SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
1121205 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
อาจารย์ ดร.นันท์นภัส นิยมทรัพย์
jjooyy66@hotmail.com
ประเภท /แบบของหลักสูตร
ประเภทหรือรูปแบบของหลักสูตรเป็นการจัดระเบียบและการ
นาเสนอเนื้อหาสาระให้ปรากฏในหลักสูตร ซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตร
สามารถนาเสนอเนื้อหาได้หลายลักษณะ การนาเสนอเนื้อหา
ของหลักสูตรเป็นการสะท้อนถึงสิ่งที่ผู้พัฒนาหลักสูตรให้
ความสาคัญ
เช่น ถ้าผู้สร้างหลักสูตรให้ความสาคัญกับเนื้อหา ก็จะใช้เนื้อหา
มาเป็นหลักในการจัดระเบียบและนาเสนอเนื้อหาสาระ
ประเภท /แบบของหลักสูตร
2. หลักสูตร
เน้นผู้เรียน
3. หลักสูตร
เน้นสังคม
1. หลักสูตร
เน้นเนื้อหาวิชา
1.1 หลักสูตรรายวิชา
1.2หลักสูตรสาขาวิชา
1.3หลักสูตรหมวดวิชา
1.4 หลักสูตรสหสัมพันธ์
1.5 หลักสูตรบูรณาการ
1.6 หลักสูตรแกนวิชา
2.1 หลักสูตรแบบเด็กเป็น
ศูนย์กลาง
2.2 หลักสูตรเน้น
ประสบการณ์
3.1 หลักสูตรแบบใช้
สถานการณ์ในชีวิต
3.2 หลักสูตรแบบ
นักปฏิรูป
ประเภท/แบบของหลักสูตร
Smith, Stanley และ Shores (1950: 376 – 531 อ้างถึงใน สงัด อุทรานันท์, 2530:
85) แบ่งรูปแบบหลักสูตรเป็น 3 รูปแบบ คือ
1. หลักสูตรรายวิชา (Subject Curriculum)
2. หลักสูตรกิจกรรม (Activity Curriculum)
3. หลักสูตรแกนวิชา (Core Curriculum)
ประเภท/แบบของหลักสูตร
Taba (1962: 382 – 412 อ้างถึงใน สงัด อุทรานันท์, 2530: 86) แบ่ง แบบ
หลักสูตรเป็น 5 แบบ คือ
1. หลักสูตรรายวิชา (Subject Curriculum)
2. หลักสูตรรวมวิชา (Broad-Field Curriculum)
3. หลักสูตรเน้นกระบวนการทางสังคม และภาระหน้าที่ในชีวิตประจาวัน
(Curriculum Based on Social Process and Life Function)
4. หลักสูตรกิจกรรมหรือหลักสูตรประสบการณ์ (Activity or Experience
Curriculum)
5. หลักสูตรแกนวิชา (Core Curriculum)
ประเภท/แบบของหลักสูตร
(รุจิร์ ภุ่สาระ, 2551: 18-27)
1. แบบรายวิชา (Subject-Matter-Curriculum)
2. แบบหมวดวิชา (Broad-Fields-Curriculum)
3. แบบยึดกระบวนการทางสังคมและการดารงชีวิต (Social Process and
Life Function Curriculum)
4. แบบแกนกลาง (The Core Curriculum)
5. แบบยึดกิจกรรมและประสบการณ์ (The Activity and Experience
Curriculum)
6. แบบบูรณาการ (Integrated Curriculum)
7. แบบสหสัมพันธ์ (Correlate Curriculum)
8. แบบเอกัตบุคคล (Individualized Curriculum)
9. แบบส่วนบุคคล (Personalized Curriculum)
ประเภท /แบบของหลักสูตร
2. หลักสูตร
เน้นผู้เรียน
3. หลักสูตร
เน้นสังคม
1. หลักสูตร
เน้นเนื้อหาวิชา
1.1 หลักสูตรรายวิชา
1.2หลักสูตรสาขาวิชา
1.3หลักสูตรหมวดวิชา
1.4 หลักสูตรสหสัมพันธ์
1.5 หลักสูตรบูรณาการ
1.6 หลักสูตรแกนวิชา
2.1 หลักสูตรแบบเด็กเป็น
ศูนย์กลาง
2.2 หลักสูตรเน้น
ประสบการณ์
3.1 หลักสูตรแบบใช้
สถานการณ์ในชีวิต
3.2 หลักสูตรแบบ
นักปฏิรูป
กิจกรรม
จับคู่แบบของหลักสูตร
ประเภท/แบบของหลักสูตร
1. แบบรายวิชา (Subject Design)
ใช้วิชาเป็นหลักในการออกแบบหลักสูตรโดยนาเนื้อหาหลักมาแยกเป็น
วิชาย่อยในเชิงลึกเฉพาะทาง และจัดเรียงเนื้อหาตามความรู้ที่จาเป็นของ
แต่ละวิชา
เน้นที่กิจกรรมการถ่ายทอดโดยใช้การพูด เนื่องจากเชื่อว่าเป็นวิธีที่ความรู้
และความคิดจะถูกนามาสื่อสารได้ดีที่สุดและถูกรวบรวมได้ดี การออกแบบใน
ลักษณะนี้เป็นการให้ความรู้ที่จาเป็นในสังคม และง่ายที่จะส่ง่่านความรู้
การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาสารัตถนิยม (Essentialism) และ
นิรันดรนิยม (Perennialism) ใช้แหล่งข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และความรู้
จุดเน้นของหลักสูตรคือ การแยก รายวิชา
ประเภท/แบบของหลักสูตร
2. แบบสาขาวิชา (Discipline Design)
การออกแบบลักษณะนี้พัฒนาการมาจากแบบรายวิชา โดยมีพื้นฐานของ
การออกแบบคือการจัดเรียงตามเนื้อหาวิชา
แบบสาขาวิชาเป็นความรู้เฉพาะที่มีคุณลักษณะที่ขาดไม่ได้หรือเป็น
พื้นฐานจาเป็น มองว่าวิธีการที่นักวิชาการใช้ศึกษาเนื้อหาในสาขาของ
พวกเขาก็ควรเป็นวิธีที่นักเรียนควรใช้เรียนเนื้อหาในสาขานั้น
การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาสารัตถนิยม (Essentialism) และ
นิรันดรนิยม (Perennialism) ใช้แหล่งข้อมูลด้านความรู้และวิทยาศาสตร์
จุดเน้นของหลักสูตรคือ ศาสตร์ทางวิชาการ เช่น คณิตศาสตร์ ชีววิทยา
จิตวิทยา ฯลฯ
ประเภท/แบบของหลักสูตร
3. แบบหมวดวิชา (Broad-Fields-Curriculum)
เป็นการบูรณาการเนื้อหาที่เหมาะสมจะนามารวมเข้าด้วยกันอย่างมีเหตุ่ล เช่น วิทยาศาสตร์
ทั่วไป (ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ ) สังคมศึกษา (ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และ
ประวัติศาสตร์)
จุดเน้นของหลักสูตรคือรายวิชาแบบสหวิทยาการและเน้นศาสตร์ทางวิชาการ
พบในการศึกษาระดับอุดมศึกษา แต่ปัจจุบันมีการนาไปใช้ออกแบบในการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แบบ่สม่สาน (Fused Curriculum)
เป็นการรวมสองวิชาเสมือนเป็นวิชาเดียว เช่น การ่สมวิชาสัตวศาสตร์ กับวิชาพฤกษศาสตร์ เป็น
ชีววิทยา การ่สมวิชาการปกครองกับสังคมวิทยาเป็น ประชาธิปไตยของไทย
การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาสารัตถนิยม(Essentialism) และพิพัฒนาการนิยม
(Progressivism)ใช้แหล่งข้อมูลด้านความรู้และสังคม จุดเน้นของหลักสูตรคือรายวิชาแบบสห
วิทยาการและเน้นศาสตร์ทางวิชาการ
ประเภท/แบบของหลักสูตร
4. แบบสหสัมพันธ์ (Correlation Design)
เชื่อมโยงศาสตร์แต่ยังคงแยกลักษณะเฉพาะของแต่ละวิชาอยู่
การออกแบบลักษณะนี้ไม่ต้องการที่จะสร้างสิ่งใหม่ขึ้นมาเหมือนกับ Broad-fields
design และเห็นว่าแบบรายวิชายังขาดความเชื่อมโยงของเนื้อหา
เป็นการพยายามหาทางให้รายวิชาที่แยกกันนั้นมาเชื่อมโยงกันแต่ยังคง
เอกลักษณ์ของแต่ละวิชา
เช่น วิชาวรรณคดีกับวิชาประวัติศาสตร์
วิชาวิทยาศาสตร์กับวิชาคณิตศาสตร์
การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) และสารัตถ
นิยม (Essentialism) ใช้แหล่งข้อมูลด้านความรู้ จุดเน้นของหลักสูตรคือแยกวิชา
เชื่อมโยงศาสตร์แต่ยังคงแยกลักษณะเฉพาะของแต่ละวิชาอยู่
ประเภท/แบบของหลักสูตร
5. แบบบูรณาการ (Integrated Curriculum)
เป็นการออกแบบที่พัฒนามาจากหลักสูตรแบบหมวดวิชา โดยการหลอมรวมวิชา
โดยที่ทาให้เอกลักษณ์ของวิชาเดิมไม่คงเหลืออยู่เลย
ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นเรียน ู่้สอนสามารถจัดทาหน่วยการ
เรียนรู้ ซึ่งอาจใช้หลักการบูราการมาตรฐานการเรียนรู้ หรือบูรณาการเนื้อหาโดย
การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ก็ได้
ประเภท/แบบของหลักสูตร
6. แบบแกน (The Core Curriculum)
อธิบายได้ 3 ลักษณะ คือ
1. หลักสูตรที่นาวิชาต่างๆ มา่สม่สานโดยใช้
หัวข้อในเรื่องปัญหาสังคม ปัญหาู่้เรียน ปัญหา
ทางประวัติศาสตร์เป็นจุดร่วม
2. หลักสูตรที่ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ และ
เจตคติที่เลือกแล้วว่าจาเป็นสาหรับู่้เรียนทุกคน
โดยไม่แยกเป็นรายวิชา
3. หลักสูตรที่ประกอบด้วยวิชาที่พิจารณาว่าจาเป็น
สาหรับทุกคน
(ธารง บัวศรี, 2553: 185)
วิชา1
วิชา2
วิชา3
วิชา4วิชา5
วิชา6
วิชา7
วิชา8
วิชา
พื้นฐาน
เนื้อหา1
ความรู้ ทักษะ
เจตคติ
วิชา1
วิชา2
วิชา3
วิชา4วิชา5
วิชา6
วิชา7
วิชา8
ปัญหา
ประเภท/แบบของหลักสูตร
7. แบบเด็กเป็นศูนย์กลาง (Child-Centered Design)
การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) ใช้
แหล่งข้อมูลด้านตัวู่้เรียน จุดเน้นของหลักสูตรคือความต้องการและความ
สนใจของู่้เรียน
การออกแบบลักษณะนี้เชื่อว่าู่้เรียนต้องรุกเข้าสู่สภาพแวดล้อมการ
เรียนรู้ของพวกเขาเอง และการเรียนรู้นั้นไม่ควรแยกออกจากชีวิตจริง
ประเภท/แบบของหลักสูตร
8. แบบประสบการณ์เป็นศูนย์กลาง (Experience-Centered Design)
ใช้แหล่งข้อมูลด้านตัวู่้เรียน จุดเน้นของหลักสูตรคือประสบการณ์และ
ความสนใจของู่้เรียน แม้แบบนี้จะมีความใกล้เคียงกับแบบเด็กเป็น
ศูนย์กลางแต่มุมมองที่แตกต่างคือ การออกแบบลักษณะนี้เห็นว่าความ
ต้องการและความสนใจของเด็กนั้นไม่สามารถนามาจัดเตรียมล่วงหน้า
ดังนั้นจึงไม่สามารถวางแ่นกรอบของหลักสูตรให้เหมาะกับเด็กทุกคนได้
การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) ใช้
แหล่งข้อมูลด้านตัวู่้เรียน จุดเน้นของหลักสูตรคือประสบการณ์และความ
สนใจของู่้เรียน
ประเภท/แบบของหลักสูตร
9. แบบสถานการณ์ในชีวิต (Life-Situation Design)
การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) จุดเน้น
ของหลักสูตรคือปัญหาชีวิต และปัญหาทางสังคม ใช้แหล่งข้อมูลด้านความ
เป็นอยู่ในสังคม
การออกแบบนี้มีข้อตกลงเบื้องต้น 3 ข้อ คือ
เชื่อมโยงสถานการณ์ในชีวิตคงอยู่อย่างต่อเนื่องที่เป็นเรื่องสาคัญต่อการทา
หน้าที่ให้ประสบความสาเร็จของสังคม และสร้างความสมเหตุสม่ลใน
การศึกษาในการจัดระเบียบหลักสูตรที่อยู่รอบตัวู่้เรียน
นักเรียนจะพบความเกี่ยวข้องของเนื้อหาเมื่อเนื้อหาถูกจัดระเบียบล้อมรอบ
แง่มุมของชีวิตในชุมชน
นักเรียนได้ศึกษาสถานการณ์ของชีวิตหรือสังคมจะเป็นวิธีการให้พวกเขา
ได้เกี่ยวข้องในการปรับปรุงสังคม
ประเภท/แบบของหลักสูตร
10. แบบนักปฏิรูป (Reconstructionist Design)
การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) จุดเน้น
ของหลักสูตรคือการอยู่ร่วมกันในสังคมและสังคมและปัญหาของอยู่ร่วมกันใน
การสังคม ใช้แหล่งข้อมูลด้านความเป็นอยู่ในสังคมและความเป็นจริงที่ไม่
สิ้นสุด
วัตถุประสงค์เบื้องต้นของหลักสูตรแบบนักปฏิรูปสังคมคือเพื่อนานักเรียน
ให้ยึดติดอยู่กับการวิเคราะห์วิจารณ์ในเรื่องท้องถิ่น ชาติ และสังคมนานาชาติ
เพื่อที่จะระบุถึงปัญหาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจต่อการฝึกปฏิบัติด้าน
นโยบายของธุรกิจและพรรครัฐบาล หลักสูตรจะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง
ทางการเมืองและอุตสาหกรรม
การออกแบบหลักสูตรโดยใชู้่้เรียนเป็นศูนย์กลางมักใช้ในการ
ออกแบบหลักสูตรระดับประถมศึกษา
และใช้การออกแบบโดยใช้เนื้อหาเป็นศูนย์กลางในการออกแบบ
หลักสูตรระดับมัธยมศึกษาอันเนื่องมาจากอิทธิ่ลของตาราและ
มหาวิทยาลัยซึ่งใช้สาขาวิชาเป็นหลักในการจัดระเบียบหลักสูตร
(Ornstein and Hunkin 2009: 197)

More Related Content

What's hot

วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลมะ สิ
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมPom Pom Insri
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่มTaweep Saechin
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรTawatchai Bunchuay
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรFh Fatihah
 

What's hot (13)

วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคลวิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
วิธีการสอนแบบพัฒนารายบุคคล
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
บทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีมบทความการสอนแบบเป็นทีม
บทความการสอนแบบเป็นทีม
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
Learning Style
Learning StyleLearning Style
Learning Style
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม1.3 กระบวนการกลุ่ม
1.3 กระบวนการกลุ่ม
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
ทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตรทฤ.หลักสูตร
ทฤ.หลักสูตร
 
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตรข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
ข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาหลักสูตร
 

Viewers also liked

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้yuapawan
 
Digital marketing training-institute in Mumbai
Digital marketing training-institute in MumbaiDigital marketing training-institute in Mumbai
Digital marketing training-institute in Mumbaisoftprostudent2
 
Домашняя метеостанция
Домашняя метеостанцияДомашняя метеостанция
Домашняя метеостанцияVladislav Ross
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
Speakout Intermediate 2nd ed Unit3 day1r
Speakout Intermediate 2nd ed Unit3 day1rSpeakout Intermediate 2nd ed Unit3 day1r
Speakout Intermediate 2nd ed Unit3 day1rsasknic
 
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day2
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day2Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day2
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day2sasknic
 
Speakout Intermediate Unit 4 day 4
Speakout Intermediate Unit 4 day 4Speakout Intermediate Unit 4 day 4
Speakout Intermediate Unit 4 day 4sasknic
 
Speakout Intermediate Unit 4 day 2
Speakout Intermediate Unit 4 day 2Speakout Intermediate Unit 4 day 2
Speakout Intermediate Unit 4 day 2sasknic
 
Autoevaluación del o la docente
Autoevaluación del o la docenteAutoevaluación del o la docente
Autoevaluación del o la docenteCPR Oviedo
 
Powerpoint Perwasitan dalam permainan bola basket
Powerpoint Perwasitan dalam permainan bola basketPowerpoint Perwasitan dalam permainan bola basket
Powerpoint Perwasitan dalam permainan bola basketAlfi Nurfazri
 
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day1
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day1Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day1
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day1sasknic
 

Viewers also liked (17)

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
Digital marketing training-institute in Mumbai
Digital marketing training-institute in MumbaiDigital marketing training-institute in Mumbai
Digital marketing training-institute in Mumbai
 
Домашняя метеостанция
Домашняя метеостанцияДомашняя метеостанция
Домашняя метеостанция
 
Fusion brochure
Fusion brochureFusion brochure
Fusion brochure
 
Recull de premsa #Figueres - 15/03/2017
Recull de premsa #Figueres - 15/03/2017Recull de premsa #Figueres - 15/03/2017
Recull de premsa #Figueres - 15/03/2017
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3
 
Recull de premsa #Figueres - 13/03/2017
Recull de premsa #Figueres - 13/03/2017Recull de premsa #Figueres - 13/03/2017
Recull de premsa #Figueres - 13/03/2017
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2
 
Speakout Intermediate 2nd ed Unit3 day1r
Speakout Intermediate 2nd ed Unit3 day1rSpeakout Intermediate 2nd ed Unit3 day1r
Speakout Intermediate 2nd ed Unit3 day1r
 
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day2
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day2Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day2
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day2
 
Speakout Intermediate Unit 4 day 4
Speakout Intermediate Unit 4 day 4Speakout Intermediate Unit 4 day 4
Speakout Intermediate Unit 4 day 4
 
Speakout Intermediate Unit 4 day 2
Speakout Intermediate Unit 4 day 2Speakout Intermediate Unit 4 day 2
Speakout Intermediate Unit 4 day 2
 
Autoevaluación del o la docente
Autoevaluación del o la docenteAutoevaluación del o la docente
Autoevaluación del o la docente
 
Powerpoint Perwasitan dalam permainan bola basket
Powerpoint Perwasitan dalam permainan bola basketPowerpoint Perwasitan dalam permainan bola basket
Powerpoint Perwasitan dalam permainan bola basket
 
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day1
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day1Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day1
Speakout Intermediate 2nd Ed Unit1 day1
 

Similar to หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4

รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3kanwan0429
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3kanwan0429
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรkruskru
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคkruskru
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learningKruthai Kidsdee
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 

Similar to หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4 (20)

รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตร
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
1369802778 project base learning
1369802778 project base learning1369802778 project base learning
1369802778 project base learning
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University

การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 

More from CC Nakhon Pathom Rajabhat University (20)

ภาษา php
ภาษา phpภาษา php
ภาษา php
 
ภาษา java sript
ภาษา java sriptภาษา java sript
ภาษา java sript
 
session cookies
session cookiessession cookies
session cookies
 
ภาษา css
ภาษา cssภาษา css
ภาษา css
 
ภาษา xhtml
ภาษา xhtmlภาษา xhtml
ภาษา xhtml
 
ภาษา html5
ภาษา html5ภาษา html5
ภาษา html5
 
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา htmlการสร้่างเว็บด้วยภาษา html
การสร้่างเว็บด้วยภาษา html
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
ปฏิบัติการการพัฒนาออกแบบและการเขียนโปรแกรมเว็บเพจ
 
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซการออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
การออกแบบระบบและการออกแบบยูสเซอร์อินเตอร์เฟซ
 
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุตการออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
การออกแบบเอาต์พุต/การออกแบบอินพุต
 
Entity Relationship
Entity RelationshipEntity Relationship
Entity Relationship
 
แบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบแบบจำลองระบบ
แบบจำลองระบบ
 
การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2การวิเคราะห์ระบบ 2
การวิเคราะห์ระบบ 2
 
การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1การวิเคราะห์ระบบ 1
การวิเคราะห์ระบบ 1
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศการพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
การพัฒนาระบบสารสนเทศและวัฏจักรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิเคราะห์ระบบ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
 
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธาบทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
บทที่7 การประยุกต์ใช้ในงานทางด้านโยธา
 

หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 4

  • 2. ประเภท /แบบของหลักสูตร ประเภทหรือรูปแบบของหลักสูตรเป็นการจัดระเบียบและการ นาเสนอเนื้อหาสาระให้ปรากฏในหลักสูตร ซึ่งผู้พัฒนาหลักสูตร สามารถนาเสนอเนื้อหาได้หลายลักษณะ การนาเสนอเนื้อหา ของหลักสูตรเป็นการสะท้อนถึงสิ่งที่ผู้พัฒนาหลักสูตรให้ ความสาคัญ เช่น ถ้าผู้สร้างหลักสูตรให้ความสาคัญกับเนื้อหา ก็จะใช้เนื้อหา มาเป็นหลักในการจัดระเบียบและนาเสนอเนื้อหาสาระ
  • 3. ประเภท /แบบของหลักสูตร 2. หลักสูตร เน้นผู้เรียน 3. หลักสูตร เน้นสังคม 1. หลักสูตร เน้นเนื้อหาวิชา 1.1 หลักสูตรรายวิชา 1.2หลักสูตรสาขาวิชา 1.3หลักสูตรหมวดวิชา 1.4 หลักสูตรสหสัมพันธ์ 1.5 หลักสูตรบูรณาการ 1.6 หลักสูตรแกนวิชา 2.1 หลักสูตรแบบเด็กเป็น ศูนย์กลาง 2.2 หลักสูตรเน้น ประสบการณ์ 3.1 หลักสูตรแบบใช้ สถานการณ์ในชีวิต 3.2 หลักสูตรแบบ นักปฏิรูป
  • 4. ประเภท/แบบของหลักสูตร Smith, Stanley และ Shores (1950: 376 – 531 อ้างถึงใน สงัด อุทรานันท์, 2530: 85) แบ่งรูปแบบหลักสูตรเป็น 3 รูปแบบ คือ 1. หลักสูตรรายวิชา (Subject Curriculum) 2. หลักสูตรกิจกรรม (Activity Curriculum) 3. หลักสูตรแกนวิชา (Core Curriculum)
  • 5. ประเภท/แบบของหลักสูตร Taba (1962: 382 – 412 อ้างถึงใน สงัด อุทรานันท์, 2530: 86) แบ่ง แบบ หลักสูตรเป็น 5 แบบ คือ 1. หลักสูตรรายวิชา (Subject Curriculum) 2. หลักสูตรรวมวิชา (Broad-Field Curriculum) 3. หลักสูตรเน้นกระบวนการทางสังคม และภาระหน้าที่ในชีวิตประจาวัน (Curriculum Based on Social Process and Life Function) 4. หลักสูตรกิจกรรมหรือหลักสูตรประสบการณ์ (Activity or Experience Curriculum) 5. หลักสูตรแกนวิชา (Core Curriculum)
  • 6. ประเภท/แบบของหลักสูตร (รุจิร์ ภุ่สาระ, 2551: 18-27) 1. แบบรายวิชา (Subject-Matter-Curriculum) 2. แบบหมวดวิชา (Broad-Fields-Curriculum) 3. แบบยึดกระบวนการทางสังคมและการดารงชีวิต (Social Process and Life Function Curriculum) 4. แบบแกนกลาง (The Core Curriculum) 5. แบบยึดกิจกรรมและประสบการณ์ (The Activity and Experience Curriculum) 6. แบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) 7. แบบสหสัมพันธ์ (Correlate Curriculum) 8. แบบเอกัตบุคคล (Individualized Curriculum) 9. แบบส่วนบุคคล (Personalized Curriculum)
  • 7. ประเภท /แบบของหลักสูตร 2. หลักสูตร เน้นผู้เรียน 3. หลักสูตร เน้นสังคม 1. หลักสูตร เน้นเนื้อหาวิชา 1.1 หลักสูตรรายวิชา 1.2หลักสูตรสาขาวิชา 1.3หลักสูตรหมวดวิชา 1.4 หลักสูตรสหสัมพันธ์ 1.5 หลักสูตรบูรณาการ 1.6 หลักสูตรแกนวิชา 2.1 หลักสูตรแบบเด็กเป็น ศูนย์กลาง 2.2 หลักสูตรเน้น ประสบการณ์ 3.1 หลักสูตรแบบใช้ สถานการณ์ในชีวิต 3.2 หลักสูตรแบบ นักปฏิรูป
  • 9. ประเภท/แบบของหลักสูตร 1. แบบรายวิชา (Subject Design) ใช้วิชาเป็นหลักในการออกแบบหลักสูตรโดยนาเนื้อหาหลักมาแยกเป็น วิชาย่อยในเชิงลึกเฉพาะทาง และจัดเรียงเนื้อหาตามความรู้ที่จาเป็นของ แต่ละวิชา เน้นที่กิจกรรมการถ่ายทอดโดยใช้การพูด เนื่องจากเชื่อว่าเป็นวิธีที่ความรู้ และความคิดจะถูกนามาสื่อสารได้ดีที่สุดและถูกรวบรวมได้ดี การออกแบบใน ลักษณะนี้เป็นการให้ความรู้ที่จาเป็นในสังคม และง่ายที่จะส่ง่่านความรู้ การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาสารัตถนิยม (Essentialism) และ นิรันดรนิยม (Perennialism) ใช้แหล่งข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และความรู้ จุดเน้นของหลักสูตรคือ การแยก รายวิชา
  • 10. ประเภท/แบบของหลักสูตร 2. แบบสาขาวิชา (Discipline Design) การออกแบบลักษณะนี้พัฒนาการมาจากแบบรายวิชา โดยมีพื้นฐานของ การออกแบบคือการจัดเรียงตามเนื้อหาวิชา แบบสาขาวิชาเป็นความรู้เฉพาะที่มีคุณลักษณะที่ขาดไม่ได้หรือเป็น พื้นฐานจาเป็น มองว่าวิธีการที่นักวิชาการใช้ศึกษาเนื้อหาในสาขาของ พวกเขาก็ควรเป็นวิธีที่นักเรียนควรใช้เรียนเนื้อหาในสาขานั้น การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาสารัตถนิยม (Essentialism) และ นิรันดรนิยม (Perennialism) ใช้แหล่งข้อมูลด้านความรู้และวิทยาศาสตร์ จุดเน้นของหลักสูตรคือ ศาสตร์ทางวิชาการ เช่น คณิตศาสตร์ ชีววิทยา จิตวิทยา ฯลฯ
  • 11. ประเภท/แบบของหลักสูตร 3. แบบหมวดวิชา (Broad-Fields-Curriculum) เป็นการบูรณาการเนื้อหาที่เหมาะสมจะนามารวมเข้าด้วยกันอย่างมีเหตุ่ล เช่น วิทยาศาสตร์ ทั่วไป (ชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ ) สังคมศึกษา (ภูมิศาสตร์ เศรษฐกิจ สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และ ประวัติศาสตร์) จุดเน้นของหลักสูตรคือรายวิชาแบบสหวิทยาการและเน้นศาสตร์ทางวิชาการ พบในการศึกษาระดับอุดมศึกษา แต่ปัจจุบันมีการนาไปใช้ออกแบบในการศึกษาขั้นพื้นฐาน แบบ่สม่สาน (Fused Curriculum) เป็นการรวมสองวิชาเสมือนเป็นวิชาเดียว เช่น การ่สมวิชาสัตวศาสตร์ กับวิชาพฤกษศาสตร์ เป็น ชีววิทยา การ่สมวิชาการปกครองกับสังคมวิทยาเป็น ประชาธิปไตยของไทย การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาสารัตถนิยม(Essentialism) และพิพัฒนาการนิยม (Progressivism)ใช้แหล่งข้อมูลด้านความรู้และสังคม จุดเน้นของหลักสูตรคือรายวิชาแบบสห วิทยาการและเน้นศาสตร์ทางวิชาการ
  • 12. ประเภท/แบบของหลักสูตร 4. แบบสหสัมพันธ์ (Correlation Design) เชื่อมโยงศาสตร์แต่ยังคงแยกลักษณะเฉพาะของแต่ละวิชาอยู่ การออกแบบลักษณะนี้ไม่ต้องการที่จะสร้างสิ่งใหม่ขึ้นมาเหมือนกับ Broad-fields design และเห็นว่าแบบรายวิชายังขาดความเชื่อมโยงของเนื้อหา เป็นการพยายามหาทางให้รายวิชาที่แยกกันนั้นมาเชื่อมโยงกันแต่ยังคง เอกลักษณ์ของแต่ละวิชา เช่น วิชาวรรณคดีกับวิชาประวัติศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์กับวิชาคณิตศาสตร์ การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) และสารัตถ นิยม (Essentialism) ใช้แหล่งข้อมูลด้านความรู้ จุดเน้นของหลักสูตรคือแยกวิชา เชื่อมโยงศาสตร์แต่ยังคงแยกลักษณะเฉพาะของแต่ละวิชาอยู่
  • 13. ประเภท/แบบของหลักสูตร 5. แบบบูรณาการ (Integrated Curriculum) เป็นการออกแบบที่พัฒนามาจากหลักสูตรแบบหมวดวิชา โดยการหลอมรวมวิชา โดยที่ทาให้เอกลักษณ์ของวิชาเดิมไม่คงเหลืออยู่เลย ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาระดับชั้นเรียน ู่้สอนสามารถจัดทาหน่วยการ เรียนรู้ ซึ่งอาจใช้หลักการบูราการมาตรฐานการเรียนรู้ หรือบูรณาการเนื้อหาโดย การบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือระหว่างกลุ่มสาระการเรียนรู้ก็ได้
  • 14. ประเภท/แบบของหลักสูตร 6. แบบแกน (The Core Curriculum) อธิบายได้ 3 ลักษณะ คือ 1. หลักสูตรที่นาวิชาต่างๆ มา่สม่สานโดยใช้ หัวข้อในเรื่องปัญหาสังคม ปัญหาู่้เรียน ปัญหา ทางประวัติศาสตร์เป็นจุดร่วม 2. หลักสูตรที่ประกอบด้วย ความรู้ ทักษะ และ เจตคติที่เลือกแล้วว่าจาเป็นสาหรับู่้เรียนทุกคน โดยไม่แยกเป็นรายวิชา 3. หลักสูตรที่ประกอบด้วยวิชาที่พิจารณาว่าจาเป็น สาหรับทุกคน (ธารง บัวศรี, 2553: 185) วิชา1 วิชา2 วิชา3 วิชา4วิชา5 วิชา6 วิชา7 วิชา8 วิชา พื้นฐาน เนื้อหา1 ความรู้ ทักษะ เจตคติ วิชา1 วิชา2 วิชา3 วิชา4วิชา5 วิชา6 วิชา7 วิชา8 ปัญหา
  • 15. ประเภท/แบบของหลักสูตร 7. แบบเด็กเป็นศูนย์กลาง (Child-Centered Design) การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) ใช้ แหล่งข้อมูลด้านตัวู่้เรียน จุดเน้นของหลักสูตรคือความต้องการและความ สนใจของู่้เรียน การออกแบบลักษณะนี้เชื่อว่าู่้เรียนต้องรุกเข้าสู่สภาพแวดล้อมการ เรียนรู้ของพวกเขาเอง และการเรียนรู้นั้นไม่ควรแยกออกจากชีวิตจริง
  • 16. ประเภท/แบบของหลักสูตร 8. แบบประสบการณ์เป็นศูนย์กลาง (Experience-Centered Design) ใช้แหล่งข้อมูลด้านตัวู่้เรียน จุดเน้นของหลักสูตรคือประสบการณ์และ ความสนใจของู่้เรียน แม้แบบนี้จะมีความใกล้เคียงกับแบบเด็กเป็น ศูนย์กลางแต่มุมมองที่แตกต่างคือ การออกแบบลักษณะนี้เห็นว่าความ ต้องการและความสนใจของเด็กนั้นไม่สามารถนามาจัดเตรียมล่วงหน้า ดังนั้นจึงไม่สามารถวางแ่นกรอบของหลักสูตรให้เหมาะกับเด็กทุกคนได้ การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาพิพัฒนาการนิยม (Progressivism) ใช้ แหล่งข้อมูลด้านตัวู่้เรียน จุดเน้นของหลักสูตรคือประสบการณ์และความ สนใจของู่้เรียน
  • 17. ประเภท/แบบของหลักสูตร 9. แบบสถานการณ์ในชีวิต (Life-Situation Design) การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) จุดเน้น ของหลักสูตรคือปัญหาชีวิต และปัญหาทางสังคม ใช้แหล่งข้อมูลด้านความ เป็นอยู่ในสังคม การออกแบบนี้มีข้อตกลงเบื้องต้น 3 ข้อ คือ เชื่อมโยงสถานการณ์ในชีวิตคงอยู่อย่างต่อเนื่องที่เป็นเรื่องสาคัญต่อการทา หน้าที่ให้ประสบความสาเร็จของสังคม และสร้างความสมเหตุสม่ลใน การศึกษาในการจัดระเบียบหลักสูตรที่อยู่รอบตัวู่้เรียน นักเรียนจะพบความเกี่ยวข้องของเนื้อหาเมื่อเนื้อหาถูกจัดระเบียบล้อมรอบ แง่มุมของชีวิตในชุมชน นักเรียนได้ศึกษาสถานการณ์ของชีวิตหรือสังคมจะเป็นวิธีการให้พวกเขา ได้เกี่ยวข้องในการปรับปรุงสังคม
  • 18. ประเภท/แบบของหลักสูตร 10. แบบนักปฏิรูป (Reconstructionist Design) การออกแบบนี้ยึดถือตามปรัชญาปฏิรูปนิยม (Reconstructionism) จุดเน้น ของหลักสูตรคือการอยู่ร่วมกันในสังคมและสังคมและปัญหาของอยู่ร่วมกันใน การสังคม ใช้แหล่งข้อมูลด้านความเป็นอยู่ในสังคมและความเป็นจริงที่ไม่ สิ้นสุด วัตถุประสงค์เบื้องต้นของหลักสูตรแบบนักปฏิรูปสังคมคือเพื่อนานักเรียน ให้ยึดติดอยู่กับการวิเคราะห์วิจารณ์ในเรื่องท้องถิ่น ชาติ และสังคมนานาชาติ เพื่อที่จะระบุถึงปัญหาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจต่อการฝึกปฏิบัติด้าน นโยบายของธุรกิจและพรรครัฐบาล หลักสูตรจะสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองและอุตสาหกรรม