SlideShare a Scribd company logo
จิตวิทยาการแนะแนวและการให้คาปรึกษา
โดย อาจารย์ ดร,เพียงเพ็ญ จิรชัย
ประวัติความเป็นมาของการแนะแนว
 แฟรงค์ พาร์สันส์ (Frank Parsons) เป็น
ผู้ริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับ บุคคลทางานที่ถนัดและ
ความสนใจย่อมส่งผลต่อประสิทธิภาพของงาน
 แฟรงค์ พาร์สันส์ ได้ก่อตั้งสานักงานการอาชีพขึ้น
ที่เมืองบอสตัน สหรัฐอเมริกา ในปี ค.ศ. 1908 และ
ได้เขียนหนังสือเรื่อง “การเลือกอาชีพ”
ความหมายของการแนะแนว
การแนะแนวเป็นกระบวนการที่ใช้ทั้งศาสตร์และ
ศิลป์ เพื่อช่วยเหลือบุคคลให้รู้จัก เข้าใจตนเอง
และสิ่งแวดล้อม สามารถตัดสินใจเลือกสิ่งต่างๆได้
ด้วยตนเองได้อย่างฉลาด มีเหตุผล รู้จักป้องกัน
ปัญหา วางแผน และพัฒนาตนเองให้เต็มตาม
ศักยภาพ สามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
ปรัชญาการแนะแนว
1. คนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า และมีศักยภาพ
2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
3. คนมีศักดิ์ศรีและต้องการการยอมรับ
4. คนมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาได้
5. พฤติกรรมของคนเราย่อมมีสาเหตุ
ความสาคัญของการแนะแนว
การแนะแนวเป็นกลไกสาคัญในการสร้างคน สร้างงานและ
สร้างชาติ คือ
1. สร้างคนให้รู้จักคุณค่าในตนเอง
2. สร้างงานให้คนรู้จักความถนัด ความสนใจ บุคลิกภาพ
ของตน รู้ข้อมูลอาชีพ
3. เชื่อมโยงความสัมพันธ์ของคุณลักษณะตนเองกับอาชีพ
เป้าหมายของการแนะแนว
1.ส่งเสริมพัฒนา
2.ป้องกัน
3.แก้ไขปัญหา
ประเภทของการแนะแนว
1. การแนะแนวการศึกษา (Education
Guidance)
2. การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance)
3. การแนะแนวส่วนตัวและสังคม (Personal
and Social Guidance)
ภารกิจของงานแนะแนว
ภารกิจของงานแนะแนวในสถานศึกษา ประกอบด้วย
1. จัดกิจกรรมแนะแนวตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
2. จัดบริการแนะแนว 5 บริการ
3. การบริหารงานแนะแนว
4. พัฒนาวิชาการแนะแนว
บริการแนะแนว
บริการแนะแนว ประกอบด้วย
1. บริการศึกษารวบรวมข้อมูล /สารวจนักเรียนเป็น
รายบุคคล
2. บริการสนเทศ
3. บริการให้คาปรึกษา
4. บริการจัดวางตัวบุคคล
5. บริการติดตามผล
 บริการแนะแนวกับการพัฒนานักเรียน
 บริการแนะแนว
 บริการแนะแนว เป็นบริการที่ช่วยให้นักเรียน
ได้รู้จัก และเข้าใจตนเอง ทั้งด้านการศึกษา อาชีพ
ส่วนตัวและสังคม สามารถตัดสินใจเลือกทางเดิน
สาหรับตนเองได้อย่างชาญฉลาด ตลอดจนเข้าใจผู้อื่น
และอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
บริการศึกษารวบรวมข้อมูล
 เป็นการศึกษารวบรวมและจดบันทึก
เรื่องราวต่างๆเกี่ยวกับผู้เรียน เช่น ประวัติส่วนตัว
ครอบครัว การศึกษา สุขภาพ ความถนัด ความ
สนใจ ความคาดหวังในอนาคต ฯลฯ เพื่อจะทา
ความรู้จักและเข้าใจผู้เรียนให้มากยิ่งขึ้น
บริการสนเทศ
 เป็นบริการที่ให้ความรู้และข้อมูลข่าวสาร
ต่างๆ ด้านการศึกษา อาชีพ ส่วนตัวและสังคม
แก่นักเรียน โดยวิธีการต่างๆ ทั้งในรูปแบบ
บริการปกติและโครงการต่างๆ ทาให้นักเรียน
มีข้อมูลที่ทันสมัยใช้ในการตัดสินใจในเรื่อง
ต่างๆ
บริการให้การปรึกษา
 การปรึกษาเชิงจิตวิทยา หมายถึง กระบวนการที่มี
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้การปรึกษากับผู้รับการปรึกษา โดย
ผู้ให้การปรึกษา ประยุกต์ใช้หลักการ/แนวคิดทางจิตวิทยามา
เอื้ออานวยให้ผู้รับการปรึกษาได้ตระหนักในประสบการณ์ของ
ตนผ่านการสนทนาระหว่างผู้ให้การปรึกษาและผู้รับการ
ปรึกษา โดยให้ผู้รับการปรึกษาได้สารวจตนเอง เพื่อรู้จัก
เข้าใจ และยอมรับตนเองในสิ่งที่เป็นปัญหาได้มากขึ้น และ
สามารถแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง
บริการจัดวางตัวบุคคล
 เป็นการจัดโอกาส หรือส่งเสริมผู้เรียนให้ได้เข้าร่วม
กิจกรรมหรืออยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมกับสภาพร่างกาย
ความต้องการ ความสามารถ ความสนใจ ความถนัด
ค่านิยม ความเชื่อ ฐานะทางเศรษฐกิจ บุคลิกภาพช่วยให้
ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองในด้านต่างๆ ให้เต็มตามศักยภาพของ
แต่ละบุคคล และให้ความช่วยเหลือในกรณีขัดสน เช่น
ทุนการศึกษา ตลอดจน จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การ
สอนซ่อมเสริม เป็นต้น
บริการติดตามผลและประเมินผล
 เป็นการติดตาม ประเมินผลงานบริการต่างๆที่
ทาไว้เพื่อค้นหาข้อสรุป ข้อบกพร่อง เพื่อนามาปรับปรุง
งานบริการต่อไป เช่น การติดตามผลนักเรียนที่จบ
การศึกษา การติดตามผลนักเรียนที่รับคาปรึกษาไปแล้ว
เป็นต้น
 เป็นที่ยอมรับกันว่า การให้คาปรึกษาเป็นหัวใจของงาน
แนะแนว
ดังจะเห็นได้จากพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กพ.ศ.2546
มาตรา 63 บัญญัติให้สถานศึกษาต้องจัดให้มีระบบงานและ
กิจกรรมในการแนะแนว การให้คาปรึกษาและการฝึกอบรม
ผู้เรียน ครูแนะแนวและครูที่ปรึกษาจาเป็นต้องมีความรู้
และทักษะที่ถูกต้องในการให้คาปรึกษา เพื่อประโยชน์ใน
การช่วยเหลือ และพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเหมาะสมตาม
ศักยภาพของแต่ละคน
ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
1. รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
- ด้านความสามารถ การเรียน อื่นๆ
- ด้านสุขภาพ กาย ใจ พฤติกรรม
- ด้านครอบครัว เศรษฐกิจ การคุ้มครองนักเรียน
2. การคัดกรองนักเรียน (ดูข้อมูล จัดกลุ่ม) ปกติ ,กลุ่มเสี่ยง
3. การส่งเสริมพัฒนาให้ได้คุณภาพ
4. การป้องกันและแก้ปัญหา ( ใกล้ชิด หาข้อมูล ให้คาปรึกษา )
5. การส่งต่อ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
การปรึกษา (Counseling)
ความหมายของการปรึกษา
 การปรึกษา หมายถึง กระบวนการที่มีปฏิสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล อาศัยการสื่อสารแบบสองทาง ระหว่าง
บุคคลหนึ่งในฐานะผู้ให้การปรึกษา ซึ่งทาหน้าที่
เอื้ออานวยให้อีกฝ่ายหนึ่งซึ่งเป็นผู้รับการปรึกษาได้
สารวจ และทาความเข้าใจถึงสิ่งที่เป็นปัญหาและ
แสวงหาหนทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ด้วยตนเอง
ทักษะที่ใช้ในการปรึกษา
 การใส่ใจและการรับฟัง
 การนา
 การซ้าความ
 การจับความรู้สึก หรือสะท้อนความรู้สึก
 การตั้งคาถาม
 การชี้แจง
 การให้กาลังใจ
 การเสนอแนะ
ขั้นตอนของกระบวนการให้การปรึกษารูปตัววี 5 ขั้น
ตามแนวคิดของ จีน แบรี่(2549)
สร้างสัมพันธภาพและตกลงบริการ ยุติการปรึกษา
สารวจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา
เข้าใจปัญหาสาเหตุและความต้องการของผู้บริการ
ผู้ให้การปรึกษา ผู้รับการปรึกษา ผู้ให้การปรึกษา ผู้รับการปรึกษา
ขั้นตอนการให้คาปรึกษา
1. ขั้นตอนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
เป็นการสร้างสัมพันธภาพระหว่างคน 2 คน
ซึ่งเหมือนคนแปลกหน้า ให้เกิดความไว้วางใจ
 การสร้างสัมพันธภาพเป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการให้การ
ปรึกษา มีจุดประสงค์สาคัญเพื่อสร้างความคุ้นเคย ความ
ไว้วางใจระหว่างผู้รับการปรึกษากับผู้ให้การปรึกษา เนื่องจากใน
ระยะเริ่มกระบวนการให้การปรึกษา ผู้รับการปรึกษายังมีความ
ไม่แน่ใจ อาจตื่นเต้นหรือลาบากใจที่จะเปิดเผยรายละเอียด
เกี่ยวกับปัญหาของตน
 ผู้ให้การปรึกษาจะต้องสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้รับการปรึกษา
โดยอาศัยเทคนิคและทักษะต่างๆ เช่น การทักทายสั้นๆ การพูด
เรื่องทั่วไป การใส่ใจหรือแสดงพฤติกรรมการใส่ใจ
2. ขั้นการสารวจปัญหา
 ขั้นสารวจปัญหา
 ผู้ให้การปรึกษาจะต้องใช้ทักษะต่างๆ เพื่อเปิดโอกาสและกระตุ้นให้
ผู้รับการปรึกษาเล่าถึงปัญหาต่างๆ เพื่อสารวจปัญหาและความ
ต้องการของผู้รับการปรึกษา ตลอดจนได้เรียนรู้ความคิด ความรู้สึก
และพฤติกรรมของตนเอง จนได้พบปัญหาและรับรู้ความต้องการหรือ
ท่าทีที่ตนเองมีต่อปัญหา ซึ่งในขั้นการสารวจปัญหานี้ จะใช้ระยะเวลา
มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับพื้นฐานสติปัญญาความสามารถ ลักษณะ
นิสัยของผู้รับการปรึกษา และความชานาญในการใช้ทักษะของผู้ให้
การปรึกษา


เทคนิคช่วยให้ผู้รับคาปรึกษามองเห็นคุณค่า
ของตนเอง สามารถสารวจตนเองจนเกิดความ
เข้าใจปัญหาและความต้องการที่แท้จริงของตนเอง
อย่างกระจ่างแจ้ง พร้อมที่จะนาไปเป็น แนวทางใน
การแก้ไขปัญหาของตนเอง คือ

ก. การเปิดประเด็น
หลังจากได้สร้างความสัมพันธ์ที่ดีกันแล้วผู้รับ
คาปรึกษาอาจจะไม่รู้ว่าควรเริ่มต้นพูดคุยถึง
จุดประสงค์ที่มา ขอรับคาปรึกษา อย่างไรดีผู้ให้
คาปรึกษาอาจเป็นฝ่ ายเริ่มพูดเชื้อเชิญก่อน เช่น
" มีอะไรที่ไม่สบายใจจะให้ดิฉันช่วยบ้างคะ "
ข. การฟัง
ผู้ให้คาปรึกษาต้องฟังคาพูดของผู้รับคาปรึกษา
ด้วยความสบายใจ ทาตัวเป็นกันเอง และพร้อมที่
จะเข้าใจอารมณ์ - ความรู้สึกของผู้รับคาปรึกษา
เพื่อให้ผู้รับคาปรึกษา ได้พูดและระบายความรู้สึก
ต่าง ๆที่มีอยู่ในใจออกมา
ค. การถาม
เป็นการแสดงถึงความเอาใจใส่ต่อผู้รับคาปรึกษา และ
ช่วยให้เข้าใจ ปัญหาได้ชัดเจน และเข้าใจผู้รับคาปรึกษา
มากขึ้นตรวจสอบความรู้สึกของตนเอง เช่น ขณะนั้น
คุณ มีความรู้สึกอย่างไร การตั้งคาถามส่วนใหญ่มักเป็น
คาถามเปิดมากกว่าคาถามปิด
คาถามเปิด
หมายถึง คาถามที่เปิดโอกาสให้ผู้รับคาปรึกษาพูด หรือ
แสดงความ คิดเห็นของตนออกมาได้เต็มที่ตามต้องการ
มักขึ้นต้นหรือลงท้ายคาว่า เพราะเหตุใดอะไร อย่างไร ฯลฯ
เช่น
"คุณกังวลเรื่องอะไรอยู่คะ"
คาถามปิด
หมายถึงคาถามที่ต้องการคาตอบสั้น ๆ ให้เลือกตอบ
ตรวจสอบให้แน่ใจต้องการให้ผู้รับคาปรึกษาเลือกตัดสินใจ
หรือบอกความต้องการ
ของตน เช่น
" คุณจะบอกภรรยาของคุณหรือไม่ว่าคุณติดเชื้อเอดส์"
" คุณยังไม่พร้อมที่จะบอกผลเลือดแก่ภรรยาของคุณใช่ไหมคะ
"
 ข้อควรระวัง
คาถามที่ไม่ควรใช้ คือ คาว่า "ทาไม" เพราะผู้ฟังจะรู้สึก
เหมือนถูกตาหนิ อาจไม่ได้รับคาตอบที่แท้จริง หรือกระทบ
ต่อการสร้าง ความสัมพันธ์ที่ดี เช่น
" ทาไมคุณยังไม่บอกผลเลือดแก่ภรรยาคุณ "
คาถามที่ควรใช้
" เพราะอะไรคุณจึงยังไม่บอกผลเลือดแก่ภรรยาของคุณ "
เป็นคาถามที่ให้ความรู้สึกที่นุ่มนวลน่าตอบมากกว่า
 ง . การเงียบ ระหว่างการพูดคุยกัน อาจมีช่วงจังหวะหนึ่งที่ผู้รับคาปรึกษาไม่พูด
อะไรเลย ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องพิจารณาว่า ผู้รับคาปรึกษาเงียบเพราะอะไร อาจ
เนื่องจากเรื่องที่จะ พูดเป็นความลับและรู้สึกลาบากใจที่จะเปิดเผย กาลังคิดอยู่ว่า
จะพูดอย่างไรดี ผู้ให้คาปรึกษาควร เงียบให้เวลาเขาด้วย แต่ไม่ควรปล่อยให้เกิด
ความ เงียบอยู่นานเกิน 2 - 3 นาที ถ้านานเกินไปอาจ ต้องกระตุ้นให้เขาได้พูด
ออกมา เช่น ถามความรู้สึกหรือความคิด
ของผู้รับคาปรึกษาในขณะนั้น
 จ. การทวนความ คือการทบทวนเรื่องราวที่ผู้รับคาปรึกษาเล่าให้ฟัง เพื่อทดสอบ
ว่า มีความเข้าใจตรงกัน และยังสามารถช่วยให้ผู้รับคาปรึกษารู้สึกว่า ผู้ให้
คาปรึกษาสนใจและเข้าใจ
ฉ. การสะท้อนความรู้สึก
 คือ การจับใจความ หรือจับความรู้สึกของผู้รับคาปรึกษา เพื่อสะท้อนให้ผู้รับ
คาปรึกษาทราบถึงความคิด และความรู้สึกได้เห็นเด่นชัด ช่วยให้ผู้รับ
คาปรึกษา เกิดความไว้วางใจ และกล้าเปิดเผยตนเองมากขึ้น เพราะเข้าใจ
ความรู้สึกของตัวเองได้ดีขึ้น และที่ สาคัญ คือเป็นการช่วยลดอารมณ์ ลด
ความรู้สึกที่มีต่อปัญหาให้คลี่คลายลง เกิดสติปัญญาในการ มองปัญหาของ
ตนเองด้วยความเป็นจริงมากขึ้น
 ตัวอย่าง การสะท้อนความรู้สึกที่ช่วยให้เขารับรู้และเข้าใจความรู้สึกที่แท้จริง
ของเขา
< "คุณรู้สึกว่าเพื่อนบ้านแสดงความรังเกียจที่ทราบว่าคุณติดเชื้อเอดส์หรือคะ"
คำที่ใช้แสดงควำมรู ้สึก
ควำมสุข ควำมทุกข์ ควำมกลัว ควำมไม
แน่นอน
ควำมโกรธ
สุขใจ ท้อใจ ตื่นกลัว ประหลาดใจ เสียใจ
พอใจ เจ็บใจ กังวล สนเท่ห์ คับแค้นใจ
สมหวัง ผิดหวัง ตกใจ สับสน ราคาญใจ
ดีใจ ขมขื่น น้อยใจ ไม่แน่ใจ ยุ่งยากใจ
ร่าเริงใจ เศร้าซึม ปกป้อง ลังเลใจ เบื่อหน่าย
สนุก ทุกข์ใจ กลัว วุ่นวายใจ โกรธ
สบาย ลาบากใจ เครียด หมกมุ่น ทรมาน
ยินดี สิ้นหวัง ประสาท สังหรณ์ใจ ฉุนเฉียว
สดชื่น เปลี่ยวใจ ไม่สะดวกใจ กวนใจ บ้า
ตื่นเต้น หดหู่ใจ ลาบากใจ แปลกใจ รุนแรง
ชอบใจ เหงา ไม่ปลอดภัย อึดอัดใจ เจ็บใจ
ช. การแกะรอย
คือ การใช้เทคนิคของการฟัง การถาม การทวนความ
การสะท้อนความรู้สึก และ การเงียบ มาใช้เพื่อติดตาม
ความคิด ความรู้สึกของเขา ให้เขาได้มองเห็นความคิด
ความรู้สึก และปัญหาที่เขามีอยู่ ได้ด้วยตนเอง เพื่อให้
เกิดความเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการที่
แท้จริงของเขาอย่างกระจ่างชัด
 ซ. การสรุป คือ การรวบรวมสิ่งที่พูดกันมาทั้งหมดออกมาให้
ได้ใจความสาคัญ อาจจะสรุปเนื้ อหาหรือความรู้สึกในกรณีที่มี
เรื่องพูดคุยกันยาว ๆ หรือเพื่อให้มีความต่อเนื่องจาก ครั้งที่
แล้ว และเพื่อช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาเข้าใจปัญหาของตน ได้
เด่นชัดยิ่งขึ้นการใช้เทคนิค ต่าง ๆ ดังกล่าวในขั้นตอน การ
สารวจและทาความเข้าใจปัญหา จะช่วยให้ ผู้รับคาปรึกษาเริ่ม
เข้า ใจปัญหาของตนเอง เกิดความกระจ่าง แจ้งต่อปัญหา
สาเหตุและความต้องการของตนเอง พร้อมที่จะคิดแก้ไข
ปัญหาต่อไป
3. ขั้นตอนเข้าใจปัญหา สาเหตุ และความต้องการ
 ขั้นตอนนี้ สาคัญที่สุดถือเป็นหัวใจของกระบวนการให้การ
ปรึกษา ซึ่งผู้ให้การปรึกษาต้องใช้ทักษะเพื่อให้ผู้รับการปรึกษา
เกิดความกระจ่างชัดในสาเหตุของปัญหา ได้สารวจความคิด
และความรู้สึกที่ตนเองมีต่อประสบการณ์ บุคคล หรือปัญหาที่
เกิดขึ้น สามารถแยกแยะปัญหานาและปัญหาที่แท้จริงได้ สรุป
ประเด็นปัญหาที่ผู้รับการปรึกษาต้องการแก้ไข ตลอดจนนา
ปัญหาที่ค้นพบมาจัดลาดับความสาคัญ ความเร่งด่วนรวมทั้ง
ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการแก้ไขและไม่แก้ไขปัญหา
 จากขั้นตอนการสารวจ และขั้นทาความเข้าใจปัญหา อาจพบปัญหา
หลาย ๆ อย่าง ที่มีความรุนแรงแตกต่างกัน ผู้ให้คาปรึกษาจะเป็น
ผู้ช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาได้เห็นความสาคัญของปัญหาแต่ละอย่าง
ส่วนใหญ่มีสาเหตุจากปัญหา 3 ด้าน ดังนี้
 ก. ปัญหาด้านความไม่รู้ - ไม่เข้าใจ
จะต้องให้ความรู้หรือให้ข้อมูลอย่างถูก ต้องชัดเจน เข้าใจง่าย โดยให้เป็น
ช่วง ๆ ในเวลาที่เหมาะสม และมีการตรวจสอบความเข้าใจตรงกัน ด้วย
เทคนิคการถาม การทวนความ และการสรุปความ แล้วให้ผู้รับคาปรึกษา
เป็นผู้พิจารณาว่า เหมาะสมหรือพอใจหรือไม่
ข. ปัญหาด้านอารมณ์ - ความรู้สึก
อาจใช้เทคนิคของการให้กาลังใจ การสนับสนุนช่วยให้ผู้รับ
คาปรึกษารู้สึกว่ามิได้เผชิญปัญหาโดยลาพัง เกิดความคิดริเริ่มที่จะสู้
ชีวิตต่อไป และ เกิดมั่นใจในตนเองมากขึ้น
ค. ปัญหาความไม่รู้ในแนวทางปฏิบัติ
ผู้ให้คาปรึกษาต้องสรุปปัญหาของผู้ รับคาปรึกษา อาจทาได้โดยให้
การเสนอแนะเพื่อให้ผู้รับคาปรึกษาได้พูดและช่วยให้เขาได้คิด
พิจารณาสิ่งที่เป็นปัญหา เรียงลาดับความสาคัญของปัญหา
ทางเลือกในการแก้ไขปัญหาหลาย ๆ ทาง เห็นข้อดี - ข้อเสีย ของ
ทางเลือกต่าง ๆ และตัดสินใจเลือกทางแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง
4. ขั้นวางแผนแก้ไขปัญหา
 เป็นขั้นตอนที่ผู้ให้การปรึกษาช่วยให้ผู้รับการปรึกษาได้ใช้
ศักยภาพของตนเท่าที่มีอยู่ค้นหาวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้วิธีการที่
หลากหลาย วางแผนแก้ไขปัญหาอย่างเป็นขั้นตอน และตัดสินใจ
เลือกทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการ
ศักยภาพและสภาพแวดล้อมของผู้รับการปรึกษามากที่สุด โดย
ผู้ให้การปรึกษาไม่ควรเร่งรีบและด่วนตัดสินใจจัดการปัญหาของ
ผู้รับการปรึกษา แต่จะคอยให้กาลังใจแก่ผู้รับการปรึกษาได้มีส่วน
ร่วมในการค้นหาวิธีการพิจารณาความเหมาะสมและเลือก
ทางแก้ไขปัญหาที่เหมาะสมกับตนเองที่สุด
5. ขั้นตอนการยุติการให้คาปรึกษา
 ขั้นตอนการยุติการให้คาปรึกษา แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
ก. การยุติการให้คาปรึกษาแต่ละครั้ง เป็นการยุติการพูดคุยกัน
ผู้ให้คาปรึกษาอาจใช้วิธี สรุปประเด็นสาคัญ ๆ ของการพูดคุย และ
แนวทางที่จะนากลับไปปฏิบัติ แล้วนัดพบกันใหม่ หรืออาจให้ ผู้รับ
คาปรึกษาเป็นผู้สรุปเอง เพื่อทบทวนความเข้าใจในสิ่งที่กาลังพูดคุย
กันอยู่ในขณะนั้น และสามารถที่จะนาไปปฏิบัติ โดยผู้ให้คาปรึกษา
เป็นผู้ให้กาลังใจ หรือสนับสนุนให้เกิดการปฏิบัติตามที่พูดคุยกัน แล้ว
นัดพบกันใหม่
ข. การยุติการให้คาปรึกษาแต่ละราย
เป็นการสิ้นสุดการให้ความช่วยเหลือเมื่อ
ผู้รับคาปรึกษาแต่ละ รายสามารถเผชิญ
และแก้ไขปัญหาได้ ปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมและดารงชีวิตต่อไป ได้อย่าง
ปกติสุข
ข้อควรระวัง
อาจมีผู้รับคาปรึกษาบางรายที่มีปัญหา
รุนแรง มากเกินกว่าที่ผู้ให้คาปรึกษาจะ
ช่วยเหลือได้ เช่น ผู้รับคาปรึกษามีอาการทาง
จิตรุนแรง หรือมีปัญหาทางกฎหมาย เป็นต้น
จาเป็นต้องยุติการให้คาปรึกษา และส่งต่อผู้มี
หน้าที่โดยตรงต่อไป

More Related Content

Similar to 12

ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
pyopyo
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
Aoun หมูอ้วน
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวkoy2514
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพnunaka
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
เชียร์ นะมาตย์
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
0819741995
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
moohhack
 

Similar to 12 (20)

51105
5110551105
51105
 
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูดถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
ถอดเทปโครงการศิลปะการพูด
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
การจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนวการจัดบริการแนะแนว
การจัดบริการแนะแนว
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑บทที่ ๒ (จริง)๑
บทที่ ๒ (จริง)๑
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพสรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
สรุปทักษะการสื่อสารและการประสานงานอย่างมืออาชีพ
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
อ เกษตร
อ เกษตรอ เกษตร
อ เกษตร
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 

More from SuriwiphaSriwanna (9)

Ied211
Ied211Ied211
Ied211
 
6
66
6
 
11
1111
11
 
9
99
9
 
8
88
8
 
7
77
7
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

12