอยู่ได้ครึ่งวินาที แต่ถ้าเป็นการได้ยิน เสียงก้องหู (Echo)
ของสิ่งที่ได้ยินจะคง
อยู่ประมาณ 2 วินาที
58. ความจำาระยะยาวมีลักษณะเป็นอย่างไร
(1) การเกิดจินตภาพ
(3) การได้ยินเสียง
(4) ข้อมูลมีจำากัด

(2) จำาในสิ่งที่มีความหมาย
(5) ทำางานอยู่ในระดับปฏิบัติการ

ตอบ 2 ความจำาระยะยาว จะทำาหน้าที่เสมือนคลังข้อมูลถาวรซึ่ง
บรรจุทุกอย่างที่เรารู้เกี่ยวกับโลก
เอาไว้โดยมีความสามารถในการเก็บข้อมูลไม่จำากัด และจะเก็บ
ข้อมูลไว้บนพื้นฐานของ
ความหมายและความสำาคัญของข้อมูล ซึ่งความจำาระยะยาวนี้มี 2
ประเภท คือ
1. การจำาความหมาย เป็นการจำาความรู้พื้นฐานที่เป็นข้อเท็จจริง
เกี่ยวกับโลก เช่น ชื่อวัน
เดือน ภาษา และทักษะการคำานวณง่าย ๆ ฯลฯ
2. การจำาเหตุการณ์ เป็นการจำาเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของตนเอง
เป็นการบันทึกเหตุการณ์ใน
ชีวิต
59. ข้อใดไม่ใช่วิธีการรักษาความทรงจำาให้คงอยู่ได้
(1) จำาในสิ่งที่มีความหมาย
(2) จำาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำาวัน
(3) การสร้างความจำาขึ้นมาใหม่
25

(4) มีการบริหารจัดการข้อมูล
(5) สร้างข้อมูลในลักษณะจินตภาพ
ตอบ 5 วิธีการรักษาความทรงจำาให้คงอยู่ได้ ได้แก่
1. การจำาความหมายและการจำาเหตุการณ์
2. การสร้างความจำาขึ้นมาใหม่
3. การบริหารจัดการข้อมูล
60. บอกได้ว่า “ร่มนี้เป็นของฉันหายไปเมื่อ 2 เดือนที่แล้ว”
เป็นการวัดความจำาแบบใด
(1) การระลึกได้ (Recall)
(Recognition)
(3) การเรียนซำ้า (Relearning)
(Reintegration)
(5) การสร้างความจำา (Construct)

(2) การจำาได้
(4) การบูรณาการใหม่

ตอบ 2 การจำาได้ (Recognition) เป็นการวัดความจำาโดยมีสื่อ
กระตุ้นหรือชี้แนะให้จำาได้ เช่น
ข้อสอบแบบเลือกตอบ หรือการเห็นร่มก็จำาได้ว่าเป็นของตนเองที่
เคยทำาหายไป การจำาได้
จะได้ผลดีถ้ามีรูปถ่ายหรือการได้เห็นสิ่งอื่น ๆ มาช่วย เช่น การที่
ตำารวจนิยมให้พยานชี้
ตัวผู้ตองสงสัยจากภาพถ่ายหรือสเก็ตภาพให้พยานดู เป็นต้น
้
61. ใช้เวลาท่องอาขยานถึง 20 ครั้ง แต่หลังจาก 20 ปีผ่านไป
สามารถท่องอาขยานใช้เวลาเพียง 2
ครั้ง ก็จำาได้ เรียกว่าอะไร
(1) การระลึกได้ (Recall)
(Recognition)
(3) การเรียนซำ้า (Relearning)
(Reintegration)
(5) การสร้างความจำา (Construct)

(2) การจำาได้
(4) การบูรณาการใหม่

ตอบ 3 การเรียนซำ้า (Relearning) เป็นการวัดความจำาในสิ่งที่
เราเคยเรียนรู้มาแล้ว แต่ไม่อาจ
26

ระลึกหรือจำาได้ แต่เมื่อให้เรียนซำ้าอีกก็ปรากฏว่าเราเรียนได้เร็ว
ขึ้นและใช้เวลาเรียนน้อย
กว่าเดิมทั้งนี้เพราะเคยมีคะแนนสะสมไว้แล้ว
62. เรียนรู้และจดจำาเฉพาะการเรียนสิ่งใหม่และลืมสิ่งที่เคยเรียน
มาก่อนเรียกว่าอะไร
(1) Retroactive Inhibition
Inhibition
(3) Repression
(5) Encoding Failure

(2) Proactive
(4) Decay

ตอบ 1 การรบกวน (Interfere) มักเป็นสาเหตุสำาคัญของการลืม
โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
คือ
1. Retroactive Inhibition คือ การที่การเรียนรู้ใหม่รบกวน
(ความจำาของ) การ
เรียนรู้เดิม
2. Proactive Inhibition คือ การที่การเรียนรู้เดิมรบกวน
(ความจำาของ) การเรียนรู้
ใหม่
63. การแก้ปัญหาโดยมีการรับรู้ มองเห็นความสัมพันธ์ และคิดได้
อย่างฉับพลันเรียกว่าอะไร
(1) หยั่งเห็นคำาตอบในทันที
(3) ใช้เครื่องจักร
คำาถาม
(5) แรงจูงใจของผู้แก้ปัญหา

(2) ทำาความเข้าใจ
(4) ใช้ความใหม่ของ

ตอบ 1 การแก้ปัญหาโดยการหยั่งเห็นคำาตอบในทันที เป็นการแก้
ปัญหาแบบปรากฏการณ์มองเห็น
คำาตอบโดยฉับพลัน ซึ่งมักเกิดขึ้นหลังจากคิดแก้ปัญหาแล้วแต่ไม่
ประสบผลสำาเร็จ การหยั่ง
เห็นคำาตอบในทันทีนี้มักเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน และผู้คิดมักสงสัยว่า
ทำาไมความคิดเช่นนี้จึงไม่
เกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้
27

64. จากการศึกษาของ Miller พบว่าความจำาระยะสั้นของคน
ปกติจะเป็นแบบใด
(1) 5 หน่วย
หน่วย
(4) 8 หน่วย

(2) 6 หน่วย

(3) 7

(5) 9 หน่วย

ตอบ 3 จอร์จ มิลเลอร์ ได้ทำาการศึกษาเกี่ยวกับการทดสอบช่วง
การจำาตัวเลข (Digit-span
Test) โดยเขาเห็นว่า ความระยะสั้นของคนปกติสามารถจำาข้อมูล
ได้ประมาณ 7 ± 2
หน่วย
65. ปัจจัยสำาคัญที่ผลักดันให้บุคคลมีการแสดงพฤติกรรม คือ
อะไร
(1) สิ่งเร้า
(3) แรงจูงใจ
(4) ความรัก

(2) สิ่งแวดล้อม
(5) การเรียนรู้

ตอบ 3 แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง สภาวะหรือกระบวนการที่
สร้างและเป็นแรงกระตุ้นให้บุคคล
แสดงพฤติกรรมออกมา ทั้งที่เป็นพฤติกรรมโดยสัญชาตญาณและ
พฤติกรรมจากการเรียนรู้
เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่แรงจูงใจนั้นต้องการ ทั้งนี้แรงจูงใจจะ
อยู่ในภาวะที่ไม่หยุดนิ่ง
(Dynamic) และเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา เพื่อ
สร้างให้ร่างกายอยู่ในสภาวะ
ที่สมดุล
66. ได้มีผู้นำาแนวคิดและทฤษฎีแรงจูงใจไปประยุกต์ใช้ในด้าน
ต่าง ๆ ยกเว้นด้านใด
(1) ศาสนา
(2) การเมือง
(3) การโฆษณาประชาสัมพันธ์
(4) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
28

(5) ธุรกิจและการตลาด
ตอบ 4 ในปัจจุบันมีผู้ที่นำาแนวคิดและทฤษฎีแรงจูงใจไปประยุกต์
ใช้เพื่อเป็นประโยชน์ในงานด้าน
ต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครอง การ
บริหารธุรกิจและการตลาด
การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การศึกษา รวมถึงการศาสนา โดยนำา
วิธีการจูงใจไปใช้เพื่อ
สร้างสภาวะให้บุคคลอันเป็นกลุ่มเป้าหมายได้มีพฤติกรรมไปใน
แนวทางที่ตนต้องการ
67. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการของแรงจูงใจ
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)

การตอบสนอง (Response)
มโนทัศน์ (Concept)
แรงขับ (Drive)
ความต้องการ (Need)
เป้าหมาย (Goal)

ตอบ 2 กระบวนการของการเกิดแรงจูงใจ ประกอบด้วยองค์
ประกอบ 4 ประการ คือ
1. ความต้องการ (Need) 2. แรงขับ (Drive)
3. การตอบสนอง (Response) หรือพฤติกรรม 4. เป้าหมาย
(Goal)
68. ข้อใดถูกต้อง
A. แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง สภาวะที่เป็นแรงกระตุ้นให้
บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมา เพื่อให้
บรรลุเป้าหมายตามที่แรงจูงใจนั้นต้องการ
B. การจูงใจ (Motivation) หมายถึง กระบวนการของการนำา
ปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นแรงจูงใจมา
กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมไปอย่างมีทิศทางเพื่อบรรลุเป้า
หมาย
C. แรงจูงใจ เป็นภาวะที่ไม่หยุดนิ่ง (Dynamic) และเป็นกระบวน
การที่เกิดขึ้นตลอดเวลา เพื่อ
สร้างให้ร่างกายเกิดสภาวะสมดุล
29

(1) ข้อ A และ B
ข้อ B และ C
(4) ถูกทุกข้อ

(2) ข้อ A และ C

(3)

(5) ผิดทุกข้อ

ตอบ 4 (ดูคำาอธิบายข้อ 65. ประกอบ) การจูงใจ (Motivation)
หมายถึง กระบวนการ
ของการนำาปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นแรงจูงใจมากระตุ้นหรือผลักดันให้
บุคคลแสดง
พฤติกรรมไปอย่างมีทิศทาง เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือเงื่อนไขที่ผู้
จูงใจต้องการ
69. ข้อใดไม่ใช่แรงจูงใจพื้นฐานของมนุษย์
(1) หลีกเลี่ยงความเจ็บปวด
(3) ความหิว
(4) ความกระหาย

(2) ความสุข
(5) ความต้องการทางเพศ

ตอบ 2 แรงจูงใจพื้นฐานของมนุษย์ เป็นแรงจูงใจที่เกิดขึ้นเพื่อ
ความอยู่รอดของชีวิต แบ่งเป็น 3
ชนิด ดังนี้
1. แรงจูงใจทางชีวภาพ ได้แก่ ความหิวและความกระหาย
2. แรงจูงใจเพื่อการสืบเผ่าพันธุ์ ได้แก่ ความต้องการทางเพศ
3. แรงจูงใจเพื่อหลีกหนีอันตราย ได้แก่ ความต้องการหลีกหนี
ความเจ็บปวด
70. ทฤษฎีอะไรเกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ
(1) ทฤษฎีหลักการมีเหตุผล
(3) ทฤษฎีลำาดับขั้นของความต้องการ
สัญชาตญาณ
(5) ถูกทุกข้อ

(2) ทฤษฎีแรงขับ
(4) ทฤษฎี

ตอบ 5 ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ ได้แก่
1. ทฤษฎีความต้องการความสุขส่วนตัว 2. ทฤษฎีสัญชาตญาณ
3. ทฤษฎีหลักการมีเหตุผล 4. ทฤษฎีแรงขับ
5. ทฤษฎีลำาดับขั้นของความต้องการ
30

71. ข้อใดไม่ใ ช่แรงขับที่จำาแนกตามระบบชีววิทยา
(1) แรงขับฉุกเฉิน
(2) แรงขับเพื่อการ
ศึกษา
(3) แรงขับเพื่อการอยู่รอดของชีวิต
(4) แรงขับเพื่อ
การสืบพันธุ์
(5) แรงขับเพื่อได้รับการยอมรับ
ตอบ 5 แรงขับ (Drive) สามารถจำาแนกตามระบบทางชีววิทยา
ได้เป็น 4 ประเภท คือ
1. แรงขับเพื่อการอยู่รอดของชีวิต 2 แรงขับฉุกเฉิน
3. แรงขับเพื่อการสืบพันธุ์ 4. แรงขับเพื่อการศึกษา
72. ข้อใดเรียงลำาดับความต้องการของมาสโลว์ (Maslow) ได้ถูก
ต้อง
A. ความต้องการประจักษ์ในตน
B. ความต้องการ
ได้รับการยกย่องจากผู้อื่น
C. ความต้องการความรักและการเป็นเจ้าของ
D. ความ
ต้องการทางด้านร่างกาย
E. ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง
ตอบ 5 ลำาดับชั้นความต้องการของมาสโลว์ มี 5 ขั้น ดังนี้
1. ความต้องการทางด้านร่างกาย
2. ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง
3. ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ
4. ความต้องการได้รับการยกย่องจากผู้อื่น
5. ความต้องการประจักษ์ตน
73. ข้อใดถูก
(1) แรงจูงใจภายนอกเป็นแรงจูงใจที่สร้างให้บุคคลเกิด
สัมพันธภาพกับผู้อื่น
(2) แรงจูงใจภายในจำาเป็นและสำาคัญเท่ากับแรงจูงใจพื้นฐาน
(3) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เริ่มเกิดเมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น
(4) แรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ทำาให้มนุษย์ดำารงชีวิตเผ่าพันธุ์ของตนได้
ต่อไป
31

(5) แรงจูงใจจากการเรียนรู้เป็นแรงจูงใจที่มีมาตั้งแต่เกิด
ตอบ 1 แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motive) หรือแรงจูงจาก
การเรียนรู้ เป็นแรงจูงใจของ
บุคคลที่เกิดจากการได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก ทำาให้คน
เราเกิดจุดมุ่งหมาย จน
นำาไปสู่การแสดงพฤติกรรมเพื่อนำาตนไปสู่จุดหมายนั้น ซึ่งนับว่า
เป็นแรงจูงใจทางสังคมที่
สร้างให้บุคคลเกิดสัมพันธภาพกับผู้อื่น
74. ทฤษฎีหลักการมีเหตุผล
(1) อำามาตยาธิปไตย
(3) เผด็จการ
(4) สมบูรณาญาสิทธาชย์

(2) คณาธิปไตย
(5) ประชาธิปไตย

ตอบ 5 ทฤษฎีหลักการมีเหตุผลจะมีความคล้ายคลึงกับความเชื่อ
ในระบบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยนั่นคือ ผู้นำาและสมาชิกของการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยจะมีความเชื่อ
มานในการที่จะแสดงพฤติกรรมและความคิดเห็นระหว่างสมาชิก
ด้วยกัน สามารถยอมรับ
ความคิดเห็นของบุคคลอื่นได้ เพราะมีความเชื่อว่าบุคคลทุกคนมี
อิสระที่จะกระทำาหรือ
ตัดสินใจในสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผล
75. อารมณ์สำาคัญอย่างไร
(1)
(2)
(3)
(4)
(5)

เป็นแรงผลักดันหรือจูงใจให้เกิดความกระตือรือร้น
เป็นสัญญาณเตือนภัยให้รู้จักการต่อสู้
ทำาให้เรียนรู้จักตนเองและผู้อื่น
ทำาให้มีมนุษยสัมพันธ์
ถูกทุกข้อ

ตอบ 5 อารมณ์เป็นเครื่องชี้ถึงความรู้สึกนึกคิด ช่วยให้เราเรียน
รู้จักตนเองและผู้อื่นเป็นแรงผลักดัน
32

หรือแรงจูงใจทำาให้เกิดความกระตือรือร้นมีชีวิตชีวา ทำาให้
มนุษยสัมพันธ์ที่ดีให้การ
ช่วยเหลือผูอื่น และเป็นสัญญาณเตือนภัยให้รู้จักการต่อสู้ การเอา
้
ตัวรอด และอื่น ๆ
76. สมองส่วนใดควบคุมระบบประสาทส่วนลิมบิก (Limbic)
(1) โซมาติก
ไฮโปธาลามัส
(4) ไคเนสติก

(2) ธาลามัส

(3)

(5) คอปัสคอร์ลูซัม

ตอบ 3 จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงทาง
สรีระร่างกายเมื่อเกิดอารมณ์
พบว่าศูนย์กลางของการเกิดอารมณ์อยู่ที่การทำางานของระบบประ
สาทลิมบิก (Limbic
System) ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่สมองส่วนที่เรียกว่าไฮโปธาลามัส
(Hypothalamus) ซึ่ง
เกี่ยวข้องกับการทำางานของระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาท
อัตโนมัติ ถ้าสมองส่วนไฮ
โปธาลามัสถูกกระตุ้นจะทำาให้เกิดอาการคลั่ง ดุ อาละวาด แต่ถ้า
ถูกทำาลายจะเกิดอาการ
สงบเฉย
77. ศูนย์กลางที่ทำาให้เกิดอารมณ์อยู่ที่ใด
(1) ระบบประสาทลิมบิก
กลาง
(3) ระบบประสาทมอเตอร์
อัตโนมัติ
(5) ระบบประสาทปฏิกิริยาสะท้อน

(2) ระบบประสาทส่วน
(4) ระบบประสาทกึ่ง

ตอบ 1 ดูคำาอธิบายข้อ 76. ประกอบ
78. แอดรีนาลินจะถูกหลั่งออกมาเมื่อใด
(1) หัวเราะ
สมาธิ

(2) ร้องไห้
(5) นอนหลับ

(3) ตกใจ

(4) นั่ง
33

ตอบ 3 (ดูคำาอธิบายข้อ 15. ประกอบ) อารมณ์หวาดกลัวหรือ
ตกใจกลัวจะก่อให้เกิดการหลั่ง
ฮอร์โมนแอดรีนาลินจากต่อมหมวกไต ส่วนอารมณ์โกรธจะก่อให้
เกิดการหลั่งฮอร์โมนนอร์
แอดรีนาลิน ส่วนอารมณ์อื่น ๆ นักจิตวิทยายังไม่สามารถระบุ
แบบแผนของการ
เปลี่ยนแปลงทางสรีระได้อย่างแน่นอน
79. ใครกล่าวว่า ร่างกายจะแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบก่อน แล้วจึง
เกิดอารมณ์ตามมา
(1) จุง
ฟรอยด์
(4) ฟิลิป บาร์ด

(2) วิลเลียม เจมส์

(3)

(5) พระนันทาจารย์

ตอบ 2 วิลเลียม เจมส์ (William James) นักจิตวิทยาชาว
อเมริกัน อธิบายว่า ร่างกายของเรา
จะต้องแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเป็นอันดับแรกก่อน แล้วอารมณ์จึงจะ
เกิดตามมา
ประสบการณ์ทางอารมณ์เป็นผลมาจากการรับรู้การเปลี่ยนแปลง
ทางด้านร่างกาย ดังนั้น
หลังจากที่เกิดการเร้าทางกายและพฤติกรรม จะรู้สึกถึงการเต้น
ของหัวใจ หายใจหอบ
หน้าแดง เหงื่อออก และนำาไปสู่ประสบการณ์ทางอารมณ์
80. พลูทชิค เชื่อว่า อารมณ์กลัวทำาหน้าที่อะไร
(1) ทำาลาย
ร่วมมือ

(2) ปฏิเสธ
(5) เสียใจ

(3) ปกป้อง

(4) ความ

ตอบ 3 พลูทชิค กล่าวว่า อารมณ์แรกเกิดของมนุษย์คือความกลัว
ซึ่งอารมณ์กลัวจะทำาหน้าที่
ช่วยปกป้องอันตรายที่จะเข้ามากลำ้ากลาย
81. ชาร์ลส์ ดาร์วิน กล่าวว่า อารมณ์มีความสำาคัญอย่างไร
34

(1) การแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์ไม่แตกต่างไปจากสัตว์
(2) บุคคลมีประสบการณ์มากขึ้น การดัดแปลงอารมณ์ก็จะมีมาก
ขึ้นด้วย
(3) บุคคลที่มีอารมณ์ดีจะมีชีวิตยืนยาว
(4) อารมณ์ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ
(5) อารมณ์คือสิ่งจำาเป็นอย่างยิ่งต่อการดำารงชีวิตและเผ่าพันธุ์
ตอบ 5 ชาร์ลส ดาร์วิน (Charles Darwin) กล่าวว่า อารมณ์เป็น
สิ่งที่ค่อย ๆ พัฒนาขึ้นมาและ
เกิดอยู่เรื่อย ๆ ในมนุษย์ เพราะอารมณ์คือสิ่งที่จำาเป็นและมีความ
สำาคัญอย่างยิ่งต่อการ
ดำารงชีวิตและเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ นอกจากนี้ในผลงานเขียนชื่อ
The Expression of
Emotion in Man and Animal เขาได้กล่าวไว้ว่า การ
แสดงออกทางอารมณ์เป็น
สิ่งจำาเป็นต่อการอยู่รอดของชีวิตมนุษย์
82. การทำางานของระบบประสาทอัตโนมัติส่วนใด ทำาให้เกิด
การเตรียมพร้อมร่างกายในภาวะฉุกเฉิน
เพื่อให้สู้หรือหนี
(1) ลิมปิก
(2) ซิมพาเธติก
(3) พารา
ซิมพาเธติก
(4) ธาลามัส
(5) ไฮโปธาลามัส
ตอบ 2 การทำางานของระบบประสาทอัตโนมัติจะเกี่ยวข้องกับการ
เกิดอารมณ์โดยระบบประสาทซิม
พาเธติกจะเตรียมรับร่างกายในภาวะฉุกเฉินให้สู้หรือหนี และ
ทำาให้ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมี
อาการตื่นตัวเพื่อเตรียมรับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น ส่วนระบบ
ประสาทพาราซิมพาเธติกจะ
ทำาให้ร่างกายอยู่ในภาวะสงบและผ่อนคลาย
83. ข้อใดไม่ใช่แนวทางของการควบคุมอารมณ์
(1)
(2)
(3)
(4)

อย่ากังวลกับสิ่งที่ทำาผิดพลาดไปแล้ว
แยกอารมณ์ออกจากสถานการณ์
ทำาเป็นไม่สนใจกับอารมณ์
ยอมรับอารมณ์ที่เกิดขึ้น
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป
ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป

More Related Content

What's hot

เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญsukanya petin
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลWichai Likitponrak
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยNU
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก593non
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)Aom S
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
ฮอร์โมนจากต่อมไร้ท่อและอวัยวะสำคัญ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุลแบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
แบบทดสอบสารชีวโมเลกุล
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
คำสรรพนาม
คำสรรพนามคำสรรพนาม
คำสรรพนาม
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัยข้อสอบอัตนัย
ข้อสอบอัตนัย
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
สมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไกสมรรถภาพทางกลไก
สมรรถภาพทางกลไก
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Endocrine system
Endocrine systemEndocrine system
Endocrine system
 
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
แบบทดสอบพฤติกรรมสัตว์
 

Similar to ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป

พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับNichakorn Sengsui
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxminhNguynnh15
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์Pattiya Lasutti
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)พัน พัน
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้Nichakorn Sengsui
 

Similar to ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป (20)

ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
บทที่3 Basic Of Physiological
บทที่3  Basic Of  Physiologicalบทที่3  Basic Of  Physiological
บทที่3 Basic Of Physiological
 
พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์พฤติกรรมสัตว์
พฤติกรรมสัตว์
 
ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)ระบบประสาท (Nervous system)
ระบบประสาท (Nervous system)
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 

ข้อสอบกระบวนวิชา Psy1001 (pc 103) จิตวิทยาทั่วไป

  • 1. 1 ข้อ สอบกระบวนวิช า PSY1001 (PC 103) จิต วิท ยาทั่ว ไป คำา สั่ง ให้น ัก ศึก ษาเลือ กคำา ตอบที่ถ ูก ต้อ งที่ส ุด เพีย งคำา ตอบ เดีย ว (ข้อ สอบมีท ั้ง หมด 120 ข้อ ) ข้อ 1. -- 3. จงใช้ต ัว เลือ กต่อ ไปนี้ต อบคำา ถาม (1) การสังเกต (Observation) (2) การสำารวจ (Survey) (3) การทดลอง (Experimentation) (4) การทดสอบทางจิตวิทยา (Psychological Testing) (5) การศึกษาประวัติรายกรณี (Case Study) 1. เป็นวิธีที่ทำาให้แน่ใจได้ว่าอะไรเป็นสาเหตุให้เกิดพฤติกรรม ตอบ 3 การทดลอง (Experimentation) เป็นวิธีการศึกษาที่ ทำาให้วิชาจิตวิทยาได้รับการยอมรับ ว่าเป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง เพราะเป็นการศึกษาถึงเหตุและผล โดยผู้ทดลองจะสร้าง เหตุการณ์บางอย่างขึ้นมาหรือเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมตามที่ ต้องการศึกษาซึ่งเรียกว่า “ตัว แปรอิสระ” หรือ “ตัวแปรต้น” (สาเหตุของพฤติกรรมหรือศึกษาผล ของการเปลี่ยนแปลง นั้น ๆ ซึ่งเรียกว่า “ตัวแปรตาม” (ผลของพฤติกรรม) ข้อดีของการ ทดลองคือ สามารถ ควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ที่เป็นสาเหตุของพฤติกรรม ทำาให้แน่ใจได้ ว่าอะไรเป็นสาเหตุ อะไรเป็นผล 2. นักจิตวิทยาสนใจพฤติกรรมใดก็จะเฝ้าติดตามไปเรื่อย ๆ ตอบ 1 การสังเกต (Observation) เป็นการแสวงหาข้อเท็จจริง โดยการเฝ้ามองปรากฏการณ์ หรือสถานการณ์ตามที่เป็นจริง โดยที่ผู้ถูกสังเกตไม่รู้ตัว แล้วจึง บันทึกรายละเอียดไว้ ซึ่ง เป็นวิธีที่จะช่วยให้เจ้าใจพฤติกรรมของคนในสภาพแวดล้อมตาม ธรรมชาติมากที่สุด
  • 2. 2 3. นักจิตวิทยาทำาการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง แทนการศึกษา จากประชากรทั้งหมด ตอบ 2 การสำารวจ (Survey) เป็นวิธีการศึกษาทางจิตวิทยาที่เน้น การศึกษาลักษณะบางลักษณะ ของบุคคลบางกลุ่มที่ถูกเลือกให้เป็นตัวแทนของประชากรที่ ต้องการศึกษาด้วยการออก แบบสอบถามให้ตอบหรือโดยการสัมภาษณ์ และนำาคำาตอบที่ได้ไป ประมวลผลด้วยวิธีการ ทางสถิติ ข้อ 4. - 7. จงให้ต ัว เลือ กต่อ ไปนี้ต อบคำา ถาม (1) กลุ่มโครงสร้างของจิต (3) กลุ่มจิตวิเคราะห์ (4) กลุ่มมนุษยนิยม (2) กลุ่มพฤติกรรมนิยม (5) กลุ่มหน้าที่ของจิต 4. นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้เชื่อว่ามนุษย์ต้องการพัฒนาตนเองให้ถึง Self-actualization ตอบ 4 กลุ่มมนุษยนิยม (Humanistic Psychology) จะเน้นใน เรื่องของเสรีภาพความต้องการ ความรัก ความมีศักดิ์ศรีในตนเอง การมีความคิดสร้างสรรค์ และที่ สำาคัญที่สุดก็คือ มนุษย์มีความต้องการเข้าใจตนเองอย่างถ่องแท้ (Selfactualization) ซึ่งเป็นความ ต้องการที่จะพัฒนาศักยภาพของตนเองให้ถึงขีดสูงสุด ซึ่งนัก จิตวิทยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ คาร์ล โรเจอร์ และอับราฮัม มาสโลว์ 5. นักจิตวิทยาที่สำาคัญในกลุ่มนี้ก็คือ จอห์น บี. วัตสัน ตอบ 2 กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) จะปฏิเสธเรื่องจิต โดยสิ้นเชิง แต่จะให้ความสำาคัญ ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้ากับการตอบสนอง และเชื่อ ว่าการวิเคราะห์พฤติกรรม
  • 3. 3 ภายนอกให้กระจ่างจะช่วยให้เข้าใจบุคคล ซึ่งนักจิตวิทยาที่สำาคัญ ในกลุ่มนี้ คือ จอห์น บี. วัตสัน และ บี.เอฟ. สกินเนอร์ 6. กลุ่มนี้เชื่อว่าจิตประกอบด้วย Sensation, Feeling และ Image ตอบ 1 กลุ่มโครงสร้างของจิต (Structuralism) จะให้ความ สนใจศึกษาองค์ประกอบของ จิตสำานึก 3 ลักษณะ คือ การรับสัมผัส (Sensation), ความรู้สึก (Feeling) และมโน ภาพ (Image) โดยใช้วิธีการศึกษาที่เรียกว่า การมองภายใน (Introspection) และ วิธีการสังเกต-ทดลอง 7. การเสนอวิธีบำาบัดจิตโดยให้ความสำาคัญจิตไร้สำานึก (จิตใต้สำานึก) ตอบ 3 กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) เกิดจากแนวความ คิดของซิกมันต์ ฟรอยด์ โดย เขาได้อธิบายว่า บุคลิกภาพของบุคคลพัฒนามาจากแรงจูงใจไร้ สำานึก ซึ่งสิ่งที่อยู่ในจิต ส่วนที่ไร้สำานึก ได้แก่ ความปรารถนา แรงขับทางเพศ และความ ก้าวร้าว เมื่อถูกเก็บกด จะปรากฏออกมาในรูปของความฝัน ความขัดแย้งใจ และการพูด พลั้งปาก ซึ่งฟรอยด์ได้ เสนอวิธีบำาบัดรักษาทางจิตที่เรียกว่า จิตวิเคราะห์ โดยให้ความ สำาคัญกับจิตใจสำานึกว่า เป็นแหล่งของความคิด แรงกระตุ้น และความปรารถนาที่ซ่อนเร้น อยู่ของมนุษย์ 8. จิตวิทยา คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเรื่องใด (1) การโน้มน้าวจิตใจ (3) คุณธรรมจริยธรรม (4) พฤติกรรมของมนุษย์ ประสาท (2) การทำางานของร่างกาย (5) การทำางานของระบบ
  • 4. 4 ตอบ 4 จิตวิทยา (Psychology) คือ วิชาหรือศาสตร์ที่ว่าด้วยการ ศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ และกระบวนการของจิต ซึ่งต้องอาศัยวิธีการศึกษาเชิง วิทยาศาสตร์ในการค้นหาความรู้ด้วย การสังเกต ทดลอง สำารวจ ศึกษาสหพันธ์ ใช้วิธีการทางคลินิก และสรุปสิ่งที่ค้นพบอย่าง เป็นระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อนำาความรู้นั้นมาอธิบาย ทำาความ เข้าใจ พยากรณ์หรือ ทำานายควบคุม และเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมนั้น ๆ 9. การกะพริบตาเมื่อถูกลมพัด การถอยเท้าหนีเมื่อเหยียบก้นบุหรี่ เป็นลักษณะอะไร (1) (2) (3) (4) (5) วงจรปฏิกิริยาสะท้อนที่เล็กที่สุด การตอบสนองอัตโนมัติของระบบประสาท เป็นการเรียนรู้จากสภาพที่เกิดขึ้นจริง เป็นการแสดงออกทางกายโดยการสั่งของสมอง เป็นการทำางานของระบบกล้ามเนื้อ ตอบ 1 วงจรปฏิกิริยาสะท้อน (Simple Reflex Action) ถือว่า เป็นวงจรที่เล็กที่สุดของกลไกการ ตอบสนอง ซึ่งเป็นการแสดงออกทางร่างกายโดยอัตโนมัติโดยที่ สมองไม่ต้องสั่งงานแต่วงจร ของกระแสประสาทจะผ่านเฉพาะไขสันหลังเท่านั้น เช่น การ กะพริบตาเมื่อถูกลมพัดการ ถอยเท้าหนีเมื่อเหยียบก้นบุหรี่ การยกมือออกเมื่อจับโดนกานำ้า ร้อน เป็นต้น 10. อวัยวะภายในของร่างกาย เช่น กระเพาะอาหาร, ลำาไส้ เป็น กล้ามเนื้อและมีลักษณะการทำางานแบบ ใด (1) (2) (3) (4) กล้ามเนื้อลายทำางานภายใต้อำานาจจิตใจ กล้ามเนื้อเรียบทำางานนอกอำานาจจิตใจ กล้ามเนื้อหัวใจทำางานนอกอำานาจจิตใจ กล้ามเนื้อลายทำางานนอกอำานาจจิตใจ
  • 5. 5 (5) กล้ามเนื้อเรียบทำางานภายใต้อำานาจจิตใจ ตอบ 2 กล้ามเนื้อเรียบ (Smooth Muscle) ประกอบด้วยเซลล์ซึ่ง มีลักษณะคล้ายกระสวยทอผ้า คือหัวและท้ายของเซลล์เล็กและแหลมแต่ป่องตรงกลาง โดย ตัวอย่างของกล้ามเนื้อเรียบ ได้แก่ กล้ามเนื้อกระเพาะอาหาร กระเพาะปัสสาวะ สำาไส้ ไต กะบังลม มดลูก ท่อนำา ไข่ และอวัยวะภายในอื่น ๆ ซึ่งการทำางานของกล้ามเนื้อเรียบจะ อยู่นอกอำานาจจิตใจ (Involuntary Control) เพราะถูกควบคุมโดยระบบประสาท อัตโนมัติ 11. ระบบประสาทชนิดใดที่ทำาให้ร่างกายมีความสงบและพักผ่อน การย่อยดี ความดันโลหิตตำ่า (1) ระบบประสาทอัตโนมัติ มาติก (3) ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก พาเซติก (5) ระบบประสาทส่วนกลาง (2) ระบบประสาทโซ (4) ระบบประสาทซิม ตอบ 3 ระบบประสาทพาราซิมพาเธติก (Parasympathetic Nervous System) เป็นระบบ ประสาทที่ทำาให้ร่างกายมีความสงบและพักผ่อน การย่อยดี ความ ดันโลหิตตำ่า ซึ่งการ ทำางานของระบบนี้จะช่วยทำาให้ร่างกายอยู่ในภาวะสงบ 12. จุดที่ Dendrite ของตัวหนึ่งรับกระแสประสาทจาก Axon ของอีกเซลล์หนึ่งเรียกว่าอะไร (1) Simple Reflex Action (3) Dendrite (4) Synapse (2) Neurotransmitter (5) Nerve Cell ตอบ 4 ซีแนปส์ (Synapse) คือ จุดที่เดนไดรท์ (Dendrite) ของ เซลล์ประสาทตัวหนึ่งรับ
  • 6. 6 กระแสประสาทจากแอ๊กซอน (Axon) ของอีกเซลล์หนึ่ง ซึ่งถือว่า เป็นตัวกำาหนดทิศทาง เคลื่อนที่ของกระแสประสาท 13. คนที่เป็นโรค Alzheimer แสดงว่าขาดสารสื่อประสาทชนิด ใด (1) Gaba Selotonin (4) Norepinephrin (2) Dopamine (3) (5) Acetylcholin ตอบ 5 อะซีทิลโคลีน (Acetylcholin) เป็นสารสื่อประสาทที่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับการกระตุ้น ความจำา ถ้าสมองส่วนที่ผลิตสารสื่อประสาทนี้เสียไป จะทำาให้เกิด โรคความจำาเสื่อม หรือ โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s Disease) ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการ หลงลืมและบุคลิกภาพเลื่อน ลอย โดยเฉพาะในคนชราที่มีอายุ 90 ปี 14. ในช่วยเวลาที่ลมพัดฝุ่นมาเข้าตาเราจะหลับตาอย่างรวดเร็ว เป็นผลมาจากการเชื่อมโยงของอวัยวะใด (1) สมอง ก้านสมอง (4) ไขสันหลัง (2) เซลล์ประสาท (3) (5) ระบบประสาทลิมบิก ตอบ 4 ไขสันหลัง (Spinal Cord) เป็นส่วนหนึ่งของระบบ ประสาทส่วนกลาง ซึ่งอยู่ภายในโพรง กระดูกสันหลังที่ติดต่อกับสมองโดยตรง และเป็นศูนย์กลางที่สำาคัญ ของระบบประสาทที่ บริเวณลำาตัวและแขนขา ซึ่งจะทำางานอย่างรวดเร็วมาก เช่น เวลา ที่ลมพัดฝุ่นมาเข้าตา เราจะหลับตาอย่างรวดเร็ว เป็นต้น 15. “หนีต ำา รวจโดยการวิ่ง ข้า มประตูร ั้ว สูง ๆ หรือ กระโดด ลงมาจากชั้น 2” เป็นผลมาจากการทำางาน ของต่อมใด
  • 7. 7 (1) Pituitary (4) Thyroid (2) Gonad (5) Parathyroid (3) Adrenal ตอบ 3 ต่อมหมวกไตหรือต่อมแอดรีนัล (Adrenal Gland) มี 2 ชั้น คือเปลือกต่อมหมวกไต และแกนในต่อมหมวกไต โดยแกนในต่อมหมวกไตจะสร้าง ฮอร์โมนสำาคัญชนิดหนึ่งคือ แอดรีนาลิน (Adrenalin) ซึ่งจะหลั่งออกมาเมื่อร่างกายอยู่ใน ภาวะฉุกเฉิน ตื่นเต้น เคร่งเครียด ต่อสู้ หิวกระหาย เจ็บปวด หรือเมือออกกำาลังกาย ่ 16. “ฮอร์โมนที่ควบคุมระดับในเลือดให้มีความคงที่พอดี” คือต่อม ใด (1) Pituitary Adrenal (4) Gonad (2) Pancreas (3) (5) Thyroid ตอบ 2 ตับอ่อนหรือต่อมแพนเครียส (Pancreas) จะทำาหน้าที่เป็น ทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อโดย จะผลิตฮอร์โมนที่สำาคัญคือ อินซูลิน (Insulin) ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่ ควบคุมระดับนำ้าตาลใน เลือดให้เข้มข้นพอดี ถ้าตับอ่อนผลิตฮอร์โมนอินซูลินในระดับตำ่า จะทำาให้เกิดอาการของ โรคเบาหวานขึ้นมาได้ 17. ฮอร์โมนที่ทำาหน้าที่กระตุ้นให้ฮอร์โมนจากต่อมอื่นภายใน ร่างกายทำางานคือต่อมใด (1) Pituitary Adrenal (4) Gonad (2) Pancreas (3) (5) Thyroid ตอบ 1 ต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) เป็นตอมไร้ท่อที่มีความ สำาคัญที่สุดของร่างกายเพราะ
  • 8. 8 สร้างฮอร์โมนหลายชนิดเพื่อไปควบคุมการทำางานหรือควบคุมการ ผลิตฮอร์โมนของต่อมไร้ ท่ออื่น ๆ ซึ่งเรียกได้อีกชื่อหนึ่งว่า มาสเตอร์แกลนด์ (Master Gland) โดยมีฮอร์โมนที่ สำาคัญคือโกร๊ธฮอร์โมน ซึ่งจะทำาหน้าที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ของร่างกายและต่อมนำ้านม 18. กระบวนการรับสัมผัสมีความสำาคัญอย่างไร (1) เป็นจุดเริ่มต้นของแรงจูงใจ ข้อมูลดิบเพื่อส่งให้สมอง (3) เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ การตอบสนอง (5) เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหา (2) ทำาการเปลี่ยน (4) เกี่ยวข้องกับ ตอบ 2 กระบวนการรับสัมผัส เป็นกระบวนการที่ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น และ ผิวหนังรับสิ่งเร้าจากภายนอกมาสู่ระบบประสาท แล้วทำาการ เปลี่ยนข้อมูลดิบ เพื่อส่งให้ สมองและเปลี่ยนเป็นการรับรู้ 19. กระบวนการรับรู้ทำางานอย่างไร (1) (2) (3) (4) จัดเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบ เลือก จัด และตีความข้อมูลจากการสัมผัส ตัดสินใจเพื่อตอบสนอง เกี่ยวข้องกับการรับข้อมูลที่สัมผัส (5) ถูกทุกข้อ ตอบ 2 กระบวนการรับรู้ เป็นกระบวนการที่ต่อเนื่องจากการสัมผัส โดยการรับรู้จะมุ่งไปที่ความ เข้าใจ และการแปลความหมายของสิ่งเร้าที่มากระทบประสาท สัมผัส ดังนั้นกระบวนการ รับรู้จึงเป็นการเลือก จัด และตีความข้อมูลจากการสัมผัส ซึ่งจะขึ้น อยู่กับประสบการณ์ใน อดีต การเรียนรู้สภาพจิตใจในปัจจุบัน ตลอดจนการรูปแบบสิ่งเร้า นั้น ๆ
  • 9. 9 20. ธรรมชาติของการรับสัมผัสและการรับรู้ของเราเป็นอย่างไร (1) เราไม่สามารถรับสัมผัสทุกอย่างในโลกได้เนื่องจากมนุษย์มีข้อ จำากัด (2) การรับสัมผัสจะไม่เกิดขึ้นกับคลื่นแสงที่มีขนาด 500 นาโน มิเตอร์ (3) เราเลือกที่จะรับสัมผัสได้ (4) เราเลือกที่จะรับรู้ไม่ได้ (5) สัมผัสผิวกายของเรา ได้แก่ กด เจ็บ ร้อน เย็น ตอบ 1 ธรรมชาติของการรับสัมผัสและการรับรู้ของเรานั้น เราไม่ สามารถรับสัมผัสทุกอย่างในโลก ได้เนื่องจากคลื่นที่สายตามนุษย์รับได้มีขีดจำากัดอยู่เพียงระยะ ประมาณ 380 - 780 นาโน มิเตอร์ (นม.) เท่านั้น นอกจากนี้เราเลือกที่จะรับสัมผัสไม่ได้ แต่ เราเลือกที่จะรับรู้ได้ 21. การทำางานของเซลล์ประสาทรอดส์กับโคนส์เป็นอย่างไร (1) รอดส์กับโคนส์จะทำางานพร้อมกันในเวลากลางวัน (2) รอดส์จะเหมาะกับการทำางานในที่สว่างจ้ามากกว่าโคนส์ (3) รอดส์จะเหมาะกับการทำางานในขณะที่แสงสลัวมากกว่าโคนส์ (4) รอดส์จะทำางานกับคลื่นแสงนำ้าเงิน-เหลือง ขณะที่โคนส์ทำางาน กับคลื่นแสงแดง-เขียว (5) ข้อ1และ 2 ตอบ 3 ที่ผนังของเรตินา (Retina) จะมีเซลล์ประสาทอยู่ 2 ชนิด คือ 1. รอดส์ (Rods) มีลักษณะเป็นแท่งยาว และไวต่อแสงขาวดำา จึง เป็นเซลล์ที่รับแสงสลัวใน เวลากลางคืน 2. โคนส์ (Cones) มีลักษณะสั้น เป็นรูปกรวย และไวต่อแสงที่ เป็นสี ช่วยทำาให้รับภาพสีได้ ดีจึงเป็นเซลล์ที่รับแสงจ้าในเวลากลางวัน ดังนั้นคนตาบอดสีจึงไม่ มีโคนส์อยู่ที่เรตินาเลย 22. นักจิตวิทยาพบปรากฏการณ์ความคงที่ในการรับรู้เรื่องใด
  • 10. 10 (1) สี (2) ขนาด (3) รูปร่าง (4) ข้อ 1 และ 2 (5) ข้อ 1,2 และ 3 ตอบ 5 ปรากฏการณ์คงที่ (Constancy) เป็นธรรมชาติของเรื่อง ราวการรับรู้และการเห็นนั่นคือ การที่ตาเห็นเพียงส่วนหนึ่ง แต่ความเข้าใจในการรับรู้ยังอยู่ใน สภาพเดิม ซึ่งแบ่งเป็น 3 ชนิด คือ 1. การคงที่ของสี เช่น การที่เรามองเห็นหาดทรายในเวลากลาง คืนยังคงเป็นสีขาว ฯลฯ 2. การคงที่ของขนาด เช่น มองจากตึกสูงเห็นคนตัวเท่ามด แต่เรา ก็ยังรู้ว่าคนมีขนาดเท่า เดิม ฯลฯ 3. การคงที่ของรูปร่าง เช่น การเห็นเพียงแค่สันหนังสือ เราก็ยัง รับรู้ว่าเป็นหนังสือ ฯลฯ 23. ดีเนสเตซีสคือสัมผัสในเรื่องใด (1) ความเจ็บปวด (3) การทรงตัว (4) ความลึก (2) การเคลื่อนไหว (5) ความคงที่ ตอบ 2 สัมผัสดีเนสเตซีส (Kinesthesis Sense) คือ ประสาท เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและ กล้ามเนื้อรับสัมผัสต่าง ๆ ซึ่งทำาให้เราทราบถึงการเคลื่อนไหวของ ร่างกายว่าอยู่ในสภาพ ตำาแหน่ง ท่วงท่า หรือทิศทางใด 24. คลื่นเสียงมีคุณสมบัติอย่างไร (1) ความถี่และเฮิรตซ์ (3) ความถี่และความแรง (4) ความดังและความเข้ม (2) ความแรงและเดซิเบล (5) ข้อ 1 และ 2 ตอบ 3 กระแสเสียงหรือคลื่นเสียง (Sound Wave) มีคุณสมบัติ 2 ประการ คือ ความถี่
  • 11. 11 (Frequency) และความแรง (Amplitude) ของคลื่น 25. เราจะรับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดมากหรือน้อยได้เกี่ยวข้องกับ อะไร (1) ทฤษฎีคุมด่าน (3) ทฤษฎีปรปักษ์ (4) หลักของเพอร์สเปคทีพ (2) หลักของภาพและพื้น (5) ทฤษฎีปฏิกิริยาสะท้อน ตอบ 1 ทฤษฎีคุมด่าน (Gate Control Theory) เป็นทฤษฎีการ เจ็บปวดที่เชื่อว่า ไขสันหลัง เป็นที่รวมของประสาทใหญ่น้อยที่จะส่งไปยังสมองและที่มาจาก กล้ามเนื้อและผิวหนังอื่น ๆ ของร่างกาย ซึ่งหากบุคคลมีอาการกลัวความเจ็บปวดในสมอง จะ ทำาให้เกิดกระแสประสาท ไปเร้าด่านที่ไขสันหลังทำาให้ด่านเปิดและส่งกระแสที่เจ็บปวดไปยัง สมองได้ 26. นักจิตวิทยานำาหน้าผามายา (Visual Cliff) มาใช้ในการ ทดลองเกี่ยวกับอะไร (1) ปรากฏการณ์คงที่ ระยะทาง/ความลึก (3) การล่วงรู้เหตุการณ์ในอนาคต ต้องอาศัยดวงตา (2) การรับรู้ (4) การกะระยะโดยไม่ (5) ผิดทุกข้อ ตอบ 2 จากการทดลองเกี่ยวกับการรับรู้ความลึกและระยะทางโดย อาศัยเครื่องมือที่เรียกว่า “หน้า ผามายา” (Visual Cliff) พบว่าเมื่อเด็กทารกคลานไปถึงกึ่งกลาง โต๊ะที่เป็นรอยต่อระหว่าง กระจกโปร่งใสกับที่ทาสีตาหมากรุก (ทำาให้แลเห็นเป็นพื้นที่ 2 ระดับที่มีความสูงตำ่า ต่างกัน) เด็กจะไม่กล้าคลานออกไป แสดงว่าการรับรู้ความลึกเกิด ขึ้นได้เองโดยไม่ต้อง เรียนรู้
  • 12. 12 27. สัมปชัญญะเกี่ยวข้องกับเรื่องใด (1) อารมณ์ (3) พันธุกรรม (4) การตอบสนองต่อสิ่งเร้า (2) สัญชาตญาณ (5) สภาวะรู้ตัวในขณะปัจจุบัน ตอบ 5 สัมปชัญญะ หมายถึง การรู้ตัวทั่วพร้อมว่ากำาลังทำา พูด คิด หรือมีพฤติกรรมใดอยู่โดย สภาวะที่ร่างกายของบุคคลออกจากสัมปชัญญะหรือขาด สัมปชัญญะ (การรู้ตัวตำ่า) ได้แก่ การนอนหลับ การหมดสติ การสะกดจิต การใช้ยาเสพติด และการ นั่งสมาธิภาวนา 28. สภาพจิตใจที่มีความเครียด สับสนวุ่นวาย คิดมาก ฟุ้งซ่าน คลื่นสมองจะมีคลื่นแบบใด (1)แอลฟา แกมมา (2) เดลตา (5) ซิกมา (3) บีตา (4) ตอบ 3 ในช่วงตื่น กระแสคลื่นสมองของมนุษย์จะสั้นและถี่ เรียก ว่า คลื่นบีตา (Beta) โดยเฉพาะในคนที่มีความเครียด สับสนวุ่นวาย คิดมาก ฟุ้งซ่าน จะมีแต่คลื่นสมองบีตา เท่านั้น ส่วน ในช่วงเคลิ้มหลับหรือก่อนนอนหลับ หรือในขณะที่ ร่างกายมีการผ่อนคลาย เต็มที่ หรือในช่วง เวลาที่นั่งเจริญสมาธิภาวนา กระแสคลื่นสมอง จะยาวและห่างขึ้น เรียกว่า คลื่นแอลฟา (Alpha) 29. การขัดขวางไม่ให้มีการนอนหลับทั้งในมนุษย์และสัตว์ จะ ทำาให้เกิดอาการชนิดใด (1) REM Microsleep (2) Non-REM (4) Day Dreaming (5) ฝันร้าย (3)
  • 13. 13 ตอบ 3 โดยปกติแล้วร่างกายของมนุษย์และสัตว์ต้องการการนอน หลับพักผ่อนตามปกติ แต่ถ้าการ นอนหลับนั้นถูกขัดขวางไม่ให้เกิดขึ้น ทั้งคนและสัตว์จะมีการ สัปหงกเป็นพัก ๆ หรือมี การหลับเป็นช่วงสั้น ๆ ซึ่งเรียกว่า Microsleep 30. แบบแผนการนอนหลับที่ผิดปกติอันเนื่องมาจากเดินทางข้าม ทวีปจากซีกโลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลก หนึ่งเรียกว่าอะไร (1) Fatigue EEG (4) Jet Lag (2) Sleep Spindle (3) (5) MRI ตอบ 4 นักเดินทางที่ต้องขึ้นเครื่องบินเดินทางข้ามทวีปจากซีก โลกหนึ่งไปยังอีกซีกโลกหนึ่งมักจะ เกิดสภาวะที่เรียกว่า Jet Lag คือ ต้องปรับตัวกับเวลาของประเทศ ที่เดินทางไปถึงใหม่ เนื่องจากแบบแผนการนอนตามธรรมชาติถูกรบกวน 31. กาแฟ บุหรี่ มีผลต่อภาวะการรู้สึกตัวอย่างไร (1) กดประสาท (3) กล่อมประสาท (4) หลอนประสาท (2) กระตุ้นประสาท (5) ทำาลายประสาท ตอบ 2 ยาเสพติดแบ่งตามการออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลาง ได้ 4 กลุ่ม คือ 1. ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่น มอร์ฟีน เฮโรอีน ยาระงับ ประสาท ยากล่อมประสาท ยานอนหลับ สารระเหย (ทินเนอร์ เนนซีน) และเครื่องดื่มมึนเมา (เหล้า เบียร์) 2. ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ พวกแอมเฟตามีน (ยาบ้า) กระท่อม โคเคอีน สาร นิโคตินในบุหรี่ สารคาเฟอีนในกาแฟหรือชา และยาแก้ปวด 3. ประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี (LSD) ดีเอ็มที (DMT) และเห็ดขี้ควาย
  • 14. 14 4. ประเภทออกฤทธิ์ผสมผสาน อาจกด กระตุ้น หรือหลอน ประสาทร่วมกัน ได้แก่ กัญชา 32. คลื่นสมองชนิดใดปรากฏขณะที่บุคคลกำาลังเจริญสมาธิ (1) ควอนตัม (3) บีตา (4) แอลฟา (2) แกมมา (5) ถูกทุกข้อ ตอบ 4 ดูคำาอธิบายข้อ 28. ประกอบ 33. LSD เป็นยาเสพติดลักษณะใด (1) กระตุ้นประสาท (3) หลอนประสาท (4) ออกฤทธิผสมผสาน ์ (2) กดประสาท (5) ถูกทุกข้อ ตอบ 3 ดูคำาอธิบายข้อ 31. ประกอบ 34. แอลแลน ฮอบซัน และคณะ อธิบายเกี่ยวกับความฝันไว้ อย่างไร (1) เป็นการแสดงออกของความต้องการในระดับจิตใต้สำานึก (2) เป็นเรื่องของความวิตกกังวลและความแปรปรวนของธาตุ (3) เป็นเรื่องของความคิดคำานึงและความรู้สึกที่ต่อเนื่องจากกลาง วัน (4) เป็นเรื่องของกระบวนการทางสรีรวิทยาล้วน ๆ ไม่เกี่ยวกับ จิตใต้สำานึก (5) เป็นการส่งผ่านของประสบการณ์ย้อนยุคจากบรรพบุรุษที่นอก เหนือจากการรับรู้ในปัจจุบัน ตอบ 4 Activation-synthesis Hypothesis เป็นทฤษฎีความ ฝันในปัจจุบันที่กำาเนิด โดย นักวิทยาศาสตร์ 2 คน คือ แอลแลน ฮอบซัน และโรเบิร์ต แมคคา เลย์ ซึ่งเชื่อว่า ความ ฝันเป็นกระบวนการทางสรีรวิทยาล้วน ๆ ไม่เกี่ยวกับจิตใต้สำานึก แต่อย่างใด กล่าวคือ
  • 15. 15 ในช่วงของการนอนหลับที่มี REM เกิดขึ้น เซลล์ในสมองจะถูก กระตุ้นให้ทำางานตลอด ช่วงเวลาที่บุคคลกำาลังฝันอยู่ 35. เอาสติมาจับที่ลมหายใจ เมื่อหายใจเข้าภาวนาว่า “พุท” เมื่อ หายใจออกภาวนาว่า “โธ” เป็น วิธีการฝึกสมาธิแบบใด (1) พอง-ยุบ (3) ธรรมกาย (4) เซน (5) เต๋า (2) อานาปานสติ ตอบ 2 วิธีอานาปานสติ หมายถึง การเอาจิตมาจับที่ลมหายใจของ ผู้ปฏิบัติ ซึ่งอาจเอาสติมา ตั้งไว้ที่ปลายจมูก เมื่อหายใจเข้าก็ใช้คำาบริกรรมภาวนาว่า “พุท” และเมื่อหายใจ ออกก็ให้ภาวนาว่า “โธ” และมีสติอยู่ที่ลมหายใจเข้าออกตลอด เวลา เพื่อไม่ให้จิตส่ง ส่ายออกไปภายนอก 36. กรณีที่มีโครโมโซมเพศผิดปกติจะส่งผลอย่างไร (1) อาการปัญญาอ่อน (3) รูปร่างใหญ่ผิดปกติ (4) เป็นหมัน (2) รูปร่างแคระแกร็น (5) ถูกทุกข้อ ตอบ 5 กรณีที่มีโครโมโซมเพศผิดปกติจะส่งผลหรือมีอิทธิพลต่อ บุคคลในด้านต่าง ๆ คือ 1. ด้านร่างกาย เช่น ทำาให้มีรูปร่างแคระแกร็นหรือมีรูปร่างใหญ่ ผิดปกติ ผูหญิงบางคนอาจ ้ ไม่มีหน้าอก ไม่มีประจำาเดือน และเป็นหมัน ฯลฯ 2. ด้านสติปัญญา เช่น ทำาให้มีอาการของโรคปัญญาอ่าน ฯลฯ 37. การขาดออกซิเจนเป็นเวลาเท่าใดที่มีผลให้เซลล์สมองของ ทารกถูกทำาลาย
  • 16. 16 (1) 18 วินาที (5) 10 นาที (2) 30 วินาที (3) 1 นาที (4) 4 นาที ตอบ 1 สภาวะของการขาดออกซิเจนขณะคลอดมีสาเหตุมาจาก การที่ทารกคลอดยากหรือรกไม่เปิด ทำาให้ออกซิเจนเข้าสู่กระแสโลหิตของทารกไม่ได้ ซึ่งหากทารก ขาดออกซิเจนประมาณ 18 วินาทีเท่านั้น จะมีผลต่อเซลล์สมองทำาให้เซลล์สมองถูกทำาลาย และถ้าขาดนาน ๆ อาจ ทำาให้ทารกตายได้ 38. สุขภาพจิตของแม่ส่งผลต่อเด็กในครรภ์ได้อย่างไร (1) ทำาให้เด็กปัญญาอ่อน ความพิการหูหนวกตาบอด (3) เด็กเป็นโรคภูมิแพ้ ง่าย (5) ขาดฮอร์โมนบางชนิด (2) เด็กเกิด (4) ร่างกายอ่อนแอติดเชื้อ ตอบ 1 สุขภาพจิตของแม่ในด้านอารมณ์จะส่งผลต่อเด็กในครรภ์ เป็นอย่างมาก เพราะถ้าแม่มี อารมณ์เครียดมาก ๆ หรือนาน ๆ จะทำาให้ฮอร์โมนในเลือดไม่ สมดุล ซึ่งเป็นสาเหตุของ โรคปัญญาอ่อนชนิด Mongolism 39. กีเซลล์ได้ทำาการศึกษาในเรื่องใด (1) การเรียนรู้ของฝาแฝด (3) ระยะสำาคัญของวุฒิภาวะ (4) ประสบการณ์ในระยะฝังใจ (2) วุฒิภาวะ (5) ถูกทุกข้อ ตอบ 2 กีเซลล์ (Gesell) เป็นนักจิตวิทยาที่ศึกษาเรื่องวุฒิภาวะ หรือความพร้อมของบุคคล (Maturation) และลักษณะพัฒนาการของทารก โดยเขาเชื่อว่า “วุฒิภาวะเพียงอย่าง เดียวที่มีส่วนรับผิดชอบต่อการเจริญเติบโตและความสามารถของ บุคคล” และ “การเรียนรู้
  • 17. 17 ไม่ว่าลักษณะใดจะไม่ก่อประโยชน์หากร่างกายไม่พร้อมหรือยัง ไม่มีวุฒิภาวะ” 40. ลอเรนซ์ทำาการทดลองที่พบความสำาคัญในเรื่องใด (ใช้ตัว เลือกข้อ 39.) ตอบ 4 ลอเรนซ์ (Lorenz) เป็นผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับการเรียนรู้แบบ ฝังใจ (Imprinting) โดยเขา ได้ทดลองกับห่าน ซึ่งผลปรากฏว่าเมื่อลูกห่านฟักตัวออกจากไข่มา แล้ว ลูกห่านจะฝังใจ ตามสิ่งแรกที่เคลื่อนไหวทีมันได้เห็น ทั้งนี้ประสบการณ์การเรียนรู้ แบบฝังใจจะเกิดขึ้นใน ช่วงเวลาสั้น ๆ และเมื่อเกิดขึ้นแล้วจะแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ยาก 41. นักจิตวิทยาท่านใดที่กล่าวถึงความสำาคัญของปฏิสัมพันธ์ทาง สังคมระหว่างเด็กกับบุคคลใกล้ชิด (1) ฟรอยด์ เพียเจท์ (4) บรูเนอร์ (2) อิริคสัน (3) (5) โคลเบิร์ก ตอบ 2 อิริคสัน (Erikson) เป็นผู้ที่ศึกษาในเรื่องเกี่ยวกับ พัฒนาการทางจิตสังคม (Psychosocial Stages) โดยเน้นความสำาคัญของความสัมพันธ์ และความต้องการทาง สังคม (ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม) ระหว่างเด็กกับบุคคลใกล้ชิด ด้วย การศึกษาว่าพัฒนาการ ทางจิตและสังคมของมนุษย์เกิดขึ้นตั้งแต่แรกคลอดจนกระทั้งการ สิ้นสุดของชีวิต ซึ่งเขาได้ แบ่งระยะพัฒนาการของคนในแต่ละวัยออกเป็น 8 ระยะด้วยกัน 42. โครโมโซมคู่ใดที่ปกติ (1) XO ข้อ 2 และ 3 (2) XY (3) XX (4) YY ตอบ 5 โดยปกติโครโมโซมเพศของมนุษย์จะเป็นดังนี้ (5)
  • 18. 18 1. เพศชาย มีโครโมโซมเพศเป็น XY 2. เพศหญิง มีโครโมโซมเพศเป็น XX 43. เหตุใดจึงเกิดฝาแฝดเหมือน (1) (2) (3) (4) (5) เกิดเซลล์ปฏิสนธิพร้อมกันมากกว่า 1 เซลล์ เกิดการแบ่งตัวของเซลล์ปฏิสนธิผิดพลาด สภาพร่างกายของแม่สมบูรณ์มากกว่า แม่มีอายุน้อยเกินไป เป็นไปได้ทุกกรณี ตอบ 2 ฝาแฝด (Twins) แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ 1. ฝาแฝดเหมือนหรือแฝดแท้ (Identical Twins) เกิดจากไข่ 1 ใบ ผสมกับ สเปิร์มหรืออสุจิ 1 ตัวแล้วเซลล์เกิดการแบ่งตัวเป็นตัวอ่อน 2 ตัว (เกิดการ แบ่งตัวของเซลล์ปฏิสนธิผิดพลาด) ฝาแฝดเหมือนจึงเป็นเพศ เดียวกัน 2. ฝาแฝดคล้ายหรือแฝดเทียม (Fraternal Twins) เกิดจากไข่ 2 ใบ ผสมกับ สเปิร์มหรืออสุจิ 2 ตัว เซลล์แบ่งตัวเป็นอิสระจากกัน (เกิดเซลล์ ปฏิสนธิพร้อมกัน มากกว่า 1 เซลล์) ฝาแฝด คล้ายจึงอาจมีเพศเหมือนกันหรือต่าง กันก็ได้ 44. ยีนส์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ยกเว้น กรณีใด (1) Rh แฟคเตอร์ มารดา (3) การได้รับรังสีบางชนิด เพศแบบ XXY (5) การมีโครโมโซมเพศแบบ XYY (2) สุขภาพจิตของ (4) การมีโครโมโซม ตอบ 3 โดยทั่วไปแล้วยีนส์ที่อยู่ในร่างกายของคนเรานั้นจะไม่ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ใน สภาพการณ์ที่เป็นปกติ แต่อาจจะเปลี่ยนแปลงได้ด้วยการใช้รังสี เอกซเรย์ (X-ray) หรือ
  • 19. 19 การใช้ยาบางชนิด 45. การเปรียบเทียบค่าสหสัมพันธ์ของคะแนนสติปัญญาระหว่าง กลุ่มฝาแฝดเหมือน พ่อกับลูก ฝาแฝด คล้ายพี่กับน้อง เพื่อตอบคำาถามใด (1) ความสำาคัญของพัฒนาการ พันธุกรรม (3) ความสำาคัญของสิ่งแวดล้อม การอบรมเลี้ยงดู (5) ความสำาคัญจองสติปัญญา (2) ความสำาคัญของ (4) ความสำาคัญของ ตอบ 2 การเปรียบเทียบค่าสหสัมพันธ์ของคะแนนสติปัญญาใน บุคคลที่มีความใกล้ชิดทางพันธุกรรม ต่าง ๆ กัน เช่น ระหว่างกลุ่มฝาแฝดเหมือน ฝาแฝดคล้าย พ่อแม่ กับลูก พี่กับน้อง ฯลฯ เพื่อตอบคำาถามในเรื่องความสำาคัญของพันธุกรรมหรือ อิทธิพลของพันธุกรรมที่มีต่อ การพัฒนาทางด้านสติปัญญา 46. พฤติกรรมอะไรเกิดมาจากการเรียนรู้ (1) การถ่ายภาพกระแสนำ้าเพื่อวางไข่ของปลาบางชนิด (2) การไอ (3) การชักใย ของแมงมุม (4) การแยกแยะความแตกต่างของกลิ่นของสุนัข (5) การกระตุกมือ ตอบ 4 การเรียนรู้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่ค่อนข้างถาวรของ พฤติกรรมอันเป็นผล เนื่องมาจากประสบการณ์ในอดีต เช่น สุนัขดมกลิ่นสามารถแยก ความแตกต่างของ ยาเสพติดหรือวัตถุระเบิดออกจากสิ่งอื่น ๆ ได้ แต่พฤติกรรมบาง อย่างของมนุษย์และสัตว์ ก็ไม่ได้เกิดจากการเรียนรู้ แต่เกิดจากปฏิกิริยาสะท้อนซึ่งเป็น พฤติกรรมการตอบสนองตาม ธรรมชาติที่มีมาแต่กำาเนิด เช่น การกะพริบตา การกระตุกมือ การ ไอหรือจาม ฯลฯ และ
  • 20. 20 เกิดจากสัญชาตญาณซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ซับซ้อน ไม่ต้องเรียนรู้ และเป็นลักษณะเฉพาะ เผ่าพันธุ์ เช่น การว่ายนำ้าของปลา การชักใยของแมงมุม การบิน ได้ของนก ฯลฯ 47. การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกค้นพบโดยท่านใด (1) สกินเนอร์ (3) ธอร์นไดค์ (4) พาฟลอฟ (2) แบนดูรา (5) เซียร์ส ตอบ 4 ต้นศตวรรษที่ 20 นักสรีรวิทยาชาวรัสเซียชื่อ อีวาน พา ฟลอฟ (Ivan Pavlov) ได้ ค้นพบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิกซึ่งเกิดขึ้นโดยมีการให้สิ่งเร้าที่ วางเงื่อนไขควบคู่กับสิ่ง เร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข จนก่อให้เกิดการตอบสนองที่ไม่ได้วาง เงื่อนไขขึ้น และเมื่อให้สิ่งเร้า ทั้ง 2 ลักษณะบ่อย ๆ เข้า สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไขจะก่อให้เกิดการ ตอบสนองขึ้นมาได้เอง เรียกว่า “การตอบสนองที่วางเงื่อนไข” ซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิด จากการเรียนรู้ ข้อ 48. - 51. พิจ ารณาจากตัว เลือ กต่อ ไปนี้ (1) สิ่งเร้าที่วางเงื่อนไข (CS) เงื่อนไข (US) (3) การตอบสนองที่วางเงื่อนไข (CR) เหมือน (Generalization) (5) การหยุดยั้ง (Extinction) (2) สิ่งเร้าที่ไม่ได้วาง (4) การสรุปความ 48. แมวเห็นปลาย่างแล้วนำ้าลายไหล ตอบ 2 สิ่งเราที่ไม่ได้วางเงื่อนไข (Unconditioned Stimulus : US) เป็นสิ่งเร้าที่ไม่ได้เกิดจาก การเรียนรู้ที่จะตอบสนองต่อสิ่งนั้น และมักทำาให้เกิดการตอบสนอง แบบปฏิกิริยาสะท้อน
  • 21. 21 เช่น แมวเห็นปลาย่างแล้วนำ้าลายไหล ดังนั้นปลาย่างจึงเป็นสิ่งเร้า ที่ไม่ได้วางเงื่อนไข เนื่องจากทำาให้แมวหลั่งนำ้าลายซึ่งเป็นปฏิกิริยาสะท้อน 49. ปลาเลิกช่วยมดทำาขนม เพราะมดไม่ยอมแบ่งขนมให้ปลาอีก ต่อไป ตอบ 5 การหยุดยั้งพฤติกรรม (Extinction) คือ การลดลงของ การตอบสนองที่เรียนรู้แล้ว เนื่องจากไม่ได้รับการเสริมแรงเป็นเวลานานก่อนที่จะเกิดการหยุด ยั้งของพฤติกรรม เช่น ปรากฏการณ์ที่เด็กเลิกงอแงหลังจากที่แม่ทำาเป็นเฉย ๆ และไม่ สนใจต่อการร้องไห้ของเขา ซึ่งเมื่อทำาเช่นนี้หลาย ๆ ครั้ง พฤติกรรมการร้องงอแงของเด็กก็จะ ลดลงและหมดไปใน ที่สุด 50. เล็กเบื่อบ้าน ทุกครั้งที่เข้าบ้านมีแต่เรื่อง ตอบ 3 การตอบสนองที่วางเงื่อนไข (Conditioned Response : CR) เป็นการตอบสนองที่เกิด จากการเรียนรู้ ไม่ใช่ปฏิกิริยาสะท้อนธรรมดา เช่น เด็กจะเกิด อาการเบื่อบ้าน เพราะทุก ครั้งที่เข้าบ้านจะพบกับเหตุการณ์พ่อแม่ทะเลาะกันเสมอ เป็นต้น 51. ผูหญิงเหมือนไม้เลื้อยทุกคน ้ ตอบ 4 การสรุปความเหมือน (Generalization) หมายถึง การ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่คล้ายกัน กับสิ่งที่เร้าที่วางเงื่อนไขเอาไว้แล้ว หรืออีกนัยหนึ่งก็คือเป็นการ ขยายผลของการเรียนรู้ไป ยังสถานการณ์ใหม่ ๆ ที่คล้ายกัน เช่น เด็กที่ถูกไฟไหม้นิ้วโดย บังเอิญขณะเล่นไม้ขีดไฟก็ จะกลัวเปลวไฟที่เห็นจากที่จุดบุหรี่ เตาไฟ เตาผิง และอื่น ๆ เป็นต้น ข้อ 52.- 54. พิจ ารณาจากตัว เลือ กต่อ ไปนี้
  • 22. 22 (1) อัตราส่วนคงที่ แน่นอน (3) ช่วงเวลาคงที่ แน่นอน (2) อัตราส่วนไม่ (4) ช่วงเวลาไม่ 52. พนักงานขายประกัน ขายได้มากได้ส่วนแบ่งมาก ตอบ 1 การเสริมแรงแบบอัตราส่วนคงที่ (Fixed Ratio) คือ การ ให้การเสริมแรงตามอัตราส่วน ของการตอบสนองที่คงที่ โดยจะดูจำานวนครั้งของการตอบสนอง เช่น ให้รางวัลเมื่อมีการ ตอบสนองทุก 3 ครั้ง ซึ่งการเสริมแรงแบบนี้จะทำาให้อัตราการ ตอบสนองสูงที่สุด เช่น การที่พนักงานขายได้รับค่าตอบแทนตามจำานวนของสินค้าที่ขาย ได้ ดังนั้นพนักงานขายจึง เร่งทำายอดขายเพื่อให้ได้รับผลตอบแทนมากขึ้น 53. ปีใหม่ปีที่แล้วประชาไม่ได้ของขวัญจากใครเลย ตอบ 2 การเสริมแรงแบบอัตราส่วนที่ไม่แน่นอน (Variable Ratio) คือ การให้แรงเสริมต่อการ ตอบสนองในอัตราที่ไม่แน่นอน จึงทำาให้ยากแก่การทำานายว่าจะ ได้รับรางวัลเมื่อใด เช่น บางครั้งตอบสนอง 2 ครั้งจึงได้รางวัล แต่บางครั้งต้องตอบสนอง ถึง 5 ครั้ง จึงจะได้ รางวัล ซึ่งการเสริมแรงแบบนี้จะทำาให้เกิดการตอบสนองในอัตรา สูงแต่น้อยกว่าแบบ อัตราส่วนคงที่ เช่น การเล่นพนันตู้แบบสล็อตแมชีน การซื้อสลาก กินแบ่งรัฐบาล 54. DJ เพลงประกาศว่า ใครโทรศัพท์เข้าสถานีเป็นรายที่ 100 จะได้ไปเที่ยวเชียงใหม่ฟรี ตอบ 1 ดูคำาอธิบายข้อ 52. ประกอบ 55. มานะตกวิชาเลขคณิต ทำาให้มานะไม่มีกำาลังใจที่จะเรียน หนังสืออีกต่อไป และคิดว่าตนคงไม่สามารถ
  • 23. 23 เรียนหนังสือได้ (1) การเสริมแรง (3) การหยุดยั้ง (4) การแยกความแตกต่าง (2) การลงโทษ (5) การสรุปความเหมือน ตอบ 2 การลงโทษ หมายถึง การปรากฏของสิ่งที่ไม่พึงปรารถนา หรือการนำาสิ่งที่พึงปรารถนา ออกไปจึงมีผลให้การตอบสนองลดลง เช่น การตี การเสียสิทธิ์ การจำาคุก การสอบตก ฯลฯ ซึ่งการลงโทษจะทำาให้เกิดผลข้างเคียงคือ เกิดการวาง เงื่อนไขเกี่ยวกับความกลัวต่อ บุคคล สถานการณ์ หรือ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษ กระตุ้นให้เกิดความก้าวร้าว และเกิดการเรียนรู้ที่จะหนีและหลีกเลี่ยง เช่น นักเรียนที่สอบตกมัก จะเกิดความรู้สึกท้อแท้ ในการเรียนจนไม่อยากเรียนหนังสืออีกต่อไป 56. ความจำาระยะสั้นจะมีลักษณะเป็นอย่างไร (1) เก็บข้อมูลไม่จำากัดจำานวน ความหมาย (3) จำาในสิ่งที่เป็นข้อเท็จจริงของโลก เป็นเรื่องของชีวิตตนเอง (5) ทำางานอยู่ในระดับปฏิบัติการ (2) จำาในสิ่งที่มี (4) จำาในสิ่งที่ ตอบ 5 ความจำาระยะสั้น ทำาหน้าที่คล้ายคลังข้อมูลชั่วคราวที่เก็บ ข้อมูลได้ในจำานวนจำากัดโดยจะ เก็บข้อมูลในลักษณะจินตภาพ เป็นความจำาที่ช่วยป้องกันไม่ให้เรา สับสนเกี่ยวกับชื่อ วันที่ หมายเลยโทรศัพท์ และเรื่องเล็ก ๆ น้อย ๆ นอกจากนี้ยังเป็นความ จำาในส่วนที่ ปฏิบัติงาน (Working Memory) การหมุนโทรศัพท์ การคิดเลข ในใจ การจำารายการสั่ง ของที่จะซื้อ ฯลฯ 57. ภาพติดตาหรือจินตภาพจะคงอยู่ได้กี่วินาที
  • 24. 24 (1) 2 วินาที (3) 1 วินาที (4) ครึ่งวินาที (2) เศษ 1 ส่วน 2 วินาที (5) ขึ้นอยู่กับบุคคล ตอบ 4 ความจำาจากการรับสัมผัส คือ ระบบการจำาขั้นแรกที่จะเก็บ ข้อมูลไว้ในช่วงสั้น ๆ เพื่อถ่าย ข้อมูลต่อไปยังระบบการจำาอื่น ๆ เช่น ถ้าได้เห็นข้อมูล ภาพติดตา (Icon) หรือจินต ภาพจะคงอยู่ได้ครึ่งวินาที แต่ถ้าเป็นการได้ยิน เสียงก้องหู (Echo) ของสิ่งที่ได้ยินจะคง อยู่ประมาณ 2 วินาที 58. ความจำาระยะยาวมีลักษณะเป็นอย่างไร (1) การเกิดจินตภาพ (3) การได้ยินเสียง (4) ข้อมูลมีจำากัด (2) จำาในสิ่งที่มีความหมาย (5) ทำางานอยู่ในระดับปฏิบัติการ ตอบ 2 ความจำาระยะยาว จะทำาหน้าที่เสมือนคลังข้อมูลถาวรซึ่ง บรรจุทุกอย่างที่เรารู้เกี่ยวกับโลก เอาไว้โดยมีความสามารถในการเก็บข้อมูลไม่จำากัด และจะเก็บ ข้อมูลไว้บนพื้นฐานของ ความหมายและความสำาคัญของข้อมูล ซึ่งความจำาระยะยาวนี้มี 2 ประเภท คือ 1. การจำาความหมาย เป็นการจำาความรู้พื้นฐานที่เป็นข้อเท็จจริง เกี่ยวกับโลก เช่น ชื่อวัน เดือน ภาษา และทักษะการคำานวณง่าย ๆ ฯลฯ 2. การจำาเหตุการณ์ เป็นการจำาเรื่องเกี่ยวกับชีวิตของตนเอง เป็นการบันทึกเหตุการณ์ใน ชีวิต 59. ข้อใดไม่ใช่วิธีการรักษาความทรงจำาให้คงอยู่ได้ (1) จำาในสิ่งที่มีความหมาย (2) จำาเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำาวัน (3) การสร้างความจำาขึ้นมาใหม่
  • 25. 25 (4) มีการบริหารจัดการข้อมูล (5) สร้างข้อมูลในลักษณะจินตภาพ ตอบ 5 วิธีการรักษาความทรงจำาให้คงอยู่ได้ ได้แก่ 1. การจำาความหมายและการจำาเหตุการณ์ 2. การสร้างความจำาขึ้นมาใหม่ 3. การบริหารจัดการข้อมูล 60. บอกได้ว่า “ร่มนี้เป็นของฉันหายไปเมื่อ 2 เดือนที่แล้ว” เป็นการวัดความจำาแบบใด (1) การระลึกได้ (Recall) (Recognition) (3) การเรียนซำ้า (Relearning) (Reintegration) (5) การสร้างความจำา (Construct) (2) การจำาได้ (4) การบูรณาการใหม่ ตอบ 2 การจำาได้ (Recognition) เป็นการวัดความจำาโดยมีสื่อ กระตุ้นหรือชี้แนะให้จำาได้ เช่น ข้อสอบแบบเลือกตอบ หรือการเห็นร่มก็จำาได้ว่าเป็นของตนเองที่ เคยทำาหายไป การจำาได้ จะได้ผลดีถ้ามีรูปถ่ายหรือการได้เห็นสิ่งอื่น ๆ มาช่วย เช่น การที่ ตำารวจนิยมให้พยานชี้ ตัวผู้ตองสงสัยจากภาพถ่ายหรือสเก็ตภาพให้พยานดู เป็นต้น ้ 61. ใช้เวลาท่องอาขยานถึง 20 ครั้ง แต่หลังจาก 20 ปีผ่านไป สามารถท่องอาขยานใช้เวลาเพียง 2 ครั้ง ก็จำาได้ เรียกว่าอะไร (1) การระลึกได้ (Recall) (Recognition) (3) การเรียนซำ้า (Relearning) (Reintegration) (5) การสร้างความจำา (Construct) (2) การจำาได้ (4) การบูรณาการใหม่ ตอบ 3 การเรียนซำ้า (Relearning) เป็นการวัดความจำาในสิ่งที่ เราเคยเรียนรู้มาแล้ว แต่ไม่อาจ
  • 26. 26 ระลึกหรือจำาได้ แต่เมื่อให้เรียนซำ้าอีกก็ปรากฏว่าเราเรียนได้เร็ว ขึ้นและใช้เวลาเรียนน้อย กว่าเดิมทั้งนี้เพราะเคยมีคะแนนสะสมไว้แล้ว 62. เรียนรู้และจดจำาเฉพาะการเรียนสิ่งใหม่และลืมสิ่งที่เคยเรียน มาก่อนเรียกว่าอะไร (1) Retroactive Inhibition Inhibition (3) Repression (5) Encoding Failure (2) Proactive (4) Decay ตอบ 1 การรบกวน (Interfere) มักเป็นสาเหตุสำาคัญของการลืม โดยแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. Retroactive Inhibition คือ การที่การเรียนรู้ใหม่รบกวน (ความจำาของ) การ เรียนรู้เดิม 2. Proactive Inhibition คือ การที่การเรียนรู้เดิมรบกวน (ความจำาของ) การเรียนรู้ ใหม่ 63. การแก้ปัญหาโดยมีการรับรู้ มองเห็นความสัมพันธ์ และคิดได้ อย่างฉับพลันเรียกว่าอะไร (1) หยั่งเห็นคำาตอบในทันที (3) ใช้เครื่องจักร คำาถาม (5) แรงจูงใจของผู้แก้ปัญหา (2) ทำาความเข้าใจ (4) ใช้ความใหม่ของ ตอบ 1 การแก้ปัญหาโดยการหยั่งเห็นคำาตอบในทันที เป็นการแก้ ปัญหาแบบปรากฏการณ์มองเห็น คำาตอบโดยฉับพลัน ซึ่งมักเกิดขึ้นหลังจากคิดแก้ปัญหาแล้วแต่ไม่ ประสบผลสำาเร็จ การหยั่ง เห็นคำาตอบในทันทีนี้มักเกิดขึ้นอย่างฉับพลัน และผู้คิดมักสงสัยว่า ทำาไมความคิดเช่นนี้จึงไม่ เกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้
  • 27. 27 64. จากการศึกษาของ Miller พบว่าความจำาระยะสั้นของคน ปกติจะเป็นแบบใด (1) 5 หน่วย หน่วย (4) 8 หน่วย (2) 6 หน่วย (3) 7 (5) 9 หน่วย ตอบ 3 จอร์จ มิลเลอร์ ได้ทำาการศึกษาเกี่ยวกับการทดสอบช่วง การจำาตัวเลข (Digit-span Test) โดยเขาเห็นว่า ความระยะสั้นของคนปกติสามารถจำาข้อมูล ได้ประมาณ 7 ± 2 หน่วย 65. ปัจจัยสำาคัญที่ผลักดันให้บุคคลมีการแสดงพฤติกรรม คือ อะไร (1) สิ่งเร้า (3) แรงจูงใจ (4) ความรัก (2) สิ่งแวดล้อม (5) การเรียนรู้ ตอบ 3 แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง สภาวะหรือกระบวนการที่ สร้างและเป็นแรงกระตุ้นให้บุคคล แสดงพฤติกรรมออกมา ทั้งที่เป็นพฤติกรรมโดยสัญชาตญาณและ พฤติกรรมจากการเรียนรู้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามที่แรงจูงใจนั้นต้องการ ทั้งนี้แรงจูงใจจะ อยู่ในภาวะที่ไม่หยุดนิ่ง (Dynamic) และเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา เพื่อ สร้างให้ร่างกายอยู่ในสภาวะ ที่สมดุล 66. ได้มีผู้นำาแนวคิดและทฤษฎีแรงจูงใจไปประยุกต์ใช้ในด้าน ต่าง ๆ ยกเว้นด้านใด (1) ศาสนา (2) การเมือง (3) การโฆษณาประชาสัมพันธ์ (4) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • 28. 28 (5) ธุรกิจและการตลาด ตอบ 4 ในปัจจุบันมีผู้ที่นำาแนวคิดและทฤษฎีแรงจูงใจไปประยุกต์ ใช้เพื่อเป็นประโยชน์ในงานด้าน ต่าง ๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองการปกครอง การ บริหารธุรกิจและการตลาด การโฆษณาประชาสัมพันธ์ การศึกษา รวมถึงการศาสนา โดยนำา วิธีการจูงใจไปใช้เพื่อ สร้างสภาวะให้บุคคลอันเป็นกลุ่มเป้าหมายได้มีพฤติกรรมไปใน แนวทางที่ตนต้องการ 67. ข้อใดไม่ใช่กระบวนการของแรงจูงใจ (1) (2) (3) (4) (5) การตอบสนอง (Response) มโนทัศน์ (Concept) แรงขับ (Drive) ความต้องการ (Need) เป้าหมาย (Goal) ตอบ 2 กระบวนการของการเกิดแรงจูงใจ ประกอบด้วยองค์ ประกอบ 4 ประการ คือ 1. ความต้องการ (Need) 2. แรงขับ (Drive) 3. การตอบสนอง (Response) หรือพฤติกรรม 4. เป้าหมาย (Goal) 68. ข้อใดถูกต้อง A. แรงจูงใจ (Motive) หมายถึง สภาวะที่เป็นแรงกระตุ้นให้ บุคคลแสดงพฤติกรรมออกมา เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายตามที่แรงจูงใจนั้นต้องการ B. การจูงใจ (Motivation) หมายถึง กระบวนการของการนำา ปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นแรงจูงใจมา กระตุ้นให้บุคคลแสดงพฤติกรรมไปอย่างมีทิศทางเพื่อบรรลุเป้า หมาย C. แรงจูงใจ เป็นภาวะที่ไม่หยุดนิ่ง (Dynamic) และเป็นกระบวน การที่เกิดขึ้นตลอดเวลา เพื่อ สร้างให้ร่างกายเกิดสภาวะสมดุล
  • 29. 29 (1) ข้อ A และ B ข้อ B และ C (4) ถูกทุกข้อ (2) ข้อ A และ C (3) (5) ผิดทุกข้อ ตอบ 4 (ดูคำาอธิบายข้อ 65. ประกอบ) การจูงใจ (Motivation) หมายถึง กระบวนการ ของการนำาปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นแรงจูงใจมากระตุ้นหรือผลักดันให้ บุคคลแสดง พฤติกรรมไปอย่างมีทิศทาง เพื่อบรรลุเป้าหมายหรือเงื่อนไขที่ผู้ จูงใจต้องการ 69. ข้อใดไม่ใช่แรงจูงใจพื้นฐานของมนุษย์ (1) หลีกเลี่ยงความเจ็บปวด (3) ความหิว (4) ความกระหาย (2) ความสุข (5) ความต้องการทางเพศ ตอบ 2 แรงจูงใจพื้นฐานของมนุษย์ เป็นแรงจูงใจที่เกิดขึ้นเพื่อ ความอยู่รอดของชีวิต แบ่งเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1. แรงจูงใจทางชีวภาพ ได้แก่ ความหิวและความกระหาย 2. แรงจูงใจเพื่อการสืบเผ่าพันธุ์ ได้แก่ ความต้องการทางเพศ 3. แรงจูงใจเพื่อหลีกหนีอันตราย ได้แก่ ความต้องการหลีกหนี ความเจ็บปวด 70. ทฤษฎีอะไรเกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ (1) ทฤษฎีหลักการมีเหตุผล (3) ทฤษฎีลำาดับขั้นของความต้องการ สัญชาตญาณ (5) ถูกทุกข้อ (2) ทฤษฎีแรงขับ (4) ทฤษฎี ตอบ 5 ทฤษฎีเกี่ยวข้องกับแรงจูงใจ ได้แก่ 1. ทฤษฎีความต้องการความสุขส่วนตัว 2. ทฤษฎีสัญชาตญาณ 3. ทฤษฎีหลักการมีเหตุผล 4. ทฤษฎีแรงขับ 5. ทฤษฎีลำาดับขั้นของความต้องการ
  • 30. 30 71. ข้อใดไม่ใ ช่แรงขับที่จำาแนกตามระบบชีววิทยา (1) แรงขับฉุกเฉิน (2) แรงขับเพื่อการ ศึกษา (3) แรงขับเพื่อการอยู่รอดของชีวิต (4) แรงขับเพื่อ การสืบพันธุ์ (5) แรงขับเพื่อได้รับการยอมรับ ตอบ 5 แรงขับ (Drive) สามารถจำาแนกตามระบบทางชีววิทยา ได้เป็น 4 ประเภท คือ 1. แรงขับเพื่อการอยู่รอดของชีวิต 2 แรงขับฉุกเฉิน 3. แรงขับเพื่อการสืบพันธุ์ 4. แรงขับเพื่อการศึกษา 72. ข้อใดเรียงลำาดับความต้องการของมาสโลว์ (Maslow) ได้ถูก ต้อง A. ความต้องการประจักษ์ในตน B. ความต้องการ ได้รับการยกย่องจากผู้อื่น C. ความต้องการความรักและการเป็นเจ้าของ D. ความ ต้องการทางด้านร่างกาย E. ความต้องการความปลอดภัยและมั่นคง ตอบ 5 ลำาดับชั้นความต้องการของมาสโลว์ มี 5 ขั้น ดังนี้ 1. ความต้องการทางด้านร่างกาย 2. ความต้องการความปลอดภัยและความมั่นคง 3. ความต้องการความรักและความเป็นเจ้าของ 4. ความต้องการได้รับการยกย่องจากผู้อื่น 5. ความต้องการประจักษ์ตน 73. ข้อใดถูก (1) แรงจูงใจภายนอกเป็นแรงจูงใจที่สร้างให้บุคคลเกิด สัมพันธภาพกับผู้อื่น (2) แรงจูงใจภายในจำาเป็นและสำาคัญเท่ากับแรงจูงใจพื้นฐาน (3) แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เริ่มเกิดเมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น (4) แรงจูงใจใฝ่สัมพันธ์ทำาให้มนุษย์ดำารงชีวิตเผ่าพันธุ์ของตนได้ ต่อไป
  • 31. 31 (5) แรงจูงใจจากการเรียนรู้เป็นแรงจูงใจที่มีมาตั้งแต่เกิด ตอบ 1 แรงจูงใจภายนอก (Extrinsic Motive) หรือแรงจูงจาก การเรียนรู้ เป็นแรงจูงใจของ บุคคลที่เกิดจากการได้รับการกระตุ้นจากสิ่งเร้าภายนอก ทำาให้คน เราเกิดจุดมุ่งหมาย จน นำาไปสู่การแสดงพฤติกรรมเพื่อนำาตนไปสู่จุดหมายนั้น ซึ่งนับว่า เป็นแรงจูงใจทางสังคมที่ สร้างให้บุคคลเกิดสัมพันธภาพกับผู้อื่น 74. ทฤษฎีหลักการมีเหตุผล (1) อำามาตยาธิปไตย (3) เผด็จการ (4) สมบูรณาญาสิทธาชย์ (2) คณาธิปไตย (5) ประชาธิปไตย ตอบ 5 ทฤษฎีหลักการมีเหตุผลจะมีความคล้ายคลึงกับความเชื่อ ในระบบการปกครองแบบ ประชาธิปไตยนั่นคือ ผู้นำาและสมาชิกของการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยจะมีความเชื่อ มานในการที่จะแสดงพฤติกรรมและความคิดเห็นระหว่างสมาชิก ด้วยกัน สามารถยอมรับ ความคิดเห็นของบุคคลอื่นได้ เพราะมีความเชื่อว่าบุคคลทุกคนมี อิสระที่จะกระทำาหรือ ตัดสินใจในสิ่งต่าง ๆ ได้อย่างมีเหตุผล 75. อารมณ์สำาคัญอย่างไร (1) (2) (3) (4) (5) เป็นแรงผลักดันหรือจูงใจให้เกิดความกระตือรือร้น เป็นสัญญาณเตือนภัยให้รู้จักการต่อสู้ ทำาให้เรียนรู้จักตนเองและผู้อื่น ทำาให้มีมนุษยสัมพันธ์ ถูกทุกข้อ ตอบ 5 อารมณ์เป็นเครื่องชี้ถึงความรู้สึกนึกคิด ช่วยให้เราเรียน รู้จักตนเองและผู้อื่นเป็นแรงผลักดัน
  • 32. 32 หรือแรงจูงใจทำาให้เกิดความกระตือรือร้นมีชีวิตชีวา ทำาให้ มนุษยสัมพันธ์ที่ดีให้การ ช่วยเหลือผูอื่น และเป็นสัญญาณเตือนภัยให้รู้จักการต่อสู้ การเอา ้ ตัวรอด และอื่น ๆ 76. สมองส่วนใดควบคุมระบบประสาทส่วนลิมบิก (Limbic) (1) โซมาติก ไฮโปธาลามัส (4) ไคเนสติก (2) ธาลามัส (3) (5) คอปัสคอร์ลูซัม ตอบ 3 จากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปลี่ยนแปลงทาง สรีระร่างกายเมื่อเกิดอารมณ์ พบว่าศูนย์กลางของการเกิดอารมณ์อยู่ที่การทำางานของระบบประ สาทลิมบิก (Limbic System) ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่ที่สมองส่วนที่เรียกว่าไฮโปธาลามัส (Hypothalamus) ซึ่ง เกี่ยวข้องกับการทำางานของระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาท อัตโนมัติ ถ้าสมองส่วนไฮ โปธาลามัสถูกกระตุ้นจะทำาให้เกิดอาการคลั่ง ดุ อาละวาด แต่ถ้า ถูกทำาลายจะเกิดอาการ สงบเฉย 77. ศูนย์กลางที่ทำาให้เกิดอารมณ์อยู่ที่ใด (1) ระบบประสาทลิมบิก กลาง (3) ระบบประสาทมอเตอร์ อัตโนมัติ (5) ระบบประสาทปฏิกิริยาสะท้อน (2) ระบบประสาทส่วน (4) ระบบประสาทกึ่ง ตอบ 1 ดูคำาอธิบายข้อ 76. ประกอบ 78. แอดรีนาลินจะถูกหลั่งออกมาเมื่อใด (1) หัวเราะ สมาธิ (2) ร้องไห้ (5) นอนหลับ (3) ตกใจ (4) นั่ง
  • 33. 33 ตอบ 3 (ดูคำาอธิบายข้อ 15. ประกอบ) อารมณ์หวาดกลัวหรือ ตกใจกลัวจะก่อให้เกิดการหลั่ง ฮอร์โมนแอดรีนาลินจากต่อมหมวกไต ส่วนอารมณ์โกรธจะก่อให้ เกิดการหลั่งฮอร์โมนนอร์ แอดรีนาลิน ส่วนอารมณ์อื่น ๆ นักจิตวิทยายังไม่สามารถระบุ แบบแผนของการ เปลี่ยนแปลงทางสรีระได้อย่างแน่นอน 79. ใครกล่าวว่า ร่างกายจะแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบก่อน แล้วจึง เกิดอารมณ์ตามมา (1) จุง ฟรอยด์ (4) ฟิลิป บาร์ด (2) วิลเลียม เจมส์ (3) (5) พระนันทาจารย์ ตอบ 2 วิลเลียม เจมส์ (William James) นักจิตวิทยาชาว อเมริกัน อธิบายว่า ร่างกายของเรา จะต้องแสดงปฏิกิริยาโต้ตอบเป็นอันดับแรกก่อน แล้วอารมณ์จึงจะ เกิดตามมา ประสบการณ์ทางอารมณ์เป็นผลมาจากการรับรู้การเปลี่ยนแปลง ทางด้านร่างกาย ดังนั้น หลังจากที่เกิดการเร้าทางกายและพฤติกรรม จะรู้สึกถึงการเต้น ของหัวใจ หายใจหอบ หน้าแดง เหงื่อออก และนำาไปสู่ประสบการณ์ทางอารมณ์ 80. พลูทชิค เชื่อว่า อารมณ์กลัวทำาหน้าที่อะไร (1) ทำาลาย ร่วมมือ (2) ปฏิเสธ (5) เสียใจ (3) ปกป้อง (4) ความ ตอบ 3 พลูทชิค กล่าวว่า อารมณ์แรกเกิดของมนุษย์คือความกลัว ซึ่งอารมณ์กลัวจะทำาหน้าที่ ช่วยปกป้องอันตรายที่จะเข้ามากลำ้ากลาย 81. ชาร์ลส์ ดาร์วิน กล่าวว่า อารมณ์มีความสำาคัญอย่างไร
  • 34. 34 (1) การแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์ไม่แตกต่างไปจากสัตว์ (2) บุคคลมีประสบการณ์มากขึ้น การดัดแปลงอารมณ์ก็จะมีมาก ขึ้นด้วย (3) บุคคลที่มีอารมณ์ดีจะมีชีวิตยืนยาว (4) อารมณ์ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสรีระ (5) อารมณ์คือสิ่งจำาเป็นอย่างยิ่งต่อการดำารงชีวิตและเผ่าพันธุ์ ตอบ 5 ชาร์ลส ดาร์วิน (Charles Darwin) กล่าวว่า อารมณ์เป็น สิ่งที่ค่อย ๆ พัฒนาขึ้นมาและ เกิดอยู่เรื่อย ๆ ในมนุษย์ เพราะอารมณ์คือสิ่งที่จำาเป็นและมีความ สำาคัญอย่างยิ่งต่อการ ดำารงชีวิตและเผ่าพันธุ์ของมนุษย์ นอกจากนี้ในผลงานเขียนชื่อ The Expression of Emotion in Man and Animal เขาได้กล่าวไว้ว่า การ แสดงออกทางอารมณ์เป็น สิ่งจำาเป็นต่อการอยู่รอดของชีวิตมนุษย์ 82. การทำางานของระบบประสาทอัตโนมัติส่วนใด ทำาให้เกิด การเตรียมพร้อมร่างกายในภาวะฉุกเฉิน เพื่อให้สู้หรือหนี (1) ลิมปิก (2) ซิมพาเธติก (3) พารา ซิมพาเธติก (4) ธาลามัส (5) ไฮโปธาลามัส ตอบ 2 การทำางานของระบบประสาทอัตโนมัติจะเกี่ยวข้องกับการ เกิดอารมณ์โดยระบบประสาทซิม พาเธติกจะเตรียมรับร่างกายในภาวะฉุกเฉินให้สู้หรือหนี และ ทำาให้ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมี อาการตื่นตัวเพื่อเตรียมรับสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้น ส่วนระบบ ประสาทพาราซิมพาเธติกจะ ทำาให้ร่างกายอยู่ในภาวะสงบและผ่อนคลาย 83. ข้อใดไม่ใช่แนวทางของการควบคุมอารมณ์ (1) (2) (3) (4) อย่ากังวลกับสิ่งที่ทำาผิดพลาดไปแล้ว แยกอารมณ์ออกจากสถานการณ์ ทำาเป็นไม่สนใจกับอารมณ์ ยอมรับอารมณ์ที่เกิดขึ้น