SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบารุง และเสริมสร้าง
เอกลักษณ์กีฬาไทย และกีฬาพื้นบ้าน
สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม นครปฐม เพชรบุรี
สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
คำนำ
สถาบันการพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เมื่อได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตาม
พระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา พุทธศักราช 2548 ได้เปลี่ยนสถานะวิทยาลัยพลศึกษาทั้ง 17 แห่ง เป็น
วิทยาเขตของสถาบันการพลศึกษา เป็นส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นเทียบเท่าคณะ เริ่มจัดการเรียนการสอน
ตามหลักสูตรของสถาบันการพลศึกษา ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2548 เป็นต้นมา ภายใต้การบริหารของสภา
สถาบันการพลศึกษา และมีวิสัยทัศน์ คือ เป็นสถาบันการพลศึกษาชั้นนาที่ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านพล
ศึกษา กีฬาและสุขภาพ สู่ความเป็นเลิศระดับมาตรฐานสากลอย่างยั่งยืน โดยที่พันธกิจข้อสุดท้ายที่
นอกเหนือจากการผลิตและพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมการวิจัยทางพลศึกษา การกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา
วิทยาศาสตร์สุขภาพ นันทนาการและสาขาที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทั้งยังทานุ
บารุงศิลปวัฒนธรรม การละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทยของจังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ
นครปฐม และเพชรบุรีอีกด้วย
เพื่อให้การดาเนินงาน ตามพันธกิจครบถ้วนสมบูรณ์ และเกิดภาพลักษณ์ที่ชัดเจนกับนักศึกษาของ
สถาบันการพลศึกษา เพื่อแสดงถึงความเป็นไทย “มีลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบ
เรียบร้อย ความสามัคคี ความก้าวหน้าของชาติและศีลธรรมอันดีของประชาชน”
สถาบันการพลศึกษาได้มอบหมายให้ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาครจัดทาโครงการ
พัฒนา ทะนุบารุงและสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมขึ้น โดยสนับสนุนการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุ
ลักษณ์ พัฒนาทะนุบารุงและสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมของสถาบันการพลศึกษาวิทยาเขต
สมุทรสาครเพื่อส่งเสริมพัฒนา ภูมิป๎ญญาบรรพบุรุษ และศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป
คณะผู้จัดทา
สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
สารบัญ
เรื่อง หน้า
จังหวัดสมุทรปราการ …………………………………………………..…….....1
สถานที่ท่องเที่ยว ……………………………………………………….………….5
การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย ……………………………..………………6
จังหวัดสมุทรสาคร ........................................................................8
สถานที่ท่องเที่ยว …………………………………………………………………10
การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย ……………………………………………11
จังหวัดเพชรบุรี ……………………………………………………………………………….14
สถานที่ท่องเที่ยว …………………………………………………………………17
การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย ……………………………..…………….20
บรรณานุกรม ..............................................................................22
2
จังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ
จัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมี
ผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม 2489
ในสมัยอยุธยามีชื่อเมืองสมุทรปราการในกฎหมายซึ่งตราขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2178 แต่ตัวเมืองจะตั้งอยู่ที่ใดใน
เวลานั้นไม่ปรากฏชัด มีหลักฐานแต่เพียงว่า ที่ปากคลองบางปลากด ฝ๎่งขวาของแม่น้าเจ้าพระยา มีพ่อค้าชาว
ฮอลันดามาตั้งห้างพักสินค้าอยู่ ณ ที่นั้น และเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงแต่งสมณทูตไปลังกา กล่าวว่า
ออกเรือจากเมืองธนบุรีไปถึงตึกฮอลันดาที่ตาบลบางปลากด แสดงว่า ที่นั่นคงมีผู้คนอาศัยอยู่มาก อาจเป็นตัว
เมืองสมุทรปราการในครั้งนั้นก็ได้ ต่อมา เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ. 2310 ปรากฏหลักฐานว่า พม่า
ได้มาปล้นบ้านเรือนราษฎรที่ตาบลบางเมืองในเขตเมืองสมุทรปราการด้วย ในสมัยรัตนโกสินทร์
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองสมุทรปราการบัดนี้ที่ตาบลบางเมืองเมื่อ
พ.ศ. 2362 พร้อมกับสร้างปูอมปูองกันเรือของข้าศึกรวม 6 ปูอม และใน พ.ศ. 2366 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระ
สมุทรเจดีย์บนเกาะกลางน้าด้วย อนึ่ง สมุทรปราการ เรียกกันเป็นสามัญว่า "ปากน้า" เพราะตัวเมืองตั้งอยู่
บริเวณปากแม่น้าเจ้าพระยาฝ๎่งซ้าย ห่างจากปากแม่น้าเข้ามาราว 6 กิโลเมตร
3
ป๎จจุบัน จังหวัดสมุทรปราการมีเนื้อที่ 1,004
ตารางกิโลเมตร อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับ
กรุงเทพมหานคร และจังหวัดฉะเชิงเทรา, ทิศ
ตะวันออกติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา, ทิศใต้จด
อ่าวไทย, ทิศตะวันตกติดต่อกับกรุงเทพมหานคร
ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มทั้งหมด มีแม่น้า
เจ้าพระยาไหลผ่านทางซีกตะวันตกของจังหวัด จาก
ทิศเหนือไปทิศใต้ลงสู่อ่าวไทย มีชายฝ๎่งทะเลยาว
47.5 กม. เดิมชายฝ๎่งทะเลมีปุาชายเลนกว้างขวาง
เนื่องจากมีตะกอนที่แม่น้าเจ้าพระยานาพามาทับถม
กันที่บริเวณปากน้า แต่ป๎จจุบันมีการบุกรุกปุาชาย
เลน ทาให้เกิดป๎ญหาการกัดเซาะชายฝ๎่งเป็นบริเวณกว้าง
ในด้านเศรษฐกิจ จังหวัดสมุทรปราการมีการ
ทานา ประมง และอุตสาหกรรม แหล่งท่องเที่ยว
และสถานที่สาคัญ เช่น สนามบินสุวรรณภูมิ พระ
สมุทรเจดีย์กลางน้า วัดอโศการาม วัดบางพลีใหญ่
วัดไพชยนต์พลเสพราชวรวิหาร วัดโปรดเกศเชษฐา
ราม ศาลพระเสื้อเมือง พิพิธภัณฑ์ทหารเรือ เมือง
โบราณ สถานตากอากาศบางปู ปูอมพระ
จุลจอมเกล้า สวางคนิวาส ปูอมแผลงไฟฟูา ฟาร์ม
จระเข้
การคมนาคมจากกรุงเทพฯ โดยทางหลวงหมายเลข 3 (สุขุมวิท ตอน กรุงเทพฯ-สมุทรปราการ)
ระยะทาง 25 กิโลเมตร
4
สถานที่ท่องเที่ยว
ทะเลบางปู แหล่งท่องเที่ยวเชิง
อนุรักษ์ มีทั้งกิจกรรมปลูกปุาชายเลน และขี่
จักรยาน ดูนกกินปลา เพื่อเป็นการส่งเสริม
จิตสานึกของประชาชนเกี่ยวกับความสาคัญ
ของปุาชายเลน ร่วมใจกันฟื้นฟูและคืนความ
สมดุลให้ระบบนิเวศน์ ซึ่งจะส่งผลให้สามารถ
ดารงรักษาพื้นที่ปุาไม้ให้คงความสมดุลเพื่อ
คนรุ่นใหม่ต่อไป ตามแนวพระราชดาริ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระราช
เสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ
ร้านอาหารริมทะเลบางปู จ.สมุทรปราการ เพียงขับรถจากกรุงเทพฯ ประมาณ 40 กิโลเมตร ก็เจอกับ
ร้านอาหารริมทะเลบางปู ที่มีเรียงรายหลายร้านให้เลือก ตรงหน้าทางเข้าจะมีปูายบอกเป็นระยะๆ กินอาหาร
ทะเลที่นี่นอกจากอาหารจะสดสะอาดและอร่อยแล้วยังได้ดูนก และสูดอากาศบริสุทธิ์ริมฝ๎่งทะเลอ่าวไทยใน
บรรยากาศซุ้มริมทะเลแบบเย็นสบายอีกด้วย
5
การละเล่นพื้นบ้านไทยและกีฬาไทย
สมุทรปราการ เป็นจังหวัดที่มีหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ได้อพยพเข้ามาตั้งรกรากอยู่ จึงได้นา
การละเล่นพื้นบ้านของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์เข้ามาในจังหวัดสมุทรปราการด้วย และเพื่อเป็นการอนุรักษ์วิถีชีวิต
พื้นบ้านของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ให้คงอยู่คู่ชุมชนและ ประเพณีมอญรา ที่ถือได้ว่าเป็นศิลปะการแสดงของชาว
มอญสมุทรปราการ ซึ่งชาวมอญถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ชนชาติมอญได้เป็นอย่างดี
ประเพณีมอญรา
เป็นการแสดงออกถึงความอ่อนช้อยงดงามตามลีลาการร่ายราของชาวมอญ การแสดงมอญรานี้
เดิมทีนั้นเป็นการราเพื่อแสดงออกซึ่งความเคารพ และความกตัญํูกตเวที
6
จะนิยมแสดงในโอกาสต่าง ๆ ทั้งงานมงคลและ
อวมงคล การรานั้นจะมีปี่พาทย์มอญเป็นเครื่อง
บรรเลง ผู้ราก็จะราไปตามจังหวะหน้าทับตะโพนในแต่
ละเพลงในแต่ละท่า(ซึ่งป๎จจุบันมีความแตกต่างกันใน
เรื่องของท่ารา และมักจะเกิดเป็นข้อถกเถียงกัน
อยู่) ศิลปะการราของมอญส่วนมากจะนิยมกระเถิบ
เท้า โดยจะไม่ย่างก้าวไปมา เพราะมอญถือว่าการราที่
ไม่ยกหรือไม่ก้าวเท้าดูแล้วเรียบร้อยและเคารพต่อ
สถานที่และงานนั้นด้วย การแต่งกายก็จะ
เรียบร้อย สวยงาม หญิง นุ่งผ้าถุงยาวถึงข้อเท้า สวม
เสื้อแขนกระบอก พาดผ้าสะไบที่ไหล่ซ้าย เกล้าผมมวย
ประดับด้วยดอกไม้
การรามอญ เริ่มจากปี่พาทย์เริ่มบรรเลงด้วยเพลง
ออก ผู้ราทั้งหมดจะเดินออกมาอย่างเรียบร้อยและ
อาจจะไหว้หรือกราบพระ ผู้ชม ปี่พาทย์ หรือถ้าเป็น
งานศพก็จะกราบที่ศพด้วย แล้วยืนขึ้นเพื่อรอเข้าเพลงที่
หนึ่ง ในทุก ๆ เพลง ผู้ราจะย่อตัวไปมาโดยยังไม่ตั้งมือก่อนเสมอ
จากนั้นจึงจะตั้งมือไปตามเพลง และเมื่อจบเพลงผู้ราก็จะวางมือลงอย่างช้า ๆ ไว้ที่หน้าตัก เพื่อรอ
ขึ้นเพลงต่อไป ราไปจนจบทั้ง ๑๒ เพลง (ทางปทุมธานี ใช้ท่ารา ๑๓ ท่ารา) แล้วผู้ราก็จะนั่งลงไหว้หรือกราบ
เหมือนตอนก่อนจะรา
7
สมุทรสาครเป็นจังหวัดชายทะเล ตั้งอยู่ปากแม่น้าท่าจีน หลักฐานทางประวัติศาสตร์กล่าวไว้ว่าในอดีตมี
ชุมชนใหญ่เรียกว่า "บ้านท่าจีน" ตั้งอยู่บริเวณปากอ่าวไทย ในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรี
อยุธยา (พ.ศ. 2099) พระองค์โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ยกบ้านท่าจีนขึ้นเป็น เมืองสาครบุรี เพื่อเป็นหัว
เมืองสาหรับเรียกระดมพลเวลาเกิดสงครามและเป็นเมืองด่านหน้าปูองกันผู้รุกรานทางทะเล ต่อมาในสมัยกรุง
รัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 4) โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เปลี่ยนชื่อเมือง
สาครบุรีเป็น เมืองสมุทรสาคร และในปี พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ได้
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทางราชการเปลี่ยนคาว่า "เมือง" เป็น "จังหวัด" ทั่วทุกแห่งในพระ
ราชอาณาจักร เมืองสมุทรสาครจึงได้เปลี่ยนเป็น จังหวัดสมุทรสาคร ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจนถึงทุกวันนี้
อนึ่ง ในปี พ.ศ. 2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้มีพระราชดาริที่จะ
สร้างสรรค์ความเจริญให้แก่ท้องถิ่นโดยใช้รูปแบบการปกครองแบบสุขาภิบาล และเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ.
2448 มีพระบรมราชโองการให้ยกฐานะตาบลท่าฉลอมเป็นสุขาภิบาล เรียกว่า "สุขาภิบาลท่าฉลอม" จึงถือได้
ว่าสุขาภิบาลท่าฉลอมเป็นสุขาภิบาลแห่งแรกในหัวเมืองของประเทศไทย
9
สถานที่ท่องเที่ยว
จังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดชายฝั่งอ่าวไทยที่มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และทาง
ศิลปวัฒนธรรมที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวหลายแห่งด้วยกัน อาทิ วัดท่าไม้ วัดนางสาว
วัดนางสาว
ที่ตั้ง : หมู่ที่ 7 ต. ท่าไม้ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร
การเดินทาง : จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 4 (ถ.เพชร
เกษม) แยกขวาเข้าอ้อมน้อย หรือทางหลวงหมายเลข 3091 ไป
ราว 5 กม. จะถึงทางแยกเข้าวัดทางขวามือ จากตัวเมืองมหาชัย
ใช้ทางหลวงหมายเลข 3091 (ถ.เศรษฐกิจ) ผ่าน อ.กระทุ่มแบน
ประมาณ 1 กม. เลี้ยวซ้ายเข้าไปราว 1 กม. ก็จะถึงวัด
รถประจาทาง : สาย 402 (สมุทรสาคร-นครปฐม) ที่ท่ารถ บขส.
สมุทรสาคร
ประวัติ : จากตานานและคาบอกเล่าของชาวบ้านกล่าว
ว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ได้เกิดสงคราม ระหว่าง
กองทัพกรุงศรีอยุธยากับกองทัพพม่า พม่าได้ยกกองทัพเข้ามา
รุกรานจนถึงบ้านบางท่าไม้ในเขตอาเภอกระทุ่มแบน พวกผู้ชายออกไปรบเพื่อปูองกันบ้านเมืองกันหมด จึง
เหลือ แต่เฉพาะผู้หญิง เด็กและคนชราจึงพากันอพยพหลบหนีภัยสงคราม แต่ในระหว่างทาง ได้ไปพบกับกอง
ลาดตระเวน ของทหารพม่าจึงได้พากันเข้าไปหลบซ่อนตัว ในอุโบสถของวัดร้างแห่งหนึ่ง ในจานวนของผู้หนีภัย
สงครามทั้งหมดนั้น มีพี่น้องสองสาวคู่หนึ่งได้อธิษฐานกับพระประธาน ว่าถ้าพวกตนสามารถรอดพ้น จากเงื้อม
มือของทหารพม่าไปได้ จะกลับมาบูรณะซ่อมแซมวัดแห่งนี้ หลังจากเหตุการณ์สงครามสงบ พี่น้องทั้งสองคนก็
ได้กลับมายังวัดแห่งนี้ ฝุายพี่สาวเห็นว่าสภาพของวัดทรุดโทรมมากควรจะสร้างวัดขึ้น ใหม่จึงได้ไปสร้างวัดใหม่
ขึ้นเรียกชื่อว่า "วัดกกเตย" (ป๎จจุบันวัดนี้ล่มลงในน้าหมดแล้ว) แต่น้องสาวต้อง การกระทาตามสัจจาธิษฐาน
ของตน จึงได้ดาเนินการบูรณะจนแล้วเสร็จและตั้งชื่อว่า "วัดพรหมจารีย์ราม" ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น "วัด
น้องสาว" และได้เพี้ยนมาเป็น "วัดนางสาว" ในป๎จจุบัน
10
การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย
กีฬาไทยจัดเป็นศิลปวัฒนธรรมไทยแขนงหนึ่งที่มีเอกลักษณ์ มีความงดงามและทรงคุณค่า ซึ่ง
บรรพบุรุษได้ค้นคิด สืบสาน ถ่ายทอดและพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้ การเล่นกีฬาไทยนอกจากจะช่วยให้
ร่างกายได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ สร้างความแข็งแรงและห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บแล้ว กีฬาหลาย
ประเภทยังช่วยให้ผู้เล่นได้ฝึกฝนสมาธิ มีความคิดสร้างสรรค์ มีไหวพริบปฏิภาณ รู้จักแก้ป๎ญหาเฉพาะ
หน้า สามารถหลบหลีกคู่ต่อสู้ได้ กีฬาบางชนิดใช้ผู้เล่นเป็นหมู่คณะ ทาให้ผู้เล่นรู้จักมีความรักความ
สามัคคี ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง มีความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน ตลอดจนเป็นคนมีน้าใจ
เป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ และรู้อภัย
กีฬาไทยที่บรรพชนไทยค้นคิด และถ่ายทอดมาสู่ลูกหลาน บางชนิดกลายเป็นตานานและความ
ทรงจา และบางชนิดยังคงมีการเล่นกันอยู่ แม้ว่าจะถูกปรับเปลี่ยนไปให้ทันยุคสมัยก็ตาม แต่ด้วยความ
สานึกของความเป็นไทย เราควรร่วมกันสนับสนุนและร่วมส่งเสริม ภูมิป๎ญญากีฬาไทย ให้อนุชนรุ่นหลัง
ได้รู้จักและร่วมกันอนุรักษ์ต่อไป
11
20
แข่งขันตักปลาสวยงาม
การแข่งขันตักปลาสวยงาม เป็นการละเล่นที่อยู่คู่กับประเทศไทยมานาน เข้าใจว่าต้นกาเนิดน่าจะมา
จากประเทศญี่ปุุน
นิยมเล่นในงานวัดบ้านเรา และการแข่งขันตักปลาสวยงามนี้ยังได้ถูกดัดแปลงไปเป็นเกมส์ยอดนิยมใน
จอคอมพิวเตอร์ของวัยรุ่นญี่ปุุนด้วยเช่นกัน จนถึงขนาดมีการจัดแข่งด้วย สาหรับในจังหวัดสมุทรสาครนั้นได้
มีการจัดแข่งขันการตักปลาสวยงามขึ้นโดยสานักงานเกษตรจังหวัดในงาน สมุทรสาคร EXPO เป็นประจา
อุปกรณ์การเล่น
1.ไม้ตักปลา
2. ไม้กระดาษตักปลา
12
20
3.กาละมังหรือกระบะพลาสติกใส่ปลา
4.ปลาสวยงาม
5.แก้วพลาสติกสาหรับใส่ปลา
กติกาง่ายๆ ก็คือ
1. ห้ามเอาแก้วพลาสติกลงไปตักปลา หรือจุ่มทั้งใบลงไปในน้าเพื่อต้อนหรือวักปลาเข้าแก้ว
2. ตักปลาด้วยไม้กระดาษ(ซึ่งจะเปื่อยและขาดได้ง่ายเมื่อเปียกน้า) จุ่มลงไปในน้า และก็ช้อนปลาขึ้นมา
3. ถ้าไม้กระดาษขาดหมดจนตักปลาไม่ได้ถือว่าจบเกมส์
4. ผู้ที่ตักปลาได้มากที่สุดเป็นผู้ชนะ
13
20
เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่
สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สาคัญของ
ไทยในกลุ่มหัวเมืองฝุายตะวันตก มีการติดต่อ
ค้าขายกับต่างประเทศ มีหลักฐานชื่อเรียก
ปรากฏในหนังสือชาวต่างประเทศ เช่น ชาว
ฮอลันดาเรียกว่า “พิพรีย์” ชาวฝรั่งเศส
เรียกว่า “พิพพีล์” และ “ฟิฟรี” จึงสันนิษฐาน
กันว่าชื่อ “เมืองพริบพรี” ซึ่งเป็นชื่อเดิมของ
เมืองเพชรบุรี ซึ่งสอดคล้องกับชื่อวัดพริบพลี ที่
เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งของจังหวัด และที่วัดแห่ง
นี้ยังเป็นสถานที่ตั้งเสาชิงช้าอีกด้วย
เพชรบุรี (ศรีชัยวัชรบุรี) เป็นเมืองเก่าแก่มาแต่โบราณ เคยเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ อาณาจักรหนึ่ง บาง
สมัยมีเจ้าผู้ครองนครหรือกษัตริย์ปกครองเป็นอิสระ บางสมัยอาจจะตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรที่เข้มแข็ง
กว่า เจ้าผู้ครองนครได้ส่งเครื่องบรรณาการไปยังเมืองจีนเป็นประจา เพชรบุรีมีปรากฏเป็นหลักฐานมาตั้งแต่
สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เช่น พระปรางค์ 5 ยอด ณ วัดมหาธาตุวรวิหาร และปราสาทหินศิลาแลง ณ วัด
กาแพงแลงเป็นต้น โดยที่มาของชื่อเมืองนั้นอาจเรียกตามตานานที่เล่าสืบกันมาว่าในสมัยโบราณเคยมีแสง
ระยิบระยับในเวลาค่าคืนที่เขาแด่น ทาให้ชาวบ้านเข้าใจว่ามีเพชรพลอยบนเขานั้นจึงพากันไปค้นหาแต่ก็ไม่พบ
จึงได้ออกค้นหาในเวลากลางคืนแล้วใช้ปูนที่ใช้สาหรับกินหมากปูายเป็นตาหนิไว้เพื่อมาค้นหาในเวลากลางวัน
แต่ก็ไม่พบ บ้างก็ว่าเรียกตามชื่อของแม่น้าเพชรบุรี เมืองเพชรบุรีมีศิลปวัตถุมากมาย เป็นหลักฐานที่แสดงว่า
เพชรบุรีเคยเป็นบ้านเมืองที่มีผู้คนอาศัยอยู่เป็นชุมชนถาวรมาตั้งแต่สมัยทวารวดี เช่น ศิลปะปูนป๎้น
เมื่อถึงยุคของอาณาจักรสุโขทัย แม้อาณาจักรสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคาแหงแม้จะมีอานาจครอบคลุม
เพชรบุรี แต่เพชรบุรีก็ยังมีอิสระอยู่มาก สามารถส่งทูตไปจีนได้ ต้นวงศ์ของกษัตริย์เพชรบุรีในช่วงสมัยสุโขทัย
คือ พระพนมทะเลศิริ ผู้เป็นเชื้อสายของพระเจ้าพรหมแห่งเวียงไชยปราการ ราชวงศ์นี้ได้ครองเมืองเพชรบุรีมา
จนถึงสมัยพระเจ้าอู่ทองซึ่งได้เสด็จไปสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี
ในสมัยอยุธยาตอนต้น เพชรบุรีขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยาในแบบศักดินาสวามิภักดิ์มีขุนนางควบคุมเป็นชั้น ๆ
ขึ้นไป แต่หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ อานาจในส่วนกลางมีมากขึ้น
เพชรบุรียังมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกรุงศรีอยุธยา ดังนั้นอานาจจากส่วนกลางจึงมามีส่วนในการปกครอง
เพชรบุรีมากกว่าเดิม
ในสมัยพระมหาธรรมราชา พ.ศ. 2113 พระยาละแวก เจ้าเมืองเขมร ยกกองทัพมาที่อยุธยา มาสู้กับ
กองทัพอยุธยา สู้ไม่ได้ แพ้ หนีไป อีก 5 ปีต่อมา พ.ศ. 2118พระยาละแวกยกทัพเรือมาที่อยุธยาอีก สู้อยุธยา
ไม่ได้อีก ยกกองทัพกลับไป พ.ศ. 2121 ทางเขมรได้ให้พระยาจีนจันตุยกทัพมาตีเมืองเพชรบุรี แต่ชาวเพชรบุรี
ปูองกันเมืองไว้ได้ พ.ศ. 2124 อยุธยาติดพันรบกับกบฏ พระยาละแวกก็เลยชิงยกกองทัพเรือมาเองมีกาลัง
15
20
ประมาณ 7,000 คน เมืองเพชรบุรีจึงตกเป็นของเขมร จนถึงสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงตีเขมรชนะ
เพชรบุรีจึงเป็นอิสระ โดยพ.ศ. 2136 สมเด็จพระนเรศวรฯ พิจารณานิสัย สันดานของเขมรแล้ว เจ็บช้าพระทัย
จึงยกกองทัพไปตีเขมร จับครอบครัวเอาไว้แล้วมาไว้ที่อยุธยา ตัดคอล้างพระบาท เพราะชอบฉกฉวยโอกาส
ขณะที่อยุธยาตีติดทัพที่อื่น แต่พระองค์ท่านยังมีพระเมตตา ให้โอกาสลูกชายคนโตของพระยาละแวก กลับไป
ปกครองเขมรต่อ แล้วให้ระบุว่า จะต้องไม่เป็นกบฏต่ออยุธยา และต้องเป็นเมืองขึ้นของสยามต่อไป และ
เนื่องจากทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีเป็นพิเศษ จึงได้เสด็จมาประทับที่เมืองเพชรบุรีเป็นเวลาถึง 5 ปี ก่อนจะ
ทรงยกทัพใหญ่ไปปราบพม่า และสวรรคตที่เมืองหาง
เจ้าเมืองเพชรบุรีและชาวเมืองเพชรบุรีได้ร่วมเป็นกาลังสาคัญในการต่อสู้กับข้าศึกหลายครั้ง นับตั้งแต่
สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเชษฐาธิราชและสมัยพระเจ้าเอกทัศน์ โดยเฉพาะในสมัยพระเพท
ราชานั้น การปราบปรามเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชซึ่ง แข็งเมือง พระยาเพชรบุรีได้เป็นกาลังสาคัญในการส่ง
เสบียงให้แก่กองทัพฝุายราชสานักอยุธยา อย่างไรก็ดีเมืองเพชรบุรีถูกตีแตกอีกครั้ง เมื่อพม่าโดยมังมหานรธาได้
ยกมาตีไทย จนไทยต้องเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าเป็นครั้งที่ 2 นั่นเอง
เพชรบุรีในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์
ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจนถึงแผ่นดินสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไทยยังคงทา
สงครามกับพม่ามาโดยตลอดซึ่งเจ้าเมืองและชาวเมืองเพชรบุรีก็ยังคงมีส่วนในการทาสงครามดังกล่าว จนเมื่อ
พม่าตกเป็นของอังกฤษ บทบาทของเมืองเพชรบุรีที่มีต่อเมืองหลวงและราชสานักจึงค่อย ๆ เปลี่ยนไป
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีตั้งแต่ครั้งยังทรงผนวชอยู่เมื่อขึ้น
ครองราชย์แล้ว โปรดให้สร้างพระราชวัง วัด และพระเจดีย์ใหญ่ขึ้นบนเขาเตี้ย ๆ ใกล้กับตัวเมืองและ
พระราชทานนามว่า “พระนครคีรี” ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้
สร้างพระราชวังอีกแห่งหนึ่งในตัวเมืองเพชรบุรี คือ “พระรามราชนิเวศน์” หรือที่เรียกกันภาษาชาวบ้านว่า
“วังบ้านปืน” และด้วยความเชื่อที่ว่าอากาศชายทะเลและน้าทะเลอาจบรรเทาอาการเจ็บปุวย
ได้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง “พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน”
ขึ้นที่ชายหาดชะอาเพื่อใช้เป็นที่ประทับรักษาพระองค์
16
20
สถานที่ท่องเที่ยว
จังหวัดเพชรบุรีเป็นจังหวัดที่มีสถานที่ท่องเที่ยวหลากหลายทางธรรมชาติ ทั้งทะเล ภูเขา และยังเป็น
แหล่งรวมศิลปวัฒนธรรมที่สืบทอดกันตั้งแต่โบราณกาล สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจหลายอย่างด้วยกัน เช่น
ชายหาดชะอา หาดปึกเตียน น้าพุร้อนหนองหญ้าปล้อง อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรง
ดาหรือลาวโซ่ง และแหล่งท่องเที่ยวใหม่ที่เป็นที่นิยมของผู้คนที่จะเดินทางไปชายหาดชะอาที่เห็นแล้วต้องแวะ
ถ่ายรูปไปอวดเพื่อนๆ ในโซเชียลมีเดียนั่นก็คือ ฟำร์มแกะแห่งใหม่ใน "ชะอำ" สวิส ชีพ ฟาร์ม (Swiss Sheep
Farm)
นักท่องเที่ยวจะได้พบกับความน่ารักของฝูงแกะ ขนฟู หนานุ่มนับสิบตัว ในบรรยากาศฟาร์มแบบสวิส
ท่ามกลางหุบเขา ที่โอบล้อมสไตล์ฟาร์มแบบยูโรคันทรี มีสนามหญ้าเขียว ๆ รายล้อมด้วยภูเขา
17
20
ที่ Swiss Sheep Farm มีมุมเก๋ ๆ สวย ๆ ให้เลือกถ่ายรูป นอกจากนี้ ยังจะได้เพลิดเพลินไปกับ
การขี่ม้าชมวิวท่ามกลางทุ่งหญ้า และสนุกเต็มอิ่มกับกิจกรรมพิสูจน์รักแท้ที่สนุกสนานและสุดแสนโรแมนติก
และแน่นอนกิจกรรมที่พลาดไม่ได้ คือ การไปเป็น "เด็กเลี้ยงแกะ" ด้วยการให้อาหาร รวมถึงถ่ายรูปคู่
กับน้องแกะไว้เป็นที่ระลึก
18
20
สถานที่เที่ยวใหม่นี้อยู่ ติดถนนเพชรเกษม ก่อนถึงทางเลี้ยวเข้าชะอา จังหวัดเพชรบุรี (ตรงข้ามกับ
Santorini Park) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 032-772494 - 5 หรือ เว็บไซต์ swisssheepfarm.com
และ เฟซบุ๊ก Swiss Sheep Farm
19
20
การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย
จังหวัดเพชรบุรีนั้นมีการละเล่นกีฬาพื้นบ้านที่สืบสานต่อกันมาตั้งแต่ครั้งอดีต หลายชนิดกีฬา ด้วยกัน
อาทิ การแข่งวัวลาน วัวเทียมเกวียน
การแข่งวัวลาน
“วัวลาน” เป็นการเล่นพื้นบ้านหรือกีฬาพื้นบ้านอย่างหนึ่งของชาวจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งได้ รับความนิยม
อย่างสูง จัดเป็นหัวใจของคนท้องถิ่น ด้วยว่า “วัว” เป็นสัตว์ที่คลุกคลีอยู่กับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวบ้าน
มาแต่ครั้งบรรพกาล การแข่งขันวัวลานจึงเป็นกีฬาของลูกผู้ชายชาวเมืองเพชรโดยแท้
การแข่งวัวลาน ได้วิวัฒนาการและเปลี่ยนแปลงมาจากการนวดข้าวของชาวไทยท้องถิ่นซึ่งใช้วัวเดิน
วนนวดข้าวในลานวงกลม วัวของใครมีพละกาลังดี แข็งแรงมากก็จะเดินวนนวดข้าวอยู่รอบนอก วัวตัวใดมี
พละกาลังน้อยก็จะเดินคลุกอยู่วงในชิดเสากลางลาน ต่อมาคงมีการพนันขันต่อสนุกสนานกันขึ้นในวงนวดข้าว
การแข่งขันวัวลานจึงถือกาเนิดขึ้นมาจากประเพณีการนวดข้าวดังกล่าวนี้ สาหรับในจังหวัดเพชรบุรีกล่าวกันว่า
เริ่มมาจากตาบลท่าแร้ง ซึ่งมีชาวอิสลามมาเลี้ยงวัวอยู่มากก่อนตาบลอื่น จากนั้นก็ได้รับความนิยมขยายอาณา
เขตจนนิยมกันไปทั้งเมือง
การแข่งวัวลานนี้ ชาวบ้านจะนาวัวมาวิ่งแข่งกันเป็นวงกลมในลานที่กาหนด โดยมีเสา เกียดซึ่งป๎กอยู่
กลางถนนเป็นศูนย์กลาง ผูกเชือกพรวนของวัวแต่ละตัวเรียงกันตามลาดับ จากใน เสาเกียดออกมาถึงริมลาน
รวมจานวน ๑๙ ตัว ซึ่งเจ้าของพวงวัวแต่ละพวงก็จะตระเตรียมวัวของตนมาทั้งวัวนอกและวัวในหรือวัวรอง
วัวรองหรือวัวใน จะมีทั้งหมด ๑๘ ตัว เป็นส่วนใหญ่ เจ้าของพวงวัวจะผูกวัวตามเชือก พรวนจากเสาเกียดกลาง
ลานออกมา ตัวที่ฝีเท้าจัด แข็งแรง จะอยู่ด้านริมเชือกพรวน เป็นตัวที่ ๑๖, ๑๗, ๑๘ เพื่อเอาไว้วิ่งแข่งกับวัว
นอกของพวงอื่นที่จะนามาทาบประกบเป็นตัวที่ ๑๙
20
20
วัวนอก คือ วัวตัวที่เจ้าของพวงวัวถือว่า
เก่งที่สุด มีกาลังมากและฝีเท้าจัด จะนามาทาบ
กับวัวในของพวงวัวอื่น ผูกทับเป็นตัวที่ ๑๙ อยู่
นอกสุดของลานเพื่อจะได้วิ่งแข่งกันเอาชนะวัว
รอง ให้ได้ในการแข่งขันแต่ละเปิด ซึ่งแน่นอนว่า
วัวตัวนอกสุด จะเป็นวัวที่ต้องวิ่งทา ระยะทางไกล
ที่สุดและมีฝีเท้าจัดที่สุด ถ้าวัวนอกวิ่งแซงวัวรอง
ได้แล้วสามารถลากวัวรองตามไปอย่างไม่เป็น
ขบวนจนดิ้นหลุด ขาดไป นั่นหมายถึงวัวนอกชนะ
แต่ถ้าวัวรองวิ่งแซงนาวัวนอกได้วัวรองก็ชนะไป
แต่ถ้าไม่ สามารถเอาชนะกันได้ก็ถือว่าเสมอ
การแข่งวัวลานนี้ จะแข่งกันในช่วงฤดูแล้ง หรือช่วงเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว และออกพรรษาแล้ว ในช่วง
เข้าพรรษาจะงดการแข่งขันโดยสิ้นเชิง
21
บรรณานุกรม
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.[ม.ป.ป.] “จังหวัดสมุทรปราการ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดสมุทรปราการ. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556).
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.[ม.ป.ป.] “จังหวัดสมุทรสาคร.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดสมุทรสาคร. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556).
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.[ม.ป.ป.] “จังหวัดเพชรบุรี.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดเพชรบุรี. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556).
กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสมุทรปราการ.[ม.ป.ป.] “ข้อมูลทั่วไปของจังหวัด
สมุทรปราการ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.samutprakan.go.th/newweb/index.
php?option=com_content&view=category&id=14&Itemid=12. (สืบค้น 30 พฤษภาคม
2556).
กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสมุทรสาคร.[ม.ป.ป.] “ข้อมูลทั่วไปจังหวัด
สมุทรสาคร.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.samutsakhon.go.th/modular/
basicinfo.html. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556).
กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดเพชรบุรี.[ม.ป.ป.] “ข้อมูลทั่วไปจังหวัดเพชรบุรี.”
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.phetchaburi.go.th/. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556).
เว็บวัวลานดอดคอม เว็บของคนรักวัว.[ม.ป.ป.] “ประวัติสาระของวัวลาน.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.wualan.com/index.php. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556).
กระปุกดอทคอม.[ม.ป.ป.] “Swiss Sheep Farm ฟาร์มแกะสไตล์ยูโรคันทรี.”[ ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก:
http://travel.kapook.com/view43323.html.(สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556).
22
คณะผู้จัดทาหนังสือ แผ่นบันทึกข้อมูล CD พร้อม DVD
กรรมการที่ปรึกษา
นายกิตติ ทองทาบ รองอธิการบดีสถาบันการพลศึกษา ประจาวิทยาเขตสมุทรสาคร
นายสมพงค์ ตั้งพงษ์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายบริหาร
นายปฏินันท์ สืบสันติ ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายวิชาการ
นายมาโนช เอี่ยมประเสริฐ ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายกิจการนักศึกษา
นายสมบูรณ์ ชิวปรีชา ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายกิจการพิเศษ
นายจตุพร ยืนยง ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา
นางสาวยุพาภรณ์ สิงห์ลาพอง รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
พออ.หญิงจินตนา หัตถา รองคณบดีคณะศิลปศาสตร์
นายชลัช ภิรมย์ รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์
ผศ.ตรีวิทย์ องค์ปรีชา หัวหน้าศูนย์กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ
ผศ.รัตนา เพ็ญประยูร หัวหน้าสานักงานรองอธิการบดีฯ
กรรมการดาเนินงาน
นายสมบูรณ์ ชิวปรีชา นางสาวชุติมาพร ภักดี
นายสมพงค์ ตั้งพงษ์ นายจตุพร ยืนยง
นางสาวยุพาภรณ์ สิงห์ลาพอง นายวิทยา ป๎ทมะรางกูล
นายปฏินันท์ สืบสันติ นายเอกชัย ถนัดเดินข่าว
ผศ.รัตนา เพ็ญประยูร นายปรัชญา สภาพงค์
นางเพ็ญพรรณ วิโรจน์ นายจักรกฤช บุญมาศิริ
นายบุญศรี ศิริมา นางวลีพรรณ สว่างอรุณ
นายอาคม บารุงโลก นายไวพจน์ จันทร์เสม
นางปาริชาติ เผือกเล็ก
ผู้สนับสนุนงบประมาณ กองกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ สถาบันการพลศึกษา
กรรมการผู้จัดทา
ฝุายกิจการพิเศษ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
สานักงานรองอธิการบดี สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
ผู้จัดพิมพ์
นายพัฒน์พงษ์ โลหะพิบูลย์ นายพงษ์เพชร โลหะพิบูลย์
นายชนทัต มงคลศิลป์ นางสาวชุติมณฑน์ เปลี่ยนสมัย
สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร

More Related Content

More from Patpong Lohapibool

Company profile media the agency 1
Company profile media the agency 1Company profile media the agency 1
Company profile media the agency 1
Patpong Lohapibool
 

More from Patpong Lohapibool (6)

เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 56
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 56 เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 56
เอกลักษณ์ศิลปะวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น 56
 
The interior design furniture built in knockdown.
The interior design furniture built in knockdown. The interior design furniture built in knockdown.
The interior design furniture built in knockdown.
 
The interior design
The interior designThe interior design
The interior design
 
Company profile media the agency 1
Company profile media the agency 1Company profile media the agency 1
Company profile media the agency 1
 
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 okอนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 55 ok
 
Bizmatchingmagazine vol # 1
Bizmatchingmagazine vol # 1Bizmatchingmagazine vol # 1
Bizmatchingmagazine vol # 1
 

อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบำรุง และเสริมสร้างเอกลักษณ 56

  • 1. อนุรักษ์ พัฒนา ทะนุบารุง และเสริมสร้าง เอกลักษณ์กีฬาไทย และกีฬาพื้นบ้าน สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม นครปฐม เพชรบุรี สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
  • 2. คำนำ สถาบันการพลศึกษา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา เมื่อได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ตาม พระราชบัญญัติสถาบันการพลศึกษา พุทธศักราช 2548 ได้เปลี่ยนสถานะวิทยาลัยพลศึกษาทั้ง 17 แห่ง เป็น วิทยาเขตของสถาบันการพลศึกษา เป็นส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นเทียบเท่าคณะ เริ่มจัดการเรียนการสอน ตามหลักสูตรของสถาบันการพลศึกษา ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2548 เป็นต้นมา ภายใต้การบริหารของสภา สถาบันการพลศึกษา และมีวิสัยทัศน์ คือ เป็นสถาบันการพลศึกษาชั้นนาที่ผลิตและพัฒนาบุคลากรด้านพล ศึกษา กีฬาและสุขภาพ สู่ความเป็นเลิศระดับมาตรฐานสากลอย่างยั่งยืน โดยที่พันธกิจข้อสุดท้ายที่ นอกเหนือจากการผลิตและพัฒนาบุคลากร ส่งเสริมการวิจัยทางพลศึกษา การกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาศาสตร์สุขภาพ นันทนาการและสาขาที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ทั้งยังทานุ บารุงศิลปวัฒนธรรม การละเล่นพื้นบ้านและกีฬาไทยของจังหวัดสมุทรสาคร สมุทรสงคราม สมุทรปราการ นครปฐม และเพชรบุรีอีกด้วย เพื่อให้การดาเนินงาน ตามพันธกิจครบถ้วนสมบูรณ์ และเกิดภาพลักษณ์ที่ชัดเจนกับนักศึกษาของ สถาบันการพลศึกษา เพื่อแสดงถึงความเป็นไทย “มีลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบ เรียบร้อย ความสามัคคี ความก้าวหน้าของชาติและศีลธรรมอันดีของประชาชน” สถาบันการพลศึกษาได้มอบหมายให้ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาครจัดทาโครงการ พัฒนา ทะนุบารุงและสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมขึ้น โดยสนับสนุนการจัดกิจกรรมเกี่ยวกับการอนุ ลักษณ์ พัฒนาทะนุบารุงและสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมของสถาบันการพลศึกษาวิทยาเขต สมุทรสาครเพื่อส่งเสริมพัฒนา ภูมิป๎ญญาบรรพบุรุษ และศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่สืบไป คณะผู้จัดทา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร
  • 3. สารบัญ เรื่อง หน้า จังหวัดสมุทรปราการ …………………………………………………..…….....1 สถานที่ท่องเที่ยว ……………………………………………………….………….5 การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย ……………………………..………………6 จังหวัดสมุทรสาคร ........................................................................8 สถานที่ท่องเที่ยว …………………………………………………………………10 การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย ……………………………………………11 จังหวัดเพชรบุรี ……………………………………………………………………………….14 สถานที่ท่องเที่ยว …………………………………………………………………17 การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย ……………………………..…………….20 บรรณานุกรม ..............................................................................22
  • 4.
  • 5. 2
  • 6. จังหวัดสมุทรปราการ เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติ จัดตั้งจังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนนทบุรี จังหวัดสมุทรสาคร และจังหวัดนครนายก พุทธศักราช 2489 ซึ่งมี ผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม 2489 ในสมัยอยุธยามีชื่อเมืองสมุทรปราการในกฎหมายซึ่งตราขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2178 แต่ตัวเมืองจะตั้งอยู่ที่ใดใน เวลานั้นไม่ปรากฏชัด มีหลักฐานแต่เพียงว่า ที่ปากคลองบางปลากด ฝ๎่งขวาของแม่น้าเจ้าพระยา มีพ่อค้าชาว ฮอลันดามาตั้งห้างพักสินค้าอยู่ ณ ที่นั้น และเมื่อสมเด็จพระเจ้าบรมโกศทรงแต่งสมณทูตไปลังกา กล่าวว่า ออกเรือจากเมืองธนบุรีไปถึงตึกฮอลันดาที่ตาบลบางปลากด แสดงว่า ที่นั่นคงมีผู้คนอาศัยอยู่มาก อาจเป็นตัว เมืองสมุทรปราการในครั้งนั้นก็ได้ ต่อมา เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ. 2310 ปรากฏหลักฐานว่า พม่า ได้มาปล้นบ้านเรือนราษฎรที่ตาบลบางเมืองในเขตเมืองสมุทรปราการด้วย ในสมัยรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยโปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมืองสมุทรปราการบัดนี้ที่ตาบลบางเมืองเมื่อ พ.ศ. 2362 พร้อมกับสร้างปูอมปูองกันเรือของข้าศึกรวม 6 ปูอม และใน พ.ศ. 2366 โปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระ สมุทรเจดีย์บนเกาะกลางน้าด้วย อนึ่ง สมุทรปราการ เรียกกันเป็นสามัญว่า "ปากน้า" เพราะตัวเมืองตั้งอยู่ บริเวณปากแม่น้าเจ้าพระยาฝ๎่งซ้าย ห่างจากปากแม่น้าเข้ามาราว 6 กิโลเมตร 3
  • 7. ป๎จจุบัน จังหวัดสมุทรปราการมีเนื้อที่ 1,004 ตารางกิโลเมตร อาณาเขตทิศเหนือติดต่อกับ กรุงเทพมหานคร และจังหวัดฉะเชิงเทรา, ทิศ ตะวันออกติดต่อกับจังหวัดฉะเชิงเทรา, ทิศใต้จด อ่าวไทย, ทิศตะวันตกติดต่อกับกรุงเทพมหานคร ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มทั้งหมด มีแม่น้า เจ้าพระยาไหลผ่านทางซีกตะวันตกของจังหวัด จาก ทิศเหนือไปทิศใต้ลงสู่อ่าวไทย มีชายฝ๎่งทะเลยาว 47.5 กม. เดิมชายฝ๎่งทะเลมีปุาชายเลนกว้างขวาง เนื่องจากมีตะกอนที่แม่น้าเจ้าพระยานาพามาทับถม กันที่บริเวณปากน้า แต่ป๎จจุบันมีการบุกรุกปุาชาย เลน ทาให้เกิดป๎ญหาการกัดเซาะชายฝ๎่งเป็นบริเวณกว้าง ในด้านเศรษฐกิจ จังหวัดสมุทรปราการมีการ ทานา ประมง และอุตสาหกรรม แหล่งท่องเที่ยว และสถานที่สาคัญ เช่น สนามบินสุวรรณภูมิ พระ สมุทรเจดีย์กลางน้า วัดอโศการาม วัดบางพลีใหญ่ วัดไพชยนต์พลเสพราชวรวิหาร วัดโปรดเกศเชษฐา ราม ศาลพระเสื้อเมือง พิพิธภัณฑ์ทหารเรือ เมือง โบราณ สถานตากอากาศบางปู ปูอมพระ จุลจอมเกล้า สวางคนิวาส ปูอมแผลงไฟฟูา ฟาร์ม จระเข้ การคมนาคมจากกรุงเทพฯ โดยทางหลวงหมายเลข 3 (สุขุมวิท ตอน กรุงเทพฯ-สมุทรปราการ) ระยะทาง 25 กิโลเมตร 4
  • 8. สถานที่ท่องเที่ยว ทะเลบางปู แหล่งท่องเที่ยวเชิง อนุรักษ์ มีทั้งกิจกรรมปลูกปุาชายเลน และขี่ จักรยาน ดูนกกินปลา เพื่อเป็นการส่งเสริม จิตสานึกของประชาชนเกี่ยวกับความสาคัญ ของปุาชายเลน ร่วมใจกันฟื้นฟูและคืนความ สมดุลให้ระบบนิเวศน์ ซึ่งจะส่งผลให้สามารถ ดารงรักษาพื้นที่ปุาไม้ให้คงความสมดุลเพื่อ คนรุ่นใหม่ต่อไป ตามแนวพระราชดาริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระราช เสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ร้านอาหารริมทะเลบางปู จ.สมุทรปราการ เพียงขับรถจากกรุงเทพฯ ประมาณ 40 กิโลเมตร ก็เจอกับ ร้านอาหารริมทะเลบางปู ที่มีเรียงรายหลายร้านให้เลือก ตรงหน้าทางเข้าจะมีปูายบอกเป็นระยะๆ กินอาหาร ทะเลที่นี่นอกจากอาหารจะสดสะอาดและอร่อยแล้วยังได้ดูนก และสูดอากาศบริสุทธิ์ริมฝ๎่งทะเลอ่าวไทยใน บรรยากาศซุ้มริมทะเลแบบเย็นสบายอีกด้วย 5
  • 9. การละเล่นพื้นบ้านไทยและกีฬาไทย สมุทรปราการ เป็นจังหวัดที่มีหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์ได้อพยพเข้ามาตั้งรกรากอยู่ จึงได้นา การละเล่นพื้นบ้านของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์เข้ามาในจังหวัดสมุทรปราการด้วย และเพื่อเป็นการอนุรักษ์วิถีชีวิต พื้นบ้านของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ให้คงอยู่คู่ชุมชนและ ประเพณีมอญรา ที่ถือได้ว่าเป็นศิลปะการแสดงของชาว มอญสมุทรปราการ ซึ่งชาวมอญถือว่าเป็นเอกลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ชนชาติมอญได้เป็นอย่างดี ประเพณีมอญรา เป็นการแสดงออกถึงความอ่อนช้อยงดงามตามลีลาการร่ายราของชาวมอญ การแสดงมอญรานี้ เดิมทีนั้นเป็นการราเพื่อแสดงออกซึ่งความเคารพ และความกตัญํูกตเวที 6
  • 10. จะนิยมแสดงในโอกาสต่าง ๆ ทั้งงานมงคลและ อวมงคล การรานั้นจะมีปี่พาทย์มอญเป็นเครื่อง บรรเลง ผู้ราก็จะราไปตามจังหวะหน้าทับตะโพนในแต่ ละเพลงในแต่ละท่า(ซึ่งป๎จจุบันมีความแตกต่างกันใน เรื่องของท่ารา และมักจะเกิดเป็นข้อถกเถียงกัน อยู่) ศิลปะการราของมอญส่วนมากจะนิยมกระเถิบ เท้า โดยจะไม่ย่างก้าวไปมา เพราะมอญถือว่าการราที่ ไม่ยกหรือไม่ก้าวเท้าดูแล้วเรียบร้อยและเคารพต่อ สถานที่และงานนั้นด้วย การแต่งกายก็จะ เรียบร้อย สวยงาม หญิง นุ่งผ้าถุงยาวถึงข้อเท้า สวม เสื้อแขนกระบอก พาดผ้าสะไบที่ไหล่ซ้าย เกล้าผมมวย ประดับด้วยดอกไม้ การรามอญ เริ่มจากปี่พาทย์เริ่มบรรเลงด้วยเพลง ออก ผู้ราทั้งหมดจะเดินออกมาอย่างเรียบร้อยและ อาจจะไหว้หรือกราบพระ ผู้ชม ปี่พาทย์ หรือถ้าเป็น งานศพก็จะกราบที่ศพด้วย แล้วยืนขึ้นเพื่อรอเข้าเพลงที่ หนึ่ง ในทุก ๆ เพลง ผู้ราจะย่อตัวไปมาโดยยังไม่ตั้งมือก่อนเสมอ จากนั้นจึงจะตั้งมือไปตามเพลง และเมื่อจบเพลงผู้ราก็จะวางมือลงอย่างช้า ๆ ไว้ที่หน้าตัก เพื่อรอ ขึ้นเพลงต่อไป ราไปจนจบทั้ง ๑๒ เพลง (ทางปทุมธานี ใช้ท่ารา ๑๓ ท่ารา) แล้วผู้ราก็จะนั่งลงไหว้หรือกราบ เหมือนตอนก่อนจะรา 7
  • 11.
  • 12. สมุทรสาครเป็นจังหวัดชายทะเล ตั้งอยู่ปากแม่น้าท่าจีน หลักฐานทางประวัติศาสตร์กล่าวไว้ว่าในอดีตมี ชุมชนใหญ่เรียกว่า "บ้านท่าจีน" ตั้งอยู่บริเวณปากอ่าวไทย ในรัชสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิแห่งกรุงศรี อยุธยา (พ.ศ. 2099) พระองค์โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ยกบ้านท่าจีนขึ้นเป็น เมืองสาครบุรี เพื่อเป็นหัว เมืองสาหรับเรียกระดมพลเวลาเกิดสงครามและเป็นเมืองด่านหน้าปูองกันผู้รุกรานทางทะเล ต่อมาในสมัยกรุง รัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 4) โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้เปลี่ยนชื่อเมือง สาครบุรีเป็น เมืองสมุทรสาคร และในปี พ.ศ. 2456 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ได้ โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ทางราชการเปลี่ยนคาว่า "เมือง" เป็น "จังหวัด" ทั่วทุกแห่งในพระ ราชอาณาจักร เมืองสมุทรสาครจึงได้เปลี่ยนเป็น จังหวัดสมุทรสาคร ตั้งแต่บัดนั้นเป็นต้นมาจนถึงทุกวันนี้ อนึ่ง ในปี พ.ศ. 2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้มีพระราชดาริที่จะ สร้างสรรค์ความเจริญให้แก่ท้องถิ่นโดยใช้รูปแบบการปกครองแบบสุขาภิบาล และเมื่อวันที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2448 มีพระบรมราชโองการให้ยกฐานะตาบลท่าฉลอมเป็นสุขาภิบาล เรียกว่า "สุขาภิบาลท่าฉลอม" จึงถือได้ ว่าสุขาภิบาลท่าฉลอมเป็นสุขาภิบาลแห่งแรกในหัวเมืองของประเทศไทย 9
  • 13. สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดสมุทรสาครเป็นจังหวัดชายฝั่งอ่าวไทยที่มีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และทาง ศิลปวัฒนธรรมที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยวหลายแห่งด้วยกัน อาทิ วัดท่าไม้ วัดนางสาว วัดนางสาว ที่ตั้ง : หมู่ที่ 7 ต. ท่าไม้ อ.กระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร การเดินทาง : จากกรุงเทพฯ ใช้ทางหลวงหมายเลข 4 (ถ.เพชร เกษม) แยกขวาเข้าอ้อมน้อย หรือทางหลวงหมายเลข 3091 ไป ราว 5 กม. จะถึงทางแยกเข้าวัดทางขวามือ จากตัวเมืองมหาชัย ใช้ทางหลวงหมายเลข 3091 (ถ.เศรษฐกิจ) ผ่าน อ.กระทุ่มแบน ประมาณ 1 กม. เลี้ยวซ้ายเข้าไปราว 1 กม. ก็จะถึงวัด รถประจาทาง : สาย 402 (สมุทรสาคร-นครปฐม) ที่ท่ารถ บขส. สมุทรสาคร ประวัติ : จากตานานและคาบอกเล่าของชาวบ้านกล่าว ว่า ในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย ได้เกิดสงคราม ระหว่าง กองทัพกรุงศรีอยุธยากับกองทัพพม่า พม่าได้ยกกองทัพเข้ามา รุกรานจนถึงบ้านบางท่าไม้ในเขตอาเภอกระทุ่มแบน พวกผู้ชายออกไปรบเพื่อปูองกันบ้านเมืองกันหมด จึง เหลือ แต่เฉพาะผู้หญิง เด็กและคนชราจึงพากันอพยพหลบหนีภัยสงคราม แต่ในระหว่างทาง ได้ไปพบกับกอง ลาดตระเวน ของทหารพม่าจึงได้พากันเข้าไปหลบซ่อนตัว ในอุโบสถของวัดร้างแห่งหนึ่ง ในจานวนของผู้หนีภัย สงครามทั้งหมดนั้น มีพี่น้องสองสาวคู่หนึ่งได้อธิษฐานกับพระประธาน ว่าถ้าพวกตนสามารถรอดพ้น จากเงื้อม มือของทหารพม่าไปได้ จะกลับมาบูรณะซ่อมแซมวัดแห่งนี้ หลังจากเหตุการณ์สงครามสงบ พี่น้องทั้งสองคนก็ ได้กลับมายังวัดแห่งนี้ ฝุายพี่สาวเห็นว่าสภาพของวัดทรุดโทรมมากควรจะสร้างวัดขึ้น ใหม่จึงได้ไปสร้างวัดใหม่ ขึ้นเรียกชื่อว่า "วัดกกเตย" (ป๎จจุบันวัดนี้ล่มลงในน้าหมดแล้ว) แต่น้องสาวต้อง การกระทาตามสัจจาธิษฐาน ของตน จึงได้ดาเนินการบูรณะจนแล้วเสร็จและตั้งชื่อว่า "วัดพรหมจารีย์ราม" ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น "วัด น้องสาว" และได้เพี้ยนมาเป็น "วัดนางสาว" ในป๎จจุบัน 10
  • 14. การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย กีฬาไทยจัดเป็นศิลปวัฒนธรรมไทยแขนงหนึ่งที่มีเอกลักษณ์ มีความงดงามและทรงคุณค่า ซึ่ง บรรพบุรุษได้ค้นคิด สืบสาน ถ่ายทอดและพัฒนามาจนถึงทุกวันนี้ การเล่นกีฬาไทยนอกจากจะช่วยให้ ร่างกายได้เคลื่อนไหวกล้ามเนื้อ สร้างความแข็งแรงและห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บแล้ว กีฬาหลาย ประเภทยังช่วยให้ผู้เล่นได้ฝึกฝนสมาธิ มีความคิดสร้างสรรค์ มีไหวพริบปฏิภาณ รู้จักแก้ป๎ญหาเฉพาะ หน้า สามารถหลบหลีกคู่ต่อสู้ได้ กีฬาบางชนิดใช้ผู้เล่นเป็นหมู่คณะ ทาให้ผู้เล่นรู้จักมีความรักความ สามัคคี ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง มีความเป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน ตลอดจนเป็นคนมีน้าใจ เป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ และรู้อภัย กีฬาไทยที่บรรพชนไทยค้นคิด และถ่ายทอดมาสู่ลูกหลาน บางชนิดกลายเป็นตานานและความ ทรงจา และบางชนิดยังคงมีการเล่นกันอยู่ แม้ว่าจะถูกปรับเปลี่ยนไปให้ทันยุคสมัยก็ตาม แต่ด้วยความ สานึกของความเป็นไทย เราควรร่วมกันสนับสนุนและร่วมส่งเสริม ภูมิป๎ญญากีฬาไทย ให้อนุชนรุ่นหลัง ได้รู้จักและร่วมกันอนุรักษ์ต่อไป 11 20
  • 15. แข่งขันตักปลาสวยงาม การแข่งขันตักปลาสวยงาม เป็นการละเล่นที่อยู่คู่กับประเทศไทยมานาน เข้าใจว่าต้นกาเนิดน่าจะมา จากประเทศญี่ปุุน นิยมเล่นในงานวัดบ้านเรา และการแข่งขันตักปลาสวยงามนี้ยังได้ถูกดัดแปลงไปเป็นเกมส์ยอดนิยมใน จอคอมพิวเตอร์ของวัยรุ่นญี่ปุุนด้วยเช่นกัน จนถึงขนาดมีการจัดแข่งด้วย สาหรับในจังหวัดสมุทรสาครนั้นได้ มีการจัดแข่งขันการตักปลาสวยงามขึ้นโดยสานักงานเกษตรจังหวัดในงาน สมุทรสาคร EXPO เป็นประจา อุปกรณ์การเล่น 1.ไม้ตักปลา 2. ไม้กระดาษตักปลา 12 20
  • 16. 3.กาละมังหรือกระบะพลาสติกใส่ปลา 4.ปลาสวยงาม 5.แก้วพลาสติกสาหรับใส่ปลา กติกาง่ายๆ ก็คือ 1. ห้ามเอาแก้วพลาสติกลงไปตักปลา หรือจุ่มทั้งใบลงไปในน้าเพื่อต้อนหรือวักปลาเข้าแก้ว 2. ตักปลาด้วยไม้กระดาษ(ซึ่งจะเปื่อยและขาดได้ง่ายเมื่อเปียกน้า) จุ่มลงไปในน้า และก็ช้อนปลาขึ้นมา 3. ถ้าไม้กระดาษขาดหมดจนตักปลาไม่ได้ถือว่าจบเกมส์ 4. ผู้ที่ตักปลาได้มากที่สุดเป็นผู้ชนะ 13 20
  • 17.
  • 18. เพชรบุรีเป็นเมืองที่เคยรุ่งเรืองมาตั้งแต่ สมัยโบราณและเป็นเมืองหน้าด่านที่สาคัญของ ไทยในกลุ่มหัวเมืองฝุายตะวันตก มีการติดต่อ ค้าขายกับต่างประเทศ มีหลักฐานชื่อเรียก ปรากฏในหนังสือชาวต่างประเทศ เช่น ชาว ฮอลันดาเรียกว่า “พิพรีย์” ชาวฝรั่งเศส เรียกว่า “พิพพีล์” และ “ฟิฟรี” จึงสันนิษฐาน กันว่าชื่อ “เมืองพริบพรี” ซึ่งเป็นชื่อเดิมของ เมืองเพชรบุรี ซึ่งสอดคล้องกับชื่อวัดพริบพลี ที่ เป็นวัดเก่าแก่วัดหนึ่งของจังหวัด และที่วัดแห่ง นี้ยังเป็นสถานที่ตั้งเสาชิงช้าอีกด้วย เพชรบุรี (ศรีชัยวัชรบุรี) เป็นเมืองเก่าแก่มาแต่โบราณ เคยเป็นอาณาจักรเล็ก ๆ อาณาจักรหนึ่ง บาง สมัยมีเจ้าผู้ครองนครหรือกษัตริย์ปกครองเป็นอิสระ บางสมัยอาจจะตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรที่เข้มแข็ง กว่า เจ้าผู้ครองนครได้ส่งเครื่องบรรณาการไปยังเมืองจีนเป็นประจา เพชรบุรีมีปรากฏเป็นหลักฐานมาตั้งแต่ สมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 เช่น พระปรางค์ 5 ยอด ณ วัดมหาธาตุวรวิหาร และปราสาทหินศิลาแลง ณ วัด กาแพงแลงเป็นต้น โดยที่มาของชื่อเมืองนั้นอาจเรียกตามตานานที่เล่าสืบกันมาว่าในสมัยโบราณเคยมีแสง ระยิบระยับในเวลาค่าคืนที่เขาแด่น ทาให้ชาวบ้านเข้าใจว่ามีเพชรพลอยบนเขานั้นจึงพากันไปค้นหาแต่ก็ไม่พบ จึงได้ออกค้นหาในเวลากลางคืนแล้วใช้ปูนที่ใช้สาหรับกินหมากปูายเป็นตาหนิไว้เพื่อมาค้นหาในเวลากลางวัน แต่ก็ไม่พบ บ้างก็ว่าเรียกตามชื่อของแม่น้าเพชรบุรี เมืองเพชรบุรีมีศิลปวัตถุมากมาย เป็นหลักฐานที่แสดงว่า เพชรบุรีเคยเป็นบ้านเมืองที่มีผู้คนอาศัยอยู่เป็นชุมชนถาวรมาตั้งแต่สมัยทวารวดี เช่น ศิลปะปูนป๎้น เมื่อถึงยุคของอาณาจักรสุโขทัย แม้อาณาจักรสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคาแหงแม้จะมีอานาจครอบคลุม เพชรบุรี แต่เพชรบุรีก็ยังมีอิสระอยู่มาก สามารถส่งทูตไปจีนได้ ต้นวงศ์ของกษัตริย์เพชรบุรีในช่วงสมัยสุโขทัย คือ พระพนมทะเลศิริ ผู้เป็นเชื้อสายของพระเจ้าพรหมแห่งเวียงไชยปราการ ราชวงศ์นี้ได้ครองเมืองเพชรบุรีมา จนถึงสมัยพระเจ้าอู่ทองซึ่งได้เสด็จไปสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในสมัยอยุธยาตอนต้น เพชรบุรีขึ้นต่อกรุงศรีอยุธยาในแบบศักดินาสวามิภักดิ์มีขุนนางควบคุมเป็นชั้น ๆ ขึ้นไป แต่หลังจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ อานาจในส่วนกลางมีมากขึ้น เพชรบุรียังมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกรุงศรีอยุธยา ดังนั้นอานาจจากส่วนกลางจึงมามีส่วนในการปกครอง เพชรบุรีมากกว่าเดิม ในสมัยพระมหาธรรมราชา พ.ศ. 2113 พระยาละแวก เจ้าเมืองเขมร ยกกองทัพมาที่อยุธยา มาสู้กับ กองทัพอยุธยา สู้ไม่ได้ แพ้ หนีไป อีก 5 ปีต่อมา พ.ศ. 2118พระยาละแวกยกทัพเรือมาที่อยุธยาอีก สู้อยุธยา ไม่ได้อีก ยกกองทัพกลับไป พ.ศ. 2121 ทางเขมรได้ให้พระยาจีนจันตุยกทัพมาตีเมืองเพชรบุรี แต่ชาวเพชรบุรี ปูองกันเมืองไว้ได้ พ.ศ. 2124 อยุธยาติดพันรบกับกบฏ พระยาละแวกก็เลยชิงยกกองทัพเรือมาเองมีกาลัง 15 20
  • 19. ประมาณ 7,000 คน เมืองเพชรบุรีจึงตกเป็นของเขมร จนถึงสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงตีเขมรชนะ เพชรบุรีจึงเป็นอิสระ โดยพ.ศ. 2136 สมเด็จพระนเรศวรฯ พิจารณานิสัย สันดานของเขมรแล้ว เจ็บช้าพระทัย จึงยกกองทัพไปตีเขมร จับครอบครัวเอาไว้แล้วมาไว้ที่อยุธยา ตัดคอล้างพระบาท เพราะชอบฉกฉวยโอกาส ขณะที่อยุธยาตีติดทัพที่อื่น แต่พระองค์ท่านยังมีพระเมตตา ให้โอกาสลูกชายคนโตของพระยาละแวก กลับไป ปกครองเขมรต่อ แล้วให้ระบุว่า จะต้องไม่เป็นกบฏต่ออยุธยา และต้องเป็นเมืองขึ้นของสยามต่อไป และ เนื่องจากทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีเป็นพิเศษ จึงได้เสด็จมาประทับที่เมืองเพชรบุรีเป็นเวลาถึง 5 ปี ก่อนจะ ทรงยกทัพใหญ่ไปปราบพม่า และสวรรคตที่เมืองหาง เจ้าเมืองเพชรบุรีและชาวเมืองเพชรบุรีได้ร่วมเป็นกาลังสาคัญในการต่อสู้กับข้าศึกหลายครั้ง นับตั้งแต่ สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเชษฐาธิราชและสมัยพระเจ้าเอกทัศน์ โดยเฉพาะในสมัยพระเพท ราชานั้น การปราบปรามเจ้าเมืองนครศรีธรรมราชซึ่ง แข็งเมือง พระยาเพชรบุรีได้เป็นกาลังสาคัญในการส่ง เสบียงให้แก่กองทัพฝุายราชสานักอยุธยา อย่างไรก็ดีเมืองเพชรบุรีถูกตีแตกอีกครั้ง เมื่อพม่าโดยมังมหานรธาได้ ยกมาตีไทย จนไทยต้องเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าเป็นครั้งที่ 2 นั่นเอง เพชรบุรีในสมัยกรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจนถึงแผ่นดินสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไทยยังคงทา สงครามกับพม่ามาโดยตลอดซึ่งเจ้าเมืองและชาวเมืองเพชรบุรีก็ยังคงมีส่วนในการทาสงครามดังกล่าว จนเมื่อ พม่าตกเป็นของอังกฤษ บทบาทของเมืองเพชรบุรีที่มีต่อเมืองหลวงและราชสานักจึงค่อย ๆ เปลี่ยนไป พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงโปรดปรานเมืองเพชรบุรีตั้งแต่ครั้งยังทรงผนวชอยู่เมื่อขึ้น ครองราชย์แล้ว โปรดให้สร้างพระราชวัง วัด และพระเจดีย์ใหญ่ขึ้นบนเขาเตี้ย ๆ ใกล้กับตัวเมืองและ พระราชทานนามว่า “พระนครคีรี” ต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ สร้างพระราชวังอีกแห่งหนึ่งในตัวเมืองเพชรบุรี คือ “พระรามราชนิเวศน์” หรือที่เรียกกันภาษาชาวบ้านว่า “วังบ้านปืน” และด้วยความเชื่อที่ว่าอากาศชายทะเลและน้าทะเลอาจบรรเทาอาการเจ็บปุวย ได้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างพระราชวัง “พระราชนิเวศน์มฤคทายวัน” ขึ้นที่ชายหาดชะอาเพื่อใช้เป็นที่ประทับรักษาพระองค์ 16 20
  • 20. สถานที่ท่องเที่ยว จังหวัดเพชรบุรีเป็นจังหวัดที่มีสถานที่ท่องเที่ยวหลากหลายทางธรรมชาติ ทั้งทะเล ภูเขา และยังเป็น แหล่งรวมศิลปวัฒนธรรมที่สืบทอดกันตั้งแต่โบราณกาล สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจหลายอย่างด้วยกัน เช่น ชายหาดชะอา หาดปึกเตียน น้าพุร้อนหนองหญ้าปล้อง อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน ศูนย์วัฒนธรรมไทยทรง ดาหรือลาวโซ่ง และแหล่งท่องเที่ยวใหม่ที่เป็นที่นิยมของผู้คนที่จะเดินทางไปชายหาดชะอาที่เห็นแล้วต้องแวะ ถ่ายรูปไปอวดเพื่อนๆ ในโซเชียลมีเดียนั่นก็คือ ฟำร์มแกะแห่งใหม่ใน "ชะอำ" สวิส ชีพ ฟาร์ม (Swiss Sheep Farm) นักท่องเที่ยวจะได้พบกับความน่ารักของฝูงแกะ ขนฟู หนานุ่มนับสิบตัว ในบรรยากาศฟาร์มแบบสวิส ท่ามกลางหุบเขา ที่โอบล้อมสไตล์ฟาร์มแบบยูโรคันทรี มีสนามหญ้าเขียว ๆ รายล้อมด้วยภูเขา 17 20
  • 21. ที่ Swiss Sheep Farm มีมุมเก๋ ๆ สวย ๆ ให้เลือกถ่ายรูป นอกจากนี้ ยังจะได้เพลิดเพลินไปกับ การขี่ม้าชมวิวท่ามกลางทุ่งหญ้า และสนุกเต็มอิ่มกับกิจกรรมพิสูจน์รักแท้ที่สนุกสนานและสุดแสนโรแมนติก และแน่นอนกิจกรรมที่พลาดไม่ได้ คือ การไปเป็น "เด็กเลี้ยงแกะ" ด้วยการให้อาหาร รวมถึงถ่ายรูปคู่ กับน้องแกะไว้เป็นที่ระลึก 18 20
  • 22. สถานที่เที่ยวใหม่นี้อยู่ ติดถนนเพชรเกษม ก่อนถึงทางเลี้ยวเข้าชะอา จังหวัดเพชรบุรี (ตรงข้ามกับ Santorini Park) สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ 032-772494 - 5 หรือ เว็บไซต์ swisssheepfarm.com และ เฟซบุ๊ก Swiss Sheep Farm 19 20
  • 23. การละเล่น และกีฬาพื้นบ้านไทย จังหวัดเพชรบุรีนั้นมีการละเล่นกีฬาพื้นบ้านที่สืบสานต่อกันมาตั้งแต่ครั้งอดีต หลายชนิดกีฬา ด้วยกัน อาทิ การแข่งวัวลาน วัวเทียมเกวียน การแข่งวัวลาน “วัวลาน” เป็นการเล่นพื้นบ้านหรือกีฬาพื้นบ้านอย่างหนึ่งของชาวจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งได้ รับความนิยม อย่างสูง จัดเป็นหัวใจของคนท้องถิ่น ด้วยว่า “วัว” เป็นสัตว์ที่คลุกคลีอยู่กับวิถีชีวิต ความเป็นอยู่ของชาวบ้าน มาแต่ครั้งบรรพกาล การแข่งขันวัวลานจึงเป็นกีฬาของลูกผู้ชายชาวเมืองเพชรโดยแท้ การแข่งวัวลาน ได้วิวัฒนาการและเปลี่ยนแปลงมาจากการนวดข้าวของชาวไทยท้องถิ่นซึ่งใช้วัวเดิน วนนวดข้าวในลานวงกลม วัวของใครมีพละกาลังดี แข็งแรงมากก็จะเดินวนนวดข้าวอยู่รอบนอก วัวตัวใดมี พละกาลังน้อยก็จะเดินคลุกอยู่วงในชิดเสากลางลาน ต่อมาคงมีการพนันขันต่อสนุกสนานกันขึ้นในวงนวดข้าว การแข่งขันวัวลานจึงถือกาเนิดขึ้นมาจากประเพณีการนวดข้าวดังกล่าวนี้ สาหรับในจังหวัดเพชรบุรีกล่าวกันว่า เริ่มมาจากตาบลท่าแร้ง ซึ่งมีชาวอิสลามมาเลี้ยงวัวอยู่มากก่อนตาบลอื่น จากนั้นก็ได้รับความนิยมขยายอาณา เขตจนนิยมกันไปทั้งเมือง การแข่งวัวลานนี้ ชาวบ้านจะนาวัวมาวิ่งแข่งกันเป็นวงกลมในลานที่กาหนด โดยมีเสา เกียดซึ่งป๎กอยู่ กลางถนนเป็นศูนย์กลาง ผูกเชือกพรวนของวัวแต่ละตัวเรียงกันตามลาดับ จากใน เสาเกียดออกมาถึงริมลาน รวมจานวน ๑๙ ตัว ซึ่งเจ้าของพวงวัวแต่ละพวงก็จะตระเตรียมวัวของตนมาทั้งวัวนอกและวัวในหรือวัวรอง วัวรองหรือวัวใน จะมีทั้งหมด ๑๘ ตัว เป็นส่วนใหญ่ เจ้าของพวงวัวจะผูกวัวตามเชือก พรวนจากเสาเกียดกลาง ลานออกมา ตัวที่ฝีเท้าจัด แข็งแรง จะอยู่ด้านริมเชือกพรวน เป็นตัวที่ ๑๖, ๑๗, ๑๘ เพื่อเอาไว้วิ่งแข่งกับวัว นอกของพวงอื่นที่จะนามาทาบประกบเป็นตัวที่ ๑๙ 20 20
  • 24. วัวนอก คือ วัวตัวที่เจ้าของพวงวัวถือว่า เก่งที่สุด มีกาลังมากและฝีเท้าจัด จะนามาทาบ กับวัวในของพวงวัวอื่น ผูกทับเป็นตัวที่ ๑๙ อยู่ นอกสุดของลานเพื่อจะได้วิ่งแข่งกันเอาชนะวัว รอง ให้ได้ในการแข่งขันแต่ละเปิด ซึ่งแน่นอนว่า วัวตัวนอกสุด จะเป็นวัวที่ต้องวิ่งทา ระยะทางไกล ที่สุดและมีฝีเท้าจัดที่สุด ถ้าวัวนอกวิ่งแซงวัวรอง ได้แล้วสามารถลากวัวรองตามไปอย่างไม่เป็น ขบวนจนดิ้นหลุด ขาดไป นั่นหมายถึงวัวนอกชนะ แต่ถ้าวัวรองวิ่งแซงนาวัวนอกได้วัวรองก็ชนะไป แต่ถ้าไม่ สามารถเอาชนะกันได้ก็ถือว่าเสมอ การแข่งวัวลานนี้ จะแข่งกันในช่วงฤดูแล้ง หรือช่วงเก็บเกี่ยวข้าวแล้ว และออกพรรษาแล้ว ในช่วง เข้าพรรษาจะงดการแข่งขันโดยสิ้นเชิง 21
  • 25. บรรณานุกรม วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.[ม.ป.ป.] “จังหวัดสมุทรปราการ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดสมุทรปราการ. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556). วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.[ม.ป.ป.] “จังหวัดสมุทรสาคร.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดสมุทรสาคร. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556). วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.[ม.ป.ป.] “จังหวัดเพชรบุรี.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/จังหวัดเพชรบุรี. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556). กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสมุทรปราการ.[ม.ป.ป.] “ข้อมูลทั่วไปของจังหวัด สมุทรปราการ.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.samutprakan.go.th/newweb/index. php?option=com_content&view=category&id=14&Itemid=12. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556). กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศ และการสื่อสาร สานักงานจังหวัดสมุทรสาคร.[ม.ป.ป.] “ข้อมูลทั่วไปจังหวัด สมุทรสาคร.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.samutsakhon.go.th/modular/ basicinfo.html. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556). กลุ่มงานข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สานักงานจังหวัดเพชรบุรี.[ม.ป.ป.] “ข้อมูลทั่วไปจังหวัดเพชรบุรี.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.phetchaburi.go.th/. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556). เว็บวัวลานดอดคอม เว็บของคนรักวัว.[ม.ป.ป.] “ประวัติสาระของวัวลาน.” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.wualan.com/index.php. (สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556). กระปุกดอทคอม.[ม.ป.ป.] “Swiss Sheep Farm ฟาร์มแกะสไตล์ยูโรคันทรี.”[ ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก: http://travel.kapook.com/view43323.html.(สืบค้น 30 พฤษภาคม 2556). 22
  • 26. คณะผู้จัดทาหนังสือ แผ่นบันทึกข้อมูล CD พร้อม DVD กรรมการที่ปรึกษา นายกิตติ ทองทาบ รองอธิการบดีสถาบันการพลศึกษา ประจาวิทยาเขตสมุทรสาคร นายสมพงค์ ตั้งพงษ์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายบริหาร นายปฏินันท์ สืบสันติ ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายวิชาการ นายมาโนช เอี่ยมประเสริฐ ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายกิจการนักศึกษา นายสมบูรณ์ ชิวปรีชา ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายกิจการพิเศษ นายจตุพร ยืนยง ผู้ช่วยอธิการบดีฝุายวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา นางสาวยุพาภรณ์ สิงห์ลาพอง รองคณบดีคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ พออ.หญิงจินตนา หัตถา รองคณบดีคณะศิลปศาสตร์ นายชลัช ภิรมย์ รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ ผศ.ตรีวิทย์ องค์ปรีชา หัวหน้าศูนย์กีฬาเพื่อความเป็นเลิศ ผศ.รัตนา เพ็ญประยูร หัวหน้าสานักงานรองอธิการบดีฯ กรรมการดาเนินงาน นายสมบูรณ์ ชิวปรีชา นางสาวชุติมาพร ภักดี นายสมพงค์ ตั้งพงษ์ นายจตุพร ยืนยง นางสาวยุพาภรณ์ สิงห์ลาพอง นายวิทยา ป๎ทมะรางกูล นายปฏินันท์ สืบสันติ นายเอกชัย ถนัดเดินข่าว ผศ.รัตนา เพ็ญประยูร นายปรัชญา สภาพงค์ นางเพ็ญพรรณ วิโรจน์ นายจักรกฤช บุญมาศิริ นายบุญศรี ศิริมา นางวลีพรรณ สว่างอรุณ นายอาคม บารุงโลก นายไวพจน์ จันทร์เสม นางปาริชาติ เผือกเล็ก ผู้สนับสนุนงบประมาณ กองกิจการนักศึกษาและกิจการพิเศษ สถาบันการพลศึกษา กรรมการผู้จัดทา ฝุายกิจการพิเศษ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร สานักงานรองอธิการบดี สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสมุทรสาคร ผู้จัดพิมพ์ นายพัฒน์พงษ์ โลหะพิบูลย์ นายพงษ์เพชร โลหะพิบูลย์ นายชนทัต มงคลศิลป์ นางสาวชุติมณฑน์ เปลี่ยนสมัย