SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
1
สารแม่เหล็ก
แม่เหล็กคือคุณสมบัติพื้นฐานของสสาร อย่างหนึ่ง โดยในสสารจะมีค่าที่บ่งบอกอานาจทางแม่เหล็กของวัสดุคือ
โมเมนต์แม่เหล็ก โดยแม่เหล็กจะแม่เหล็กออกได้ดังนี้
คุณสมบัติทางแม่เหล็ก
1. แท่งแม่เหล็กมีขั้วสองขั้วเสมอ คือขั้นเหนือ กับขั้วใต้
2. เส้นแรงแม่เหล็ก จะไม่ตัดกัน ดังนั้น ขั้วเหมือนกัน จะผลักกัน และ
ต่างกัน จะดูดกัน
เส้นแรงแม่เหล็ก
คือปริมาณทางเวกเตอร์ที่บ่งบอกชนิดของขั้วทางแม่เหล็ก และ
ความเข้มของแรงทางแม่เหล็ก
การเหนี่ยวนาแม่เหล็ก
ในเนื้อสสาร นั้นจะมีสิ่งที่เรียกว่า โดเมน แม่เหล็ก โดยแต่ละโดเมน จะมีสมบัติทางแม่เหล็ก โดยแม่เหล็กถาวร จะ
มีโดเมนแม่เหล็กเรียงกันชัดเจน ไม่เปลียนตามสนามแม่เหล็กภายนอก
แต่ว่าแม่เหล็กไฟฟ้า หรือโลหะนั้นจะมีโดเมนเมื่อไม่มีสนามแม่เหล็กไม่เป็นระเบียบ แต่เมื่อได้รับสนามแม่เหล็ก
ภายนอก โดเมนนี้จะเรียงเป็นระเบียบ
N S
S
(
a
(
b
(
c
N
N
N
SN
S
2
ความเข้มของสนามแม่เหล็ก
สนามแม่เหล็กเป็น ปริมาณเวกเตอร์ และความเข้มของสนามแม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่ ผิวปิดที่พิจรณา
หรือ ∅ = ∫ 𝐵 ∙ 𝐴 หรือ 𝐵 =
∅
𝐴
3
ตัวอย่างง่ายๆ
ขดลวดของมอเตอร์ไฟฟ้ามีพื้นที่หน้า ตัด 0.4 ตารางเมตร วางอยูในสนามแม่ เหล็ก 2 เทสลา โดยมีแนวระนาบ
ของขดลวดทามุม 30 องศา กับสนามแม่เหล็กดังรูป จงคานวณวาฟลัก ซ์แม่ เหล็กที่ผานขดลวดเท่ากบเท่าใด
4
สนามแม่เหล็กที่เกิดจากการเหนี่ยวนาทางแม่เหล็ก
เมื่อ เออร์สเตท ได้ค้นพบว่า เมื่อมีกระแสไหลผ่านตัวนาจะเกิดสนามแม่เหล็กรอบๆ ตัวนานั้นต่อมา
Biot-savat และ Ampère ได้สร้างความสัมพันธ์ระหว่างกระแส กับสนามแม่เหล็กดังนี้
กฎของ Biot Savat ใช้ยากนะ
𝒅𝑩⃑⃑ =
𝝁𝑰
𝟒𝝅
𝒅𝒍 × 𝒓̂
𝒓 𝟐
2
กฎของ Ampère ง่ายกว่า
∮ 𝑩⃑⃑ ∙ 𝒅𝒍 = 𝝁𝑰
3
แต่ว่าระดับนี้ จะแบ่งเป็น case เพื่อความง่าย
1. สนามแม่เหล็กสาหรับลวดตรงยาว
Ampere Biot savat
𝑩 =
𝝁𝑰
𝟐𝝅𝒓
ข้อควรทราบ 𝝁 𝟎
𝟒𝝅⁄ = 𝟏𝟎−𝟕
Wb/Am2
5
เส้นวงกลม
แต่ถ้า สนใจแค่ ตรงกลาง ก็จะทาให้ Z=0 จะได้
𝐵 = 10−7 ×
2𝜋𝐼
𝑅
4
หรือถ้า N รอบ
𝐵 = 10−7 ×
2𝑁𝜋𝐼
𝑅
5
โดย
I คือกระแสไฟฟ้า
R คือรัศมี
N คือจานวนรอบ
6
1
2
3
7
4
5
6
8
7
9
10
แรงแม่เหล็กไฟฟ้า
แรงแม่เหล็ก
โดยปกติสนามแม่เหล็กจะตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของประจุ เสมอ ดังนั้นเราสามารถแยกได้ดังนี้
แรงแม่เหล็กที่กระทากับประจุที่เคลื่อนที่
เมื่อประจุ q เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว v เข้าไปตัดในสนามแม่เหล็ก B จะเกิดแรงเกิดขึ้น โดย
𝐹 = 𝑞𝑣 × 𝐵⃑ 6
ซึ่งผลจากประจุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วในสนามแม่เหล็ก จะมีทิศตามกฎมือขวา
โดย
มีเทคนิคง่ายๆ คือ
11
1
2
3
12
4
5
6
13
7
8
9
14
10
11
12
15
13
14
15
16
16
17
17
การเคลื่อนที่แบบ Helix
เกิดจากการที่ ประจุวิ่งทามุม กับสนามแม่เหล็ก
โดย 𝒓 =
𝒎𝒗𝒔𝒊𝒏∅
𝒒𝑩
Lorentz force
เป็นปรากฏการณ์จากการรวมแรงจากสนามไฟฟ้า และสนามแม่เหล็กกับประจุเข้าด้วยกัน
𝑭⃑⃑ = 𝒒𝑬⃑⃑ + 𝒒𝒗⃑⃑ × 𝑩⃑⃑ 7
ลองคิดสิว่า การจัดวางสนามลักษณะนี้ จะทาให้ประจุวิ่งอย่างไร
18
แรงแม่เหล็กในเส้นลวด
เมื่อเราทาการเคลื่อนตัวนาในสนามไฟฟ้า electron จะถูกกระทาด้วยแรงแม่เหล็ก เกิดการเคลื่อนตัว
ของประจุจากแรงเหนี่ยวนา
จาก 𝐹 = 𝑞𝑣 × 𝐵⃑ แต่ว่า electron เคลื่อนที่ด้วยความ เร็ว v =
𝑙
𝑡
จะได้ว่า
𝐹 = 𝑞
𝑙
𝑡
× 𝐵⃑ = 𝐼𝑙 × 𝐵⃑
8
จากรูป จงเติมทิศทางของแรงที่กระทากับเส้นลวด
x x x x x
x x x x x
x x x x x
x x x x x
x x x x x
x x x x x
x x x x x
. . . . .
. . . .
. . . .
. . . .
. . . .
19
1
2
3
4
20
5
6
7
21
8
9
10
22
11
23
แรงกระทาระหว่างขดลดสองเส้น
𝐹 = 2𝑥10−7
𝐼1𝐼2𝑙
𝑑
24
25
การประยุกต์ใช้
โมเมนต์คู่ควบ
ถ้าทาการพันขดลวดตัวนาที่มีด้านยาว L โดยสามารถหมุนได้อย่างอิสระ ในสนามแม่เหล็ก B โดยด้าน
L ตั้งฉากกับสนามแม่เหล็กทามุม  กับสนามแม่เหล็กโดยมีกระแส I ไหลผ่าน ดังรูป
จากรูปจะได้ว่า
โดยทิศทางของโมเมนต์ ของโมเมนต์ของแรงคือ m=IA𝑒̂ หรือ
การหาโมเมนต์ที่เกิดกับขดลวดเวลาใดเวลาหนึ่ง
ถ้าประจุที่เคลื่อนที่เป็นวงกลมล่ะ
[ ]r Il B   
sinIAB 
m B  
26
27
ไฟฟ้าเหนี่ยวนา (Induce Current)
กฎของ Faraday และ henry เกี่ยวกับการเหนี่ยวนา
เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงFlux แม่เหล็กจะทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า
ขณะที่ตัวนา ab เคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก B ด้วยความเร็ว v มาถึง cd ได้ระยะทาง dS ดังรูป
𝐸 = −
𝑑∅
𝑑𝑡
8
แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนียวนา คืออัตราการเปลี่ยนแปลง ฟลักซ์ ในวงจรปิด หรือเรียกว่ากฎ faraday Henry of
Electromagnetic Induction เครื่องหมาย – คือทิศทางของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนา โดยทิศทางของ
แรงเคลื่อนไฟฟ้า เป็นไปตามกฎมือขวา แต่เนื่องจาก ติดลบ จึงใช้มือซ้ายได้
และแรงเคลื่อนไฟฟ้าบนตัวนาที่เคลื่อนที่
หลักการการเหนี่ยวนากระแสไฟฟ้าของ Faraday กล่าวไว้ว่า
𝐸 = 𝐵(𝑙𝑣) เป็นสเกลาร์ โดบ B และ v ตั้งฉากกัน 9
28
กฎของ Lenz
คือกฎที่ใช้สาหรับหาทิศทางของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา โดยLenz กล่าวว่า กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาจะ
เกิดในทิศทางต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของ flux แม่เหล็ก
𝐸 = −𝑁
𝑑∅
𝑑𝑡
10
การหาทิศทาง
1. ดูทิศทางที่ สนามไฟฟ้าเปลี่ยนแปลง โดย N เพิ่ม S ลด
2. เขียนทิศทางตรงข้าม***
3. กาหาทิศของกระแสไฟฟ้า
หรือบางที่ ใช้มือซ้ายหา ก็รับได้นะ
จากรูป จงหาทิศของกระแสไฟฟ้าจากแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนา
1
29
2
3
30
4
5
31
7
8
32
9
10
11
33
ไดนาโม
ไดนาโมไฟฟ้ากระแสสลับ
ประกอบด้วยแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง ขดลวด และแหวนลื่นโดยแหวนลื่น 2 วงสัมผัสกับแปรงตัวนาไฟฟ้าซึ่งจะรับ
กระแสไฟฟ้าจากขดลวดออกสู่วงจรภายนอก
ไดนาโมไฟฟ้ากระแสตรง
ประกอบด้วยแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง ขดลวด และแหวนแยกโดยแหวนแยกแต่ละอันสัมผัสกับแปรงตัวนาไฟฟ้าซึ่ง
จะรับกระแสไฟฟ้าจากขดลวดออกสู่วงจรภายนอก
กระแสไฟฟ้าดันกลับ (Reverse induce current)
เมื่อจ่ายไฟให้กับMotor ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงflux ตัดผ่านตัวนา ดังนั้นจะกระแสไฟฟ้าที่ต้าน
การเปลี่ยนแปลงนี้ (จะเจอได้ในกรณี ที่ทาแม่เหล็กอย่างง่าย) ดังนี้
34
ดังนั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้าใน motor จะมีค่าเท่ากับ 𝐸 − 𝜀 = 𝐼(∑ 𝑅 + 𝑟)
หมายเหตุ ค่าแรงเคลื่อนย้อนกลับ จะเป็นฟังชั่นของ sin ไม่ได้เป็นค่าคงที่
ดังนั้น ถ้าต่อmotor ในวงจรไฟฟ้าจริงๆ จะเปรียบเหมือนการต่อ อุปกรณ์ดังนี้
Problem
1. ถ่านไฟฉายขนาด 1.5V 1โอห์ม ต่อกับmotor อย่างง่ายที่ทาขึ้นเอง ขณะที่หมุนวัดกระแสไฟฟ้าไหล
ผ่านได้ 0.2A จงหาแรงเคลื่อนไฟฟ้าจากMotor
1
35
2
3
36
หม้อแปลง
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สาหรับเปลี่ยนค่าความต่างศักย์ให้สูงขึ้น โดยใช้หลักของการเหนี่ยวนาไฟฟ้าแม่เหล็ก
จาก 𝐸 = −𝑁
𝑑∅
𝑑𝑡
เมื่อให้กระแสไฟฟ้ากับเหล็กททาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ฟลัก โดยอัตราการ
เปลี่ยนแปลงเท่ากัน ทั้งสองฝั่ง โดย
จะได้
𝐸1
𝐸2
=
𝑁1
𝑁2
สิ่งที่ไม่เปลียนแปลงคือ .....
ปัจจัยที่ทาให้เสียพลังงานคือ.................
และกาลัง(P: Power) ของการแปลง(100%) 𝐼1 𝑉1 = 𝐼2 𝑉2
ประสิทธิภาพ (Eff%) =
𝑃2
𝑃1
× 100%
37
1. หม้อแปลงไฟฟ้าซึ่งใช้ไฟฟ้า 100 โวลต์ มีขดลวดปฐมภูมิ 20 รอบ ถ้าต้องการ ให้หม้อแปลงนี้
สามารถจ่ายไฟฟ้าได ้ 5000 โวลต์ ขดลวดทุติยภูมิต้องมีจานวนรอบเท่าไร
2. หม้อแปลงไฟลงจาก 2400 โวลต์ เป็น 12 โวลต์ เกิดกาลังในขดลวดทุติยภูมิ 2 กิโลวัตต์ หม้อ
แปลงมปีระสิทธิภาพร้อยละ 80 กระแสไฟฟ้าที่ผ่านขดลวดปฐมภูมิมีค่าเท่าใด
3
38
4
5
39
6
7
40
ไฟฟ้ากระแสสลับ
จากแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่เกิดจาก Dynamo กระแสสลับ นั้นเป็นฟังชั้นกับเวลาดังนี้E=NBωAsin โดย
แปลงเป็นฟังชั่นกับเวลา จะไดว่า
หรือ V=Vmax𝑠𝑖𝑛(𝜔𝑡) ดังกราฟ
โดย V=iR จะได้ว่า
i= Imax𝑠𝑖𝑛(𝜔𝑡) โดย 𝜔 = 2πf
ค่ายังผล และค่า Max
ค่ายังผลคือค่าที่วัดได้จาก meter ค่า Max คือค่าสูงสุด โดย
𝐼 𝑚 = 𝐼𝑟𝑚𝑠√2
𝑉𝑚 = 𝑉𝑟𝑚𝑠√2
41
Quiz
1. จงหาค่า RMS ของ ค่าต่อไปนี้
a. Imax =1A
b. Imax=2
c. Vmax=220V
d. Vmax=120V
2. จงหาค่า Vmax เมื่อวัดค่าได้ 220V
3. จงหา Imax เมื่อวัดค่าได้ 2.1 A
4. ถ้าบ้านใช้ไฟบ้านแสดงว่า 240 V แสดงว่ามีศักย์สูงสุดเท่าใด
5. ถ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ความสัมพันธ์ระหว่างแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็นดังนี้ E(t)=10sin(20𝜋t) จงหา
ความถี่และศักย์สูงสุด
42
Quik Quiz
ถ้าVoltage มีPhase
ดังรูป กระแสจะมีค่าเท่าไร
วงจรความต้านทาน
โดย กระแสที่เกิดขึ้นนั้นจะมี Phase ตามศักย์ไฟฟ้า
ค่าความต้านทาน :
จาก
กาลังของวงจรความต้านทาน
เนืองจาก P=IV ดังนั้นและ I V มีPhaseที่ตรงกัน ทาให้ ได้ว่า
Pavg=
𝐼 𝑚 𝐼 𝑚
2
Pmax =IMVM
43
1. หลอดไฟฟ้าขนาด 20W 200V ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ 200V จงหาความต้านทานของ
หลอดไฟ กระแสสูงสุดที่ผ่านหลอดไฟ และกาลังสูงสุด
ความต้านทาน ของตัวเหนี่ยวนา XL = 𝜔𝐿
1. เมื่อผ่านความต่างศักย์ 220sin200t จงหา Impedance และจงหากระแส I ที่วัดได้ และค่าสูงสุด
a. L=20H
b. L=12mH
c. L=100mH
2. ตัวเหนี่ยวนา L = 100 มิลลิเฮนรี มีกระแสสลับเป็น i เมื่อ i = 5sin 60 t แอมแปร์ จง
หาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนานี้เมื่อเวลา t ใดๆ
44
3
4
45
วงจรกระแสสลับตัวเก็บประจุ
ค่าความต้านทาน Xc=1/ωC
และ 𝑖 = 𝐼 𝑀sin(𝜔𝑡 +
𝜋
2
) 𝑣 = 𝑉 𝑀sin(𝜔𝑡)
คือกระแสจะมี Phase ที่นาความต่างศักย์อยู่
𝜋
2
เมื่อผ่านความต่างศักย์ 220sin200t จงหา Impedance และจงหากระแส I ที่วัดได้ และค่าสูงสุด
a. C=20uF
b. C=0.2mF
c. C=200uF
46
2. ตัวเก็บประจุความจุ 100 ไมโครฟารัด ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้าสลับที่มีค่ายังผลของ
แรงเคลื่อนไฟฟ้า 100 โวลต์ จงหาความถี่ของแหล่งกาเนิดเพื่อให้เกิดกระแสไหลผ่านตัวเก็บประจุ
1 แอมแปร์
3
4
47
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
แผนภาพ Phasor
จากความสัมพันธ์ระหว่างกระแส(i) และความต่างศักย์(v) ของความต้านทาน (R) ตัวเหนี่ยวนาและ
ตัวเก็บประจุดังกล่าวจะได้ว่า
การต่อวงจร RCL
การต่ออนุกรม
1. R L และ C ตามกระแส I ตัวเดียวกัน และทิศของ impedance
ตาม V ของแต่ละตัว
2.ความต่างศักย์รวม V มีค่าเท่ากับเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ VR VL
และ VC โดยมีPhase ดังนี้
ของ R : V เหมือน I
ของ C : V ตาม I
ของ L : V นา I
48
จะได้ว่า
1
49
2
3
50
V คงที่ Impedance ตาม I
ดังนี้
51
1. วงจร RCL ต่อขนาน R=30ohm XC=70ohm XL=30ohm ต่อขนานกัน และต่อกับความต่างศักย์
ซึ่งเปลี่ยนแปลงตามเวลาดังสมการ v=100sin1000t จงหา
a. ความต้านทานเชิงซ้อน
b. กระแสไฟฟ้าของวงจร
c. กระแสไฟฟ้า R C L
d. กาลังเฉลี่ย
52
53

More Related Content

What's hot

เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
thanakit553
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
krupornpana55
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
Theerawat Duangsin
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
Wichai Likitponrak
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
tewin2553
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
krupornpana55
 

What's hot (20)

ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุงหน่วยย่อยที่ 3  แรงพยุง
หน่วยย่อยที่ 3 แรงพยุง
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 1m-5
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1แรงลอยตัว1
แรงลอยตัว1
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docxSlแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
Slแบบทดสอบรายตัวชี้วัด หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่. 12 เม.ย.56docx
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 

Similar to แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
khunJang Jop Jop
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
numpueng
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
thanakit553
 

Similar to แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด (20)

ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
แบบฝึกหัดท้ายบท6
แบบฝึกหัดท้ายบท6แบบฝึกหัดท้ายบท6
แบบฝึกหัดท้ายบท6
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
P16
P16P16
P16
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 

แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด