SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
การทาให้วัตถุตัวนาเกิดประจุไฟฟ้า




                          ครูสมพร เหล่าทองสาร
             โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26
1. การขัดถู คือ การนาวัตถุต่างชนิดที่เหมาะสมมาถูกับ
อิเล็กตรอนในวัตถุทั้งสองมีพลังงานสูงขึน ทาให้เล็กตรอน จากวัตถุ
                                       ้
หนึ่งหลุดออกไปอยู่บนอีกวัตถุหนึ่ง วัตถุที่ได้รับอิเล็กตรอนเพิ่มเข้า
ไปจะมีประจุลบ ส่วนวัตถุทมีเสียอิเล็กตรอนไปจะมีประจุบวก เช่น
                          ี่
การถูแก้วด้วยผ้าไหม พบว่า แท่งแก้วจะเสียอิเล็กตรอนให้กับผ้า
ไหม ทาให้แท่งแก้วมีประจุบวก ส่วนผ้าไหมจะมีประจุลบ
การถูแท่งอาพันด้วยผ้าขนสัตว์ พบว่า ผ้าขนสัตว์แก้วจะเสีย
อิเล็กตรอนให้กับแท่งอาพัน ทาให้ผ้าขนสัตว์มีประจุบวก ส่วน
แท่งแก้วจะมีประจุลบ
2. การสัมผัส (แตะ) คือ การนาวัตถุที่มีประจุอิสระอยู่แล้วมา
สัมผัสกับวัตถุที่เดิมเป็นกลาง จะทาให้วัตถุที่เป็นกลางนี้มีประจุ
ไฟฟ้าอิสระ ดังขันตอนในรูป
                  ้


                            ---- + -+ -+
      ก. ก่อนแตะ             A       B -
                            --- - -+   +

                                    พื้นฉนวน
2. การสัมผัส (แตะ)


                     ---- + - -+
                              +

 ข. ขณะแตะ            A       B -
                     --- - -+   +

                        พื้นฉนวน
2. การสัมผัส (แตะ)


                     - - -
 ค. หลังแตะ          - B -
                     -   -
                      พื้นฉนวน
เงื่อนไขของการทาให้เกิดประจุไฟฟ้าโดยการสัมผัส

1. ประจุไฟฟ้าอิสระที่ตัวนาได้รับ จะเป็นประจุไฟฟ้าชนิดเดียวกัน
    กับชนิดของประจุไฟฟ้าบนตัวนาที่นามาสัมผัสเสมอ
2. การถ่ายเทประจุเป็นการถ่ายเทอิเล็กตรอนเท่านั้น และการถ่ายเท
   จะสิ้นสุดเมื่อศักย์ไฟฟ้า(ระดับไฟฟ้า)บนวัตถุที่แตะกันมีค่าเท่ากัน
เงื่อนไขของการทาให้เกิดประจุไฟฟ้าโดยการสัมผัส

3. ประจุไฟฟ้าอิสระบนตัวนาทั้งสองที่นามาแตะกัน ภายหลัง
   การแตะจะมีจานวนเท่ากันหรืออาจไม่เท่ากันก็ได้ ทั้งนี้จะ
   ขึ้นอยู่กับความจุไฟฟ้าของตัวนาทังสอง
                                   ้
4. ประจุไฟฟ้ารวมทั้งหมดบนตัวนาทั้งสองภายหลังการแตะ
   จะมีจานวนเท่ากับประจุไฟฟ้าทั้งหมดก่อนแตะกัน
3. การเหนี่ยวนาไฟฟ้า (Electric induction)
      การนาวัตถุที่มีประจุไฟฟ้าเข้าไปใกล้วัตถุที่เป็นตัวนาไฟฟ้าจะทาให้เกิด
ประจุชนิดตรงกันข้ามบนตัวนาด้านที่อยู่ใกล้วัตถุ ดังรูป เป็นการทาให้เกิด
ประจุในลักษณะเช่นนี้เรียกว่า การเหนี่ยวนาไฟฟ้า




                                        -- ++      -- - -
                                           B+      - A
      B                                   -        -- - -
การสร้างประจุโดยวิธีเหนี่ยวนามีขั้นตอนดังนี้

1. นาวัตถุ A ที่มีประจุไฟฟ้าอิสระ เช่น ประจุลบมาวางใกล้ๆ วัตถุตัวนา B
   ที่เป็นกลาง จะเหนี่ยวนาประจุบนวัตถุ B ดังรูป


             B                                             --
                                                          +B -
                                                          ++


                                               พื้นฉนวน
การสร้างประจุโดยวิธีเหนี่ยวนามีขั้นตอนดังนี้

2. ใช้นิ้ว (หรือนาสายไฟที่ปลายหนึ่งต่อกับพื้นดินเรียกว่า การต่อสายดิน) แตะที่
   วัตถุ B ดังรูป
                                                             ต่อสายดิน
                                         --            -
                                        +B -
                                        ++                 -
                                                      -
                             พื้นฉนวน
การสร้างประจุโดยวิธีเหนี่ยวนามีขั้นตอนดังนี้

3. จะทาให้ประจุลบส่วนที่อยู่ตรงข้ามกับวัตถุที่นามาเหนี่ยวนา ไหลลงไปตาม
   สายดิน ทาให้เหลือเฉพาะประจุบวกซี่งดึงดูดอยู่กับวัตถุ A ดังรูป


                                        +B
                                        ++        นาสายดินออก

                             พื้นฉนวน
การสร้างประจุโดยวิธีเหนี่ยวนามีขั้นตอนดังนี้

4. ดึงนิ้วหรือนาสายดินออก แล้วนาวัตถุ A ออกห่าง วัตถุ B จะมีประจุไฟฟ้า
   บวก ซึ่งเป็นชนิดตรงกันข้ามกับประจุบนวัตถุ A ดังรูป

               นาสายดินออก                      นาวัตถุ A ออกห่าง
                 +B
                 ++                                  +   B+
                                                         +

      พื้นฉนวน                                    พื้นฉนวน
สรุป การสร้างประจุโดยวิธีเหนี่ยวนา

1. การเหนี่ยวนาไฟฟ้าทาให้วัตถุตัวนาที่เป็นกลางทางไฟฟ้า มีประจุไฟฟ้าอิสระ
   ชนิดตรงกันข้ามกับประจุไฟฟ้าบนวัตถุที่ใช้เหนี่ยวนา
2. วัตถุที่ใช้เหนี่ยวนาไม่สูญเสียประจุไฟฟ้าเลย
รูปการสร้างประจุโดยวิธีเหนี่ยวนา

More Related Content

What's hot

หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุงkrupornpana55
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0on2539
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะTa Lattapol
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศพัน พัน
 

What's hot (20)

หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
F457c545a9ded88f18ecee47145a72c0
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
 

Viewers also liked

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (6)

ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 

การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า