SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 1
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 2
ประวัตินาฏศิลปไทย
กําเนิดนาฏศิลปไทย
ประเทศไทยมีประเพณีแบบอยางทางศิลปะการแสดงมาชานาน ซึ่งไดผานมาหลาย
ศตวรรษและหลายชั่วอายุคน การถายทอดศิลปะนี้ไดผานมาหลายทาง จากที่เปนคําพูด จน
ถายทอดมาเปนเอกสารจากเรื่องราวตางๆ จนมาเปนกิจกรรมทางการศึกษาอยางมีระบบ แตกระนั้น
ประเพณีทางศิลปะของการแสดงนี้ก็ไดผานจากยุครุงเรืองและยุคเสื่อม
นาฏศิลปไทยเปนสวนหนึ่งของการแสแหงการกแสดงออกทางวัฒนธรรมที่สําคัญ และ
ยังเปนสิ่งสําคัญอยางมากตอชีวิตประจําวันและวิถีชีวิตของชาวไทย ไมใชเปนความบันเทิงเพียง
อยางเดียว แตยังเปนสวนหนึ่งของพิธีกรรมที่สําคัญและเกี่ยวของกับศาสนาและกลุมสังคมหลาย
กลุม โดยแทจริงแลวนาฏศิลปไทยนั้นสามารถที่จะบรรยายลักษณะเฉพาะตัวและยังสามารถที่จะ
สะทอนใหเห็นถึงลักษณะของสังคมไทยที่แตกตางจากที่อื่น ๆ โดยเฉพาะ ดังนั้นเราสามารถสังเกตได
วานาฏศิลปของไทยจะสะทอนใหเห็นถึงลักษณะที่จะบงบอกใหเห็นถึงความเปนไทย
ประเทศไทยตั้งอยูทางตอนกลางของทวีปเอเชียอาคเนย โดยอยูในแนวเสนทางการ
พาณิชย ประเทศไทยจึงมีวัฒนธรรมที่หลากหลายจากทางตะวันตก และทางตะวันออก วัฒนธรรม
เหลานี้ไดหลั่งไหลเขาสูประเทศไทย ซึ่งมีผลทําใหรูปแบบทางประเพณีและศิลปะมีความแตกตางกัน
ไป
นาฏศิลปไทยนั้นสามารถจะสืบคนหาถึงความเปนมาไดวามีมาตั้งแตเริ่มตน
ประวัติศาสตร
ชาติไทย สิ่งที่นําเสนอออกมาถายทอดผานการแสดงนาฏศิลปไทยนั้น ทําใหเราเห็นวัตถุในทางศิลป
ที่มนุษยไดสรางสรรคขึ้นมา ทั้งวรรณคดี ประติมากรรม จิตรกรรม เปนตน ในแตละยุคของ
ประวัติศาสตรไทยไดเผยใหเห็นถึงสิ่งมาชีวิตที่มีอยู รวมถึงความเจริญของมรดกทางวัฒนธรรมไทย
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 3
ความหมายของนาฏศิลป
คําวา “นาฏศิลป” เปนคําสมาส แยกไดเปน 2 คํา คือ คําวา “นาฏ” และ “ศิลป”
นาฏ หมายถึง การรายรํา และการเคลื่อนไหวไปมา สันสกฤตใชรูปศัพทคํา
วา “นฤตย” ภาษามคธ ใชคําวา “นจฺจ” และ “นฤตฺย” เปนชื่ออยางหนึ่งของการฟอนรํา
บวงสรวงพระผูเปนเทวาลัย โดยเลือกเอาจังหวะและทารําที่เต็มไปดวยทาเคารพสักการะ และเลือก
แสดงตอนที่เปนการกระทํานับเนื่องในชีวประวัติของพระผูเปนเจาดวย สวนคําวา “นิจฺจ” มี
คําอธิบายเพิ่มอีก ไดแก การฟอนรํา นับตั้งแตการฟอนรําพื้นเมืองของชาวบาน เชน รํา
โทน ตลอดจนไปถึงการฟอนที่เรียกวา ระบําของนางรํา (ที่กลาวถึงในกฎหมายเกา) ระบํา
เดี่ยว ระบําคู ระบําชุด หรือระบําของนางนัจจะ ซึ่งมีอยูในอินเดียจนบัดนี้
ศิลปะ ความหมายของศิลปะกลางออกไปตามความคิด และแตละแขนงสาขา ซึ่งจะ
กําหนดแนนอนไมได เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ในสมัยแรก ๆ ศิลปะหมายถึงการชางทั่ว
ๆ ไป ตองใชฝมือปฏิบัติโดยอาศัยมือ ความคิด และความชํานาญในการที่จะประกอบวัตถุนั้น ๆ
ใหเกิดความงดงาม ประณีต ละเอียดออน กอใหเกิดความรูสึกยินดีชื่นชมและเปนที่ประทับใจแกผู
ที่ไดพบเห็น
ศิลปะ อาจหมายถึงการแสดงออกเพื่อสนองความตองการทางอารมณ การ
ลอกเลียนแบบ การถายทอดความหมายตาง ๆ หรือเปนสิ่งที่มนุษยเกิดจินตนาการในอันที่จะแสดง
คุณคาแหงความงอกงามออกมาในรูปแบบตาง ๆ หรือไดพบเห็นจากธรรมชาติแลวนํามาดัดแปลง
ประดิษฐขึ้นใหมีความวิจิตรละเอียดออนซาบซึ้ง
ศิลปะ คือ สิ่งที่มนุษยสรางสรรคขึ้นโดยดัดแปลงจากธรรมชาติใหประณีตสวยงาม
ศิลปะนั้นยอมเกิดขึ้นไดทุกขณะ ธรรมชาติเปนสวนหนึ่งที่จะนําศิลปะอันสูงสงปรากฏ
แกมวลมนุษย คือ เปนแรงบันดาลใจ ศิลปะที่เกิดขึ้นนั้นจะตองใหความเพลิดเพลิน นิยม
ยินดี ซาบซึ้งแกผูดูและผูชม รวมทั้งความคิด สติปญญา ความงามทางดานสุนทรียภาพ
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 4
ศิลปะ เปนคําภาษาสันสกฤต (ส.ศิลฺป ป.สิปฺป มีฝมือยอดเยี่ยม) ซึ่งหมายถึงการ
แสดงออกมาใหปรากฏขึ้นอยางงดงามนาพึงชมกอใหเกิดอารมณสะเทือนใจ ตรงกับคํา
ภาษาอังกฤษวา “ARTS”
ศิลปะอาจแบงแยกออกตามความสําคัญไดดังนี้
1. วิจิตรศิลป หรือประณีตศิลป (FINE ARTS) เปนศิลปะแหงความสุขที่มุงหมาย เพื่อ
ชวยสนองความตองการทางอารมณ จิตใจ และสติปญญา กอใหเกิดความสะเทือนใจ นับเปน
ศิลปะที่บริสุทธิ์ที่สรางสรรคจากสติปญญาจิตใจ รวมกับความเจริญทางดานสุนทรียภาพของศิลปน
แตละคน แสดงออกโดยใชฝมือเปนสวนใหญ แบงออกเปน 5 ประเภทคือ
1. วรรณกรรม (LITERATURE)
2. ดนตรีและนาฏศิลป (MUSIC AND DRAMA)
3. จิตรกรรม (PAINTING)
4. ปฏิมากรรม หรือ ประติมากรรม (SCULPTURE)
5. สถาปตยกรรม (ARCHITECTURE)
วิจิตรศิลปทั้ง 5 ประเภทนี้กอใหเกิดอารมณและพุทธิปญญา กลาวคือ มนุษยอาศัย
ศิลปะเพื่อแสวงหาความดี และความบันเทิงใจใหกับจิตใจคน เห็นคุณคาทางศาสนาและ
วรรณคดี ความงามสงาแหงสถาปตยกรรม บังเกิดความพอใจและมีอารมณคลอยตามไปกับ
ความรูสึกนึกคิดของเรื่องราวและการแสดงออกของศิลปน
2. ประยุกตศิลป (APPLIED ARTS) เปนศิลปะแหงอัตถะประโยชน เพื่อสนองความ
ตองการทางอารมณ และดานวัสดุที่กาวหนา โดยนําไปใชประโยชนเกี่ยวกับหัตถกรรมและโภค
ภัณฑ เชน เครื่องใชภายในบาน การประดิษฐเครื่องแตงกาย อาหาร ซึ่งศิลปะนี้อาจประดิษฐขึ้น
ดวยเครื่องมือ หรือเครื่องจักร
3. มัณฑนศิลป (DECORATIVE ARTS) เปนศิลปะแหงการตกแตงประดับประดา เชน
การตกแตงสวน อาคาร สถานที่ตาง ๆ หองรับแขก โดยใชศิลปะในการตกแตงในสถานที่หรือ
อาคารนั้น มีความงามสงเสริมทางดานจิตใจและอารมณ
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 5
4. อุตสาหกรรมศิลป หรือ พาณิชยศิลป (INDUSTAIL OR COMMERCAIL ARTS)
เปนศิลปะที่สรางขึ้นเพื่อประโยชนใชสอยสวนใหญ ทําเปนอุตสาหกรรมในครอบครัว หรือใน
โรงงาน อันเปนผิตผลเพื่อการเงิน เชน การปนรูปตาง ๆ การผลิตเครื่องปนดินเผา งานไม งาน
โลหะ เปนตน สวนดานพาณิชยศิลปนั้น คือศิลปะเกี่ยวกับการคา ซึ่งตองพยายามออกแบบให
เหมาะสมและถูกรสนิยมของประชาชน ทําใหเกิดความตองการซื้อ ไดแก ศิลปะการโฆษณา การ
จัดตูโชว ภาพโปสเตอร
5. ศิลปบริสุทธิ์ (PURE ARTS) เปนศิลปะเพื่อตอบสนองอารมณของศิลปนในการ
แสดงผลงานของตนออกมาในรูปแบบอิสระ โดยไมไดมุงหวังใหศิลปะที่ผลิตขึ้นมานั้น มีผลงานทาง
การเงินเปนสําคัญ นับเปนศิลปะที่ผลิตขึ้นเพื่อศิลปะโดยแทจริง
6. PLASTIC ARTS เปนศิลปะประเภทที่มีรูปทรง คือ มีคุณคาเชิงสามมิติ มีความ
กวาง สูง และความลึก ศิลปะประเภทนี้ไดแก จิตรกรรม ภาพพิมพ รวมทั้งปฏิมากรรม และ
สถาปตยกรรมดวย
ศิลปะที่กลาวมานี้ ลวนแตเปนศิลปะที่มีคุณคาทางความงามในแตละสาขาตามแนวตาง ๆ
การใหความคิด การสรางสรรคแตกตางกันไป สรุปความไดวา ศิลปะทุกประเภทมีจุดหมายเปนจุด
เดียวกันคือ สรางขึ้นเพื่อใหเปนที่นิยมยินดี ขัดเกลาความคิดและจิตใจใหผองใส อันจะกอใหเกิด
ความสุขแกมวลมนุษยโดยทั่วไป
ฉะนั้น คําวา “นาฏศิลป” จึงประมวลความหมายไดวา การฟอนรําที่มนุษยประดิษฐ
ขึ้นจากธรรมชาติดวยความประณีตอันลึกซึ้ง เพียบพรอมไปดวยความวิจิตรบรรจงอัน
ละเอียดออน นอกจากหมายถึงการฟอนรํา ระบํา รํา เตน ฟอนแลว ยังหมายถึงการรองและการ
บรรเลงดวย
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 6
ที่มาของนาฏศิลป
นาฏศิลปหรือศิลปะการรายรํา สันนิษฐานวา มีมูลเหตุที่เกิดสําคัญ 2 ประการ คือ
1. เกิดจากธรรมชาติ ศิลปะทุก ๆ อยางยอมมาจากธรรมชาติทั้งสิ้น การฟอนรําก็เปน
ศิลปะสาขาหนึ่งที่เรียกวานาฏศิลป โดยดัดแปลงปรับปรุงมาจากธรรมชาติเชนเดียวกับศิลปะสาขา
อื่น ๆ การฟอนรําเปนการเคลื่อนไหวอวัยวะตาง ๆ ตั้งแตศีรษะลงมาถึงเทา มนุษยเราทุกคนตองมี
อารมณ รัก โกรธ เศราโศก บางขณะบางชั่วเวลาก็มีความบันเทิงเริงใจ และมักจะแสดงกิริยา
ทาทางเหลานั้นออกมาใหผูอื่นเขาใจความหมาย กิริยาตาง ๆ เหลานี้ไดนํามาปรับปรุงใหเหมาะสม
ไดสัดสวน จนกลายเปนทาฟอนรํา เชน การเตนเปนจังหวะ ยกขา ชูแขน เอียงไหล หมุน
ตัว ในระยะแรกอาจไมงดงาม แตตอมาภายหลังไดปรับปรุงและกําหนดสัดสวนใหสวยงามขึ้น
ตามลําดับ
2. เกิดจากการบวงสรวงบูชาเทพเจา แตโบราณมนุษยทุกชาติทุกภาษาไมมีสิ่งใดอัน
จะยึดเปนที่พึ่งทางจิต หรือเครื่องเคารพสักการะเหมือนปจจุบัน เทพเจาหรือพระผูเปนเจาเขามามี
บทบาทสําคัญในชีวิตมนุษย ซึ่งเกิดจากการสมมติ เมื่อมีการรวมพลังจิตมากเขา ก็ทําใหสิ่งสมมติมี
ความศักดิ์สิทธิ์ประสบความสําเร็จในที่ปรารถนา เชน ญี่ปุนนับถือดวงอาทิตย เปนการบูชา
ความสําคัญของดวงอาทิตยที่ใหความเรารอนและแสงสวาง อินเดียบูชารูปเคารพซึ่งแตงตั้งเปนเทพ
เจาตาง ๆ ไทยเชื่อภูต ผี เทพารักษ เจาปา เจาเขา รูปเคารพตาง ๆ ที่มนุษยสมมติขึ้นตางไดรับ
การบวงสรวงบูชาดวยอาหาร หรือสรรพสิ่งอันควร จากนั้นมีการบวงสรวงดวยการรายรํา กระโดด
โลดเตนตามจังหวะ เชน พวกแอฟริกา คนปา ชาวเขา เปนแบบแผนวัฒนธรรมของแตละ
ชาติ นับไดวาเปนนาฏศิลปพื้นฐาน ประเทศอินเดียมีหลักฐานปรากฏวามีการรายรําออนวอนบูชา
เทพเจาในคัมภีรหนึ่งในสี่ของคัมภีรไตรเวท อันมี
1. ฤคเวท
2. ยุชรเวท
3. สามเวท
4. อาถรรพเวท
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 7
ตอมามีการขับรองประกอบการรายรํา เพื่อใหมีความงดงามทางเสียงประกอบการรํา
เรียกวา นาฏยเวท เมื่อศิลปะแหงการรํารุงเรืองในประเทศอินเดีย พราหมณไดนําเอาตํารานาฏเวท
มาสอนในประเทศไทย ไมปรากฏหลักฐานแนชัดวาเขามาในสมัยใด และเปลี่ยนชื่อตํารานาฏ
ศาสตร เชื่อกันวา พระภรตมุนีเปนผูรจนา ตํารานาฏยศาสตรนี้ บางครั้งเรียกวา ตําราภรต
ศาสตร มีตํานานแหงการฟอนรําของอินเดีย กลาววา พระศิวะทรงเปนบรมครูแหงการฟอนรํา ดัง
มีตํานานที่ไดกลาวไว
ตํานานการฟอนรําของอินเดีย
เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลววา ประเทศตาง ๆ ในภาคพื้นเอเชีย เอเชีย
อาคเนย หลายประเทศรวมถึงประเทศไทย ไดรับอารยธรรมมาจากประเทศอินเดียเปนสวน
ใหญ เมื่อไทยไดรับอารยธรรมจากอินเดีย เปนตนวา ลัทธิ ศาสนา ขนบธรรมเนียม
ประเพณี และศิลปะแขนงตาง ๆ โดยมีการพิจารณาอยางถี่ถวนแลว วาเปนอารยธรรมที่มีระเบียบ
แบบแผนที่ดีจึงไดนํามาดัดแปลงยึดถือเปนแบบฉบับ ตามความเห็นชอบของไทย การฟอนรําหรือ
วิธีการดานนาฏศิลป ก็เปนอารยธรรมแขนงหนึ่งที่ไทยไดแบบแผนและแนวความคิดเดิมมาจาก
อินเดีย บรรดานักปราชญราชบัณฑิตของไทยหลายคนไดยืนยันในเรื่องนี้ปรากฏเปนลายลักษณ
อักษร ในการศึกษาเรื่องราวและประวัติความเปนมาของนาฏศิลปไทยนั้น ถือวามีความจําเปน
อยางยิ่งที่จะตองรูเรื่องตํานานการฟอนรําของอินเดียดวย
ตํานานการฟอนรําของอินเดียตามที่ปรากฏใน “โกยัลปุราณะ” (โกยัลปราณะ คือ
ตํานานเกี่ยวกับความเปนมาของเทวาลัยตาง ๆ) ในศาสนาฮินดู ฉลับอินเดียใตกลาววา ใน
กาลครั้งหนึ่งมีฤๅษีพวกหนึ่งตั้งอาศรมบําเพ็ญพรตอยูกับภรรยาในปาตาระคา ตอมาฤๅษีพวกนี้
ประพฤติอนาจารฝาฝนเทวบัญญัติ รอนถึงพระศิวะตองชวนพระนารายณลงมาปราบ พระศิวะทรง
แปลงพระองคเปนโยคีหนุมรูปงาม พระนารายณทรงแปลงองคเปนภรรยาสาวสวย ทั้งนี้เพื่อลอให
พวกฤๅษีและภรรยาเกิดความหลงใหลในความงามเพราะอํานาจราคะจริต จนเกิดการวิวาทแยงชิง
กันในบรรดาฤๅษีและภรรยาดวยกันเอง แตพระศิวะและประนารายณแปลงกายไมปลงใจดวย เมื่อ
ฤๅษีและภรรยาไมประสบความสําเร็จ จึงทําใหฤๅษีเหลานั้นเกิดโทสะพากันสาปแชงพระศิวะและประ
นารายณแปลงกายทั้งสอง แตพระศิวะและพระนารายณไมไดรับอันตรายแตอยางใด พวกฤๅษีจึง
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 8
เนรมิตเสือขึ้นตัวหนึ่งเพื่อฆาโยคีและภรรยาปลอมตัวใหตาย พระศิวะจึงตองฆาเสือและนําหนังเสือ
มาทําเปนเครื่องแตงองค พวกฤๅษีจึงเนรมิตใหเกิดพญานาคขึ้นตัวหนึ่งเพื่อตองการใหพนพิษใสโยคี
และภรรยาปลอมตัว พระศิวะจึงจับพญานาคตัวนั้นมาพันพระวรกายทําเปนสายสังวาลยประดับ
องค ตอมาก็ทรงกระทําปาฏิหาริยโดยการรายรําทําทาไปมาแตพวกฤๅษีก็ยังไมสิ้นฤทธิ์ พวกฤๅษีจึง
เนรมิตยักษคอมมีสีผิวดําสนิทขึ้นตนหนึ่งมีชื่อวา มุยะละคะ หรืออสูรมูลคนี พระศิวะเห็นดังนั้นจึงใช
พระบาทขวาเหยียบยักษตนนั้นแลวทรงฟอนรําอยูบนหลังยักษตนนั้นตอไปจนหมดกระบวนทา
รํา เมื่อฤๅษีเห็นดังนั้นก็สิ้นทิฐิยอมรับผิด ทูลขอชมาโทษและสัญญาวาจะปฏิบัติตนอยูในเทวบัญญัติ
อยางเครงครัดตอไป
ตอมาพญาอนันตนาคราชซึ่งเปนบัลลังคนาคของพระนารายณ ไดฟงพระนารายณ
ทรงเลาถึงการฟอนรําของพระศิวะในปา ตาระคา มีความประสงคที่จะไดดูการฟอนรําของพระศิวะ
บาง (บางตําราวาการปราบฤๅษีในครั้งนั้น พญาอนันตนาคราชไดตามเสร็จไปดวย) พญาอนันต
นาคราชจึงทูลพระนารายณใหทรงทูลพระศิวะ ใหทรงฟอนรําใหด พระนารายณจึงทรงแนะนําให
พญาอนันตนาคราชบําเพ็ญพรตบูชาพระศิวะเพื่อขอพรแลวจะไดทุก ๆ อยางที่ตองการ พญาอนันต
นาคราชก็ทรงทําตาม และเมื่อไดเวลาทูลขอการฟอนรํา พระศิวะก็ทรงรับคําวาจะลงมาฟอนรําใหดู
ในโลกมนุษย ณ ตําบลที่มีชื่อวา “จิทัมพรัม” ซึ่งถือวาเปนศูนยกลางของโลก ใหพญาอนันต
นาคราชมาคอยดู ครั้นถึงวันที่กําหนดพระศิวะก็เสด็จลงมายัง “ติลไล” หรือตําบล “จิทัมพ
รัม” (ในแควนมัทราษฏร) ทรงเนรมิต “นฤตสภา” (หรือเทวสภา) ขึ้นแลวจึงฟอนรําตามที่เคย
ทรงประทานสัญญาแกอนันตนาคราชอีกครั้งหนึ่ง ครั้งนี้มีพระบัญชาใหภรตมุนี ซีงอยูใน ณ ที่นั้น
ดวย บันทึกสรางเปนตําราการฟอนรําขึ้น
ตอมา พระพรหมไดมีเทวบัญชาแกพระภรตฤๅษี ใหสรางโรงละคร และจัดการแสดง
ละครขึ้น พระภรตฤาษีรับเทวบัญชาแลว ก็ขอใหพระวิศุกรรมเปนผูสรางโรงละครได ทั้งโรงขนาด
ใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งมีทั้งโรงรูปสามเหลี่ยม สี้เหลี่ยมจัตุรัส และ
สี่เหลี่ยมผืนผา แลวพระภรตฤๅษีก็บัญญัติการแสดงขึ้น โดยแตงเปนโศลกบรรยายทารําตาง ๆ
ของพระศิวะ 108 ทาโดยใหรําเบิกโรงดวยการรําตามโศลก ซึ่งขับกลอมเปนทํานองจนจบ
เพลง แลวจึงจับเรื่องใหญ ตําราการแสดงละครของพระภรตฤๅษี มีชื่อวา “นาฏยศาสตร” หรือ
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 9
“ภรตศาสตร”
จากตํานานที่กลาวมานี้ จะเห็นวาพระศิวะทรงเปนผูเชี่ยวชาญการฟอนรําอยางมากที่จะหาผูใด
เทียบได ดวยเหตุนี้ชาวอินเดียทั้งหลายจึงนับถือพระศิวะวาทรงเปนนาฏราช คือพระราชาแหงการ
ฟอนรํา ชาวอินเดียไดสรางพระศิวะเปนทาฟอนรําโดยกําหนดใหเปนทาเหยียบยักษคอม ตาม
ตํานานที่ปรากฏในโกยัลปราณะ นอกจากนี้ยังมีอีกทารําทาหนึ่งเปนทาฟอนรําและยกพระบาทขาง
ซายเหมือนกัน แตไมมีการเหยียบหลังยักษ ทั้งสองทานี้เรียกชื่อเหมือนกันวา “เทวรูปปางนาฏ
ราช”
ในประเทศอินเดียเมืองจิทัมพรัม หางจากเมืองมัทราช (อินเดียใต) ราว 150 ไมล มี
เทวาลัยแหงหนึ่งชื่อ “จิทัมพรัม” แตชาวบานนิยมเรียกวา “เทวาลัยศิวะนาฏราช” เปนเทวาลัยที่
สรางขึ้นตั้งแต พ.ศ. 1800 ภายในมีชองทางเดินเขาสูตัวเทวาลัยชั้นใน มีภาพแกะสลักดวยหินเปน
รูปตัวระบําผูหญิงแสดงทารําตาง ๆ 108 ทา (ตามตํานานที่วาพระศิวะทรงฟอนรํา 108 ทา ) ทา
รําตาง ๆ นี้ตรงกับคําที่กลาวไวในตําราที่มีชื่อวา “นาฏยศาสตร” ทาฟอนรําเหลานี้เปนทารําที่
นาฏศิลปอินเดียใชเปนแบบฉบับในการฟอนรํา เพราะเชื่อวาเปนทารําที่พระศิวะทรงฟอนรําที่
ตําบล อันเปนที่ตั้งของเทลาลัยนี้เอง การฟอนรําตามภาพแกะสลัก ทารําที่เทลาลัยศิวะนาฏราช
เปนที่นิยมแพรหลายตอมาทั่วประเทศอินเดีย และโดยนัยนี้ก็ไดเขามาแพรหลายในประเทศไทย
ดวย ทานผูทรงวิทยาคุณทั้งหลายไดตั้งขอสันนิษฐานวา คงเขามาในสมัยกรุงศรีอยุธยา
นี่เอง เพราะใน พ.ศ. 1800 ซึ่งเปนเวลาที่สรางเทวสถานที่เมืองจิทัมพรัมนั้นเปนระยะเวลาที่
ไทยเพิ่งตั้งกรุงสุโขทัยทารํา ที่ไทยเราไดดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกนั้นก็ตองเปนความคิดของ
นักปราชญในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอมานักปราชญของไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทรไดแกไขปรับปรุง
หรือประดิษฐขึ้นอีกชั้นหนึ่ง ทาฟอนรําของนาฏศิลปไทย จึงดูหางไกลกับทารําของอินเดียที่ปรากฏ
อยูทุกวันนี้
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 10
เทวรูปพระศิวะ ปาง “นาฏราช” ศิลปะแบบอินเดียใต
แสดงทาเหยียบอสูรชื่อ มุยะละคะ
ตําราฟอนรํา ของไทยแตเดิมแปลมาจากตําราของอินเดีย ดังที่กลาวไวในตํานานฟอน
รําของอินเดีย และบรมครูทางนาฏศิลปไดคิดประดิษฐขึ้นใหมในชั้นหลังก็มีโดยพบจาก คํากลอน
ของเกาวาดวยตํารามีอยู 3 บท
1. เปนกลอนสุภาพ แตงบอกตําราทารําไวแตโบราณมีทารํา 66 ทา (รําแมบทใหญ)
2. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธในรัชกาลที่ 1 ตอนนารายณปราบนน
ทุก คัดแตทาเฉพาะที่จะรําในบทนั้นไปเรียงไวในบทกลอน 1 บท เรียกวาแมบทนาง
นารายณ
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 11
3. เปนคําไหวครูของละครชาตรี โนราหเมืองนครศรีธรรมราช
รูปแบบของนาฏศิลปไทย
เมื่อมองยอนกลับไปในศตวรรษที่ 13 วัฒนธรรมไทยไดพัฒนาขึ้นมา 2 สาย คือ
1. วัฒนธรรมดั้งเดิมซึ่งถือปฏิบัติมาจากคนพื้นบาน ดังนั้นจังไดอิทธิพลอยางมากจาก
อารยธรรมตางประเทศโดยเฉพาะอารยธรรมของชาวอินเดีย ที่ไดแผขยายเขามาทั่วมหาสมุทร
อินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย และเชื่อกันวาไดเขาถึงประเทศไทยในสมัยอาณาจักรทวารวดี และ
อาณาจักรเขมรโบราณ อิทธิพลและศาสตรของชาวอินเดียไดแสดงรูปแบบของตัวเองโดยผานทาง
ศาสนา (ศาสนาฮินดู และพุทธ) ภาษา จากโคลงที่กลาวถึงความกลาหาญ คือ จักรและนารายณ
ศาสตรา รวมทั้งเรื่องอื่นๆ อารยธรรมตะวันตกที่ไดแผขยายเขามาในประเทศไทยโดยอาศัยชองทาง
การคาขายระหวางประเทศในชวงปลายอยุธยาเปนตนมา ซึ่งไดนําเอาวัฒนธรรมเขามาเผยแพรดวย
เชน รูปแบบการเตนบัลเลตมาจากการแสดงของชาวยุโรป การแสดงรองเง็งมากจากการแสดงของ
ชาวสเปน รวมแลวประเทศไทยไดรับวัฒนธรรมตาง ๆ เขามาผสมผสานกลมกลืนจนมีรูปแบบใหมที่
มีลักษณะโดดเดนเพียงแบบเดียวในที่สุด
2. วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นจากคนพื้นเมือง สามารถมองยอนไปในสมัยสุโขทัย ราว ๆ
ป ค.ศ.1238 – 1378 อันเปนสมัยที่สุโขทัยเปนราชธานี เวลานั้นประเทศไทยมีความเจริญรุงเรือง
ทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ทําใหชาวบานเกิดการละเลนในแตละทองถิ่นที่ตางกันตามภูมิ
ประเทศ การดํารงชีวิต สภาพสังคมและวัฒนธรรมยอย ดังเชน
- นาฏศิลปภาคกลาง เชน เตนกํารําเคียว เปนการแสดงของชาวบานภาคกลาง
ที่มาจาก
กิจกรรมการทํานํา เกี่ยวขาว ในฤดูเก็บเกี่ยวซึ่งการปลูกขาวก็เปนอาชีพหลัก
ของ
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 12
- นาฏศิลปภาคเหนือ เชน ฟอนเล็บ เปนการแสดงที่บงบอกถึงความเปน
ภาคเหนือดวยเครื่องแตงกาย ลักษณะทารํา
- นาฏศิลปภาคอีสาน เชน เซิ้งโปงลาง เปนการแสดงที่เปนเอกลักษณของภาค
อีสานโดยเฉพาะการนําเอาเครื่องดนตรีของทางภาคอีสานเปนทํานองเพลง
- นาฏศิลปภาคใต เชน มโนราห ซึ่งเปนเอกลักษณประจําภาคใตซึ่งคนใตเปนคนที่
มักทําอะไรรวดเร็ว ดังนั้นการรํามโนราหจึงเปนการรําที่ดูรวดเร็วและแข็งแรง ไมออน-ชอยเหลือการ
รําในภาคอื่น ๆ
ภายหลังจากการกําเนิดนาฏศิลปไทยนั้นทําใหนาฏศิลปไทยวิวัฒนาการและเกิดการ
พัฒนาจนถูกจัดประเภทโดยแบงออกตามลักษณะการแสดงซึ่งประกอบไปดวย
1. โขน
2. ละคร
3. ระบํา รํา ฟอน
และนาฏศิลปไทยสามารถจําแนกรูปแบบเปนหลักไว 2 แบบ คือ
1. นาฏศิลปอยางมีแบบแผน (มาตรฐาน)
2. นาฏศิลปพื้นเมือง (ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคใต)
ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 13
ที่มา....
กรมศิลปากร . ระบํา รํา ฟอน , กรุงเทพ ฯ : ฝายโสตทัศนวัสดุ , 2532
พาณี สีสวย. สุนทรียของนาฏศิลปไทย , กรุงเทพ ฯ : ธนะการพิมพ , 2526
รานี ชัยสงคราม. นาฏศิลปไทยเบื้องตน , กรุงเทพ ฯ : องคการคาของคุรุสภา , 2544
สุมนมาลย นิ่มเนติพันธ และคณะ .หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการ
เรียนรูศิลปะ นาฏศิลป ม.4–ม.6 ชวงชั้นที่ 4 , กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน , 2547
อมรา กล่ําเจริญ. สุนทรียนาฏศิลปไทย , กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร , 2531

More Related Content

What's hot

ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการteaw-sirinapa
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingpeter dontoom
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559ครู กรุณา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่Nichakorn Sengsui
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการChatimon Simngam
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557ครู กรุณา
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยchakaew4524
 

What's hot (20)

ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
 
ภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmakingภาพพิมพ์ Printmaking
ภาพพิมพ์ Printmaking
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการการฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.3 ปกศ.2560
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ247 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 

Similar to ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4

ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ครูหนุ่ม สอนศิลปะ
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาPuchida Saingchin
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาfuangfaa
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4peter dontoom
 
renaissance and religion
renaissance and religionrenaissance and religion
renaissance and religionfuangfaa
 
Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้fuangfaa
 
ศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไรศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไรOppa Kasidis
 
9789740333524
97897403335249789740333524
9789740333524CUPress
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์sirikase
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลพัน พัน
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะkthananchai
 

Similar to ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4 (20)

Content04
Content04Content04
Content04
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Tha464 3
Tha464 3Tha464 3
Tha464 3
 
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
ความหมายของศิลปะและขอบข่ายงามศิลปะ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Content08 part01
Content08 part01Content08 part01
Content08 part01
 
Content08 part01
Content08 part01Content08 part01
Content08 part01
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
 
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนาRenaissance และ การปฏิรูปศาสนา
Renaissance และ การปฏิรูปศาสนา
 
ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4ปลายภาค ม4
ปลายภาค ม4
 
renaissance and religion
renaissance and religionrenaissance and religion
renaissance and religion
 
Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้Social5.2 5.3แก้
Social5.2 5.3แก้
 
ศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไรศิลปะคืออะไร
ศิลปะคืออะไร
 
9789740333524
97897403335249789740333524
9789740333524
 
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
ความหมาย ความเป็นมาของศิลปะและการสร้างสรรค์
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
ศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากลศิลปะไทยสู่สากล
ศิลปะไทยสู่สากล
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 

More from Panomporn Chinchana

เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดงPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯPanomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯPanomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...Panomporn Chinchana
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 

More from Panomporn Chinchana (20)

เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติเรื่องรูปแบบการแสดง  นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
เรื่องรูปแบบการแสดง นาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้นเมือง และ นาฏศิลป์นานาชาติ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่องรูปแบบการแสดง  ชุดที่  3
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรูปแบบการแสดง ชุดที่ 3
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง  ชุดที่  4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การพัฒนารูปแบบการแสดง ชุดที่ 4
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดงเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  เทคนิคการจัดการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง เทคนิคการจัดการแสดง
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  เรื่อง  การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่อง การสร้างสรรค์ผลงานการแสดง และการป...
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯเอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์  เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องวิวัฒนาการนาฏศิลป์ไทยตั้งแต่อดีตฯ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์   เรื่อง  บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
เอกสารประกอบการเรียนวิชานาฏศิลป์ เรื่อง บุคคลสำคัญในวงการนาฏศิลป์ ม.4
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯเอกสารประกอบการเรียน   วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์  การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักและวิธีวิเคราะห์ การสร้างสรรค์การแสดง ฯ
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
อบรมการใช้โปรแกรม dbookPRO ...โรงเรียนจันทรุเบกษาอนุสรณ์ สพม.27 อบรม โปรแกรม ...
 
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
รูปแบบการแสดง รำ ระบำ ละคร (ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม)
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ เรื่องรำวงมาตรฐาน (เผยแพร่)
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 

ประวัติกำเนิดนาฏศิลป์ไทย ม.4

  • 2. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 2 ประวัตินาฏศิลปไทย กําเนิดนาฏศิลปไทย ประเทศไทยมีประเพณีแบบอยางทางศิลปะการแสดงมาชานาน ซึ่งไดผานมาหลาย ศตวรรษและหลายชั่วอายุคน การถายทอดศิลปะนี้ไดผานมาหลายทาง จากที่เปนคําพูด จน ถายทอดมาเปนเอกสารจากเรื่องราวตางๆ จนมาเปนกิจกรรมทางการศึกษาอยางมีระบบ แตกระนั้น ประเพณีทางศิลปะของการแสดงนี้ก็ไดผานจากยุครุงเรืองและยุคเสื่อม นาฏศิลปไทยเปนสวนหนึ่งของการแสแหงการกแสดงออกทางวัฒนธรรมที่สําคัญ และ ยังเปนสิ่งสําคัญอยางมากตอชีวิตประจําวันและวิถีชีวิตของชาวไทย ไมใชเปนความบันเทิงเพียง อยางเดียว แตยังเปนสวนหนึ่งของพิธีกรรมที่สําคัญและเกี่ยวของกับศาสนาและกลุมสังคมหลาย กลุม โดยแทจริงแลวนาฏศิลปไทยนั้นสามารถที่จะบรรยายลักษณะเฉพาะตัวและยังสามารถที่จะ สะทอนใหเห็นถึงลักษณะของสังคมไทยที่แตกตางจากที่อื่น ๆ โดยเฉพาะ ดังนั้นเราสามารถสังเกตได วานาฏศิลปของไทยจะสะทอนใหเห็นถึงลักษณะที่จะบงบอกใหเห็นถึงความเปนไทย ประเทศไทยตั้งอยูทางตอนกลางของทวีปเอเชียอาคเนย โดยอยูในแนวเสนทางการ พาณิชย ประเทศไทยจึงมีวัฒนธรรมที่หลากหลายจากทางตะวันตก และทางตะวันออก วัฒนธรรม เหลานี้ไดหลั่งไหลเขาสูประเทศไทย ซึ่งมีผลทําใหรูปแบบทางประเพณีและศิลปะมีความแตกตางกัน ไป นาฏศิลปไทยนั้นสามารถจะสืบคนหาถึงความเปนมาไดวามีมาตั้งแตเริ่มตน ประวัติศาสตร ชาติไทย สิ่งที่นําเสนอออกมาถายทอดผานการแสดงนาฏศิลปไทยนั้น ทําใหเราเห็นวัตถุในทางศิลป ที่มนุษยไดสรางสรรคขึ้นมา ทั้งวรรณคดี ประติมากรรม จิตรกรรม เปนตน ในแตละยุคของ ประวัติศาสตรไทยไดเผยใหเห็นถึงสิ่งมาชีวิตที่มีอยู รวมถึงความเจริญของมรดกทางวัฒนธรรมไทย
  • 3. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 3 ความหมายของนาฏศิลป คําวา “นาฏศิลป” เปนคําสมาส แยกไดเปน 2 คํา คือ คําวา “นาฏ” และ “ศิลป” นาฏ หมายถึง การรายรํา และการเคลื่อนไหวไปมา สันสกฤตใชรูปศัพทคํา วา “นฤตย” ภาษามคธ ใชคําวา “นจฺจ” และ “นฤตฺย” เปนชื่ออยางหนึ่งของการฟอนรํา บวงสรวงพระผูเปนเทวาลัย โดยเลือกเอาจังหวะและทารําที่เต็มไปดวยทาเคารพสักการะ และเลือก แสดงตอนที่เปนการกระทํานับเนื่องในชีวประวัติของพระผูเปนเจาดวย สวนคําวา “นิจฺจ” มี คําอธิบายเพิ่มอีก ไดแก การฟอนรํา นับตั้งแตการฟอนรําพื้นเมืองของชาวบาน เชน รํา โทน ตลอดจนไปถึงการฟอนที่เรียกวา ระบําของนางรํา (ที่กลาวถึงในกฎหมายเกา) ระบํา เดี่ยว ระบําคู ระบําชุด หรือระบําของนางนัจจะ ซึ่งมีอยูในอินเดียจนบัดนี้ ศิลปะ ความหมายของศิลปะกลางออกไปตามความคิด และแตละแขนงสาขา ซึ่งจะ กําหนดแนนอนไมได เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ในสมัยแรก ๆ ศิลปะหมายถึงการชางทั่ว ๆ ไป ตองใชฝมือปฏิบัติโดยอาศัยมือ ความคิด และความชํานาญในการที่จะประกอบวัตถุนั้น ๆ ใหเกิดความงดงาม ประณีต ละเอียดออน กอใหเกิดความรูสึกยินดีชื่นชมและเปนที่ประทับใจแกผู ที่ไดพบเห็น ศิลปะ อาจหมายถึงการแสดงออกเพื่อสนองความตองการทางอารมณ การ ลอกเลียนแบบ การถายทอดความหมายตาง ๆ หรือเปนสิ่งที่มนุษยเกิดจินตนาการในอันที่จะแสดง คุณคาแหงความงอกงามออกมาในรูปแบบตาง ๆ หรือไดพบเห็นจากธรรมชาติแลวนํามาดัดแปลง ประดิษฐขึ้นใหมีความวิจิตรละเอียดออนซาบซึ้ง ศิลปะ คือ สิ่งที่มนุษยสรางสรรคขึ้นโดยดัดแปลงจากธรรมชาติใหประณีตสวยงาม ศิลปะนั้นยอมเกิดขึ้นไดทุกขณะ ธรรมชาติเปนสวนหนึ่งที่จะนําศิลปะอันสูงสงปรากฏ แกมวลมนุษย คือ เปนแรงบันดาลใจ ศิลปะที่เกิดขึ้นนั้นจะตองใหความเพลิดเพลิน นิยม ยินดี ซาบซึ้งแกผูดูและผูชม รวมทั้งความคิด สติปญญา ความงามทางดานสุนทรียภาพ
  • 4. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 4 ศิลปะ เปนคําภาษาสันสกฤต (ส.ศิลฺป ป.สิปฺป มีฝมือยอดเยี่ยม) ซึ่งหมายถึงการ แสดงออกมาใหปรากฏขึ้นอยางงดงามนาพึงชมกอใหเกิดอารมณสะเทือนใจ ตรงกับคํา ภาษาอังกฤษวา “ARTS” ศิลปะอาจแบงแยกออกตามความสําคัญไดดังนี้ 1. วิจิตรศิลป หรือประณีตศิลป (FINE ARTS) เปนศิลปะแหงความสุขที่มุงหมาย เพื่อ ชวยสนองความตองการทางอารมณ จิตใจ และสติปญญา กอใหเกิดความสะเทือนใจ นับเปน ศิลปะที่บริสุทธิ์ที่สรางสรรคจากสติปญญาจิตใจ รวมกับความเจริญทางดานสุนทรียภาพของศิลปน แตละคน แสดงออกโดยใชฝมือเปนสวนใหญ แบงออกเปน 5 ประเภทคือ 1. วรรณกรรม (LITERATURE) 2. ดนตรีและนาฏศิลป (MUSIC AND DRAMA) 3. จิตรกรรม (PAINTING) 4. ปฏิมากรรม หรือ ประติมากรรม (SCULPTURE) 5. สถาปตยกรรม (ARCHITECTURE) วิจิตรศิลปทั้ง 5 ประเภทนี้กอใหเกิดอารมณและพุทธิปญญา กลาวคือ มนุษยอาศัย ศิลปะเพื่อแสวงหาความดี และความบันเทิงใจใหกับจิตใจคน เห็นคุณคาทางศาสนาและ วรรณคดี ความงามสงาแหงสถาปตยกรรม บังเกิดความพอใจและมีอารมณคลอยตามไปกับ ความรูสึกนึกคิดของเรื่องราวและการแสดงออกของศิลปน 2. ประยุกตศิลป (APPLIED ARTS) เปนศิลปะแหงอัตถะประโยชน เพื่อสนองความ ตองการทางอารมณ และดานวัสดุที่กาวหนา โดยนําไปใชประโยชนเกี่ยวกับหัตถกรรมและโภค ภัณฑ เชน เครื่องใชภายในบาน การประดิษฐเครื่องแตงกาย อาหาร ซึ่งศิลปะนี้อาจประดิษฐขึ้น ดวยเครื่องมือ หรือเครื่องจักร 3. มัณฑนศิลป (DECORATIVE ARTS) เปนศิลปะแหงการตกแตงประดับประดา เชน การตกแตงสวน อาคาร สถานที่ตาง ๆ หองรับแขก โดยใชศิลปะในการตกแตงในสถานที่หรือ อาคารนั้น มีความงามสงเสริมทางดานจิตใจและอารมณ
  • 5. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 5 4. อุตสาหกรรมศิลป หรือ พาณิชยศิลป (INDUSTAIL OR COMMERCAIL ARTS) เปนศิลปะที่สรางขึ้นเพื่อประโยชนใชสอยสวนใหญ ทําเปนอุตสาหกรรมในครอบครัว หรือใน โรงงาน อันเปนผิตผลเพื่อการเงิน เชน การปนรูปตาง ๆ การผลิตเครื่องปนดินเผา งานไม งาน โลหะ เปนตน สวนดานพาณิชยศิลปนั้น คือศิลปะเกี่ยวกับการคา ซึ่งตองพยายามออกแบบให เหมาะสมและถูกรสนิยมของประชาชน ทําใหเกิดความตองการซื้อ ไดแก ศิลปะการโฆษณา การ จัดตูโชว ภาพโปสเตอร 5. ศิลปบริสุทธิ์ (PURE ARTS) เปนศิลปะเพื่อตอบสนองอารมณของศิลปนในการ แสดงผลงานของตนออกมาในรูปแบบอิสระ โดยไมไดมุงหวังใหศิลปะที่ผลิตขึ้นมานั้น มีผลงานทาง การเงินเปนสําคัญ นับเปนศิลปะที่ผลิตขึ้นเพื่อศิลปะโดยแทจริง 6. PLASTIC ARTS เปนศิลปะประเภทที่มีรูปทรง คือ มีคุณคาเชิงสามมิติ มีความ กวาง สูง และความลึก ศิลปะประเภทนี้ไดแก จิตรกรรม ภาพพิมพ รวมทั้งปฏิมากรรม และ สถาปตยกรรมดวย ศิลปะที่กลาวมานี้ ลวนแตเปนศิลปะที่มีคุณคาทางความงามในแตละสาขาตามแนวตาง ๆ การใหความคิด การสรางสรรคแตกตางกันไป สรุปความไดวา ศิลปะทุกประเภทมีจุดหมายเปนจุด เดียวกันคือ สรางขึ้นเพื่อใหเปนที่นิยมยินดี ขัดเกลาความคิดและจิตใจใหผองใส อันจะกอใหเกิด ความสุขแกมวลมนุษยโดยทั่วไป ฉะนั้น คําวา “นาฏศิลป” จึงประมวลความหมายไดวา การฟอนรําที่มนุษยประดิษฐ ขึ้นจากธรรมชาติดวยความประณีตอันลึกซึ้ง เพียบพรอมไปดวยความวิจิตรบรรจงอัน ละเอียดออน นอกจากหมายถึงการฟอนรํา ระบํา รํา เตน ฟอนแลว ยังหมายถึงการรองและการ บรรเลงดวย
  • 6. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 6 ที่มาของนาฏศิลป นาฏศิลปหรือศิลปะการรายรํา สันนิษฐานวา มีมูลเหตุที่เกิดสําคัญ 2 ประการ คือ 1. เกิดจากธรรมชาติ ศิลปะทุก ๆ อยางยอมมาจากธรรมชาติทั้งสิ้น การฟอนรําก็เปน ศิลปะสาขาหนึ่งที่เรียกวานาฏศิลป โดยดัดแปลงปรับปรุงมาจากธรรมชาติเชนเดียวกับศิลปะสาขา อื่น ๆ การฟอนรําเปนการเคลื่อนไหวอวัยวะตาง ๆ ตั้งแตศีรษะลงมาถึงเทา มนุษยเราทุกคนตองมี อารมณ รัก โกรธ เศราโศก บางขณะบางชั่วเวลาก็มีความบันเทิงเริงใจ และมักจะแสดงกิริยา ทาทางเหลานั้นออกมาใหผูอื่นเขาใจความหมาย กิริยาตาง ๆ เหลานี้ไดนํามาปรับปรุงใหเหมาะสม ไดสัดสวน จนกลายเปนทาฟอนรํา เชน การเตนเปนจังหวะ ยกขา ชูแขน เอียงไหล หมุน ตัว ในระยะแรกอาจไมงดงาม แตตอมาภายหลังไดปรับปรุงและกําหนดสัดสวนใหสวยงามขึ้น ตามลําดับ 2. เกิดจากการบวงสรวงบูชาเทพเจา แตโบราณมนุษยทุกชาติทุกภาษาไมมีสิ่งใดอัน จะยึดเปนที่พึ่งทางจิต หรือเครื่องเคารพสักการะเหมือนปจจุบัน เทพเจาหรือพระผูเปนเจาเขามามี บทบาทสําคัญในชีวิตมนุษย ซึ่งเกิดจากการสมมติ เมื่อมีการรวมพลังจิตมากเขา ก็ทําใหสิ่งสมมติมี ความศักดิ์สิทธิ์ประสบความสําเร็จในที่ปรารถนา เชน ญี่ปุนนับถือดวงอาทิตย เปนการบูชา ความสําคัญของดวงอาทิตยที่ใหความเรารอนและแสงสวาง อินเดียบูชารูปเคารพซึ่งแตงตั้งเปนเทพ เจาตาง ๆ ไทยเชื่อภูต ผี เทพารักษ เจาปา เจาเขา รูปเคารพตาง ๆ ที่มนุษยสมมติขึ้นตางไดรับ การบวงสรวงบูชาดวยอาหาร หรือสรรพสิ่งอันควร จากนั้นมีการบวงสรวงดวยการรายรํา กระโดด โลดเตนตามจังหวะ เชน พวกแอฟริกา คนปา ชาวเขา เปนแบบแผนวัฒนธรรมของแตละ ชาติ นับไดวาเปนนาฏศิลปพื้นฐาน ประเทศอินเดียมีหลักฐานปรากฏวามีการรายรําออนวอนบูชา เทพเจาในคัมภีรหนึ่งในสี่ของคัมภีรไตรเวท อันมี 1. ฤคเวท 2. ยุชรเวท 3. สามเวท 4. อาถรรพเวท
  • 7. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 7 ตอมามีการขับรองประกอบการรายรํา เพื่อใหมีความงดงามทางเสียงประกอบการรํา เรียกวา นาฏยเวท เมื่อศิลปะแหงการรํารุงเรืองในประเทศอินเดีย พราหมณไดนําเอาตํารานาฏเวท มาสอนในประเทศไทย ไมปรากฏหลักฐานแนชัดวาเขามาในสมัยใด และเปลี่ยนชื่อตํารานาฏ ศาสตร เชื่อกันวา พระภรตมุนีเปนผูรจนา ตํารานาฏยศาสตรนี้ บางครั้งเรียกวา ตําราภรต ศาสตร มีตํานานแหงการฟอนรําของอินเดีย กลาววา พระศิวะทรงเปนบรมครูแหงการฟอนรํา ดัง มีตํานานที่ไดกลาวไว ตํานานการฟอนรําของอินเดีย เปนที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแลววา ประเทศตาง ๆ ในภาคพื้นเอเชีย เอเชีย อาคเนย หลายประเทศรวมถึงประเทศไทย ไดรับอารยธรรมมาจากประเทศอินเดียเปนสวน ใหญ เมื่อไทยไดรับอารยธรรมจากอินเดีย เปนตนวา ลัทธิ ศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และศิลปะแขนงตาง ๆ โดยมีการพิจารณาอยางถี่ถวนแลว วาเปนอารยธรรมที่มีระเบียบ แบบแผนที่ดีจึงไดนํามาดัดแปลงยึดถือเปนแบบฉบับ ตามความเห็นชอบของไทย การฟอนรําหรือ วิธีการดานนาฏศิลป ก็เปนอารยธรรมแขนงหนึ่งที่ไทยไดแบบแผนและแนวความคิดเดิมมาจาก อินเดีย บรรดานักปราชญราชบัณฑิตของไทยหลายคนไดยืนยันในเรื่องนี้ปรากฏเปนลายลักษณ อักษร ในการศึกษาเรื่องราวและประวัติความเปนมาของนาฏศิลปไทยนั้น ถือวามีความจําเปน อยางยิ่งที่จะตองรูเรื่องตํานานการฟอนรําของอินเดียดวย ตํานานการฟอนรําของอินเดียตามที่ปรากฏใน “โกยัลปุราณะ” (โกยัลปราณะ คือ ตํานานเกี่ยวกับความเปนมาของเทวาลัยตาง ๆ) ในศาสนาฮินดู ฉลับอินเดียใตกลาววา ใน กาลครั้งหนึ่งมีฤๅษีพวกหนึ่งตั้งอาศรมบําเพ็ญพรตอยูกับภรรยาในปาตาระคา ตอมาฤๅษีพวกนี้ ประพฤติอนาจารฝาฝนเทวบัญญัติ รอนถึงพระศิวะตองชวนพระนารายณลงมาปราบ พระศิวะทรง แปลงพระองคเปนโยคีหนุมรูปงาม พระนารายณทรงแปลงองคเปนภรรยาสาวสวย ทั้งนี้เพื่อลอให พวกฤๅษีและภรรยาเกิดความหลงใหลในความงามเพราะอํานาจราคะจริต จนเกิดการวิวาทแยงชิง กันในบรรดาฤๅษีและภรรยาดวยกันเอง แตพระศิวะและประนารายณแปลงกายไมปลงใจดวย เมื่อ ฤๅษีและภรรยาไมประสบความสําเร็จ จึงทําใหฤๅษีเหลานั้นเกิดโทสะพากันสาปแชงพระศิวะและประ นารายณแปลงกายทั้งสอง แตพระศิวะและพระนารายณไมไดรับอันตรายแตอยางใด พวกฤๅษีจึง
  • 8. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 8 เนรมิตเสือขึ้นตัวหนึ่งเพื่อฆาโยคีและภรรยาปลอมตัวใหตาย พระศิวะจึงตองฆาเสือและนําหนังเสือ มาทําเปนเครื่องแตงองค พวกฤๅษีจึงเนรมิตใหเกิดพญานาคขึ้นตัวหนึ่งเพื่อตองการใหพนพิษใสโยคี และภรรยาปลอมตัว พระศิวะจึงจับพญานาคตัวนั้นมาพันพระวรกายทําเปนสายสังวาลยประดับ องค ตอมาก็ทรงกระทําปาฏิหาริยโดยการรายรําทําทาไปมาแตพวกฤๅษีก็ยังไมสิ้นฤทธิ์ พวกฤๅษีจึง เนรมิตยักษคอมมีสีผิวดําสนิทขึ้นตนหนึ่งมีชื่อวา มุยะละคะ หรืออสูรมูลคนี พระศิวะเห็นดังนั้นจึงใช พระบาทขวาเหยียบยักษตนนั้นแลวทรงฟอนรําอยูบนหลังยักษตนนั้นตอไปจนหมดกระบวนทา รํา เมื่อฤๅษีเห็นดังนั้นก็สิ้นทิฐิยอมรับผิด ทูลขอชมาโทษและสัญญาวาจะปฏิบัติตนอยูในเทวบัญญัติ อยางเครงครัดตอไป ตอมาพญาอนันตนาคราชซึ่งเปนบัลลังคนาคของพระนารายณ ไดฟงพระนารายณ ทรงเลาถึงการฟอนรําของพระศิวะในปา ตาระคา มีความประสงคที่จะไดดูการฟอนรําของพระศิวะ บาง (บางตําราวาการปราบฤๅษีในครั้งนั้น พญาอนันตนาคราชไดตามเสร็จไปดวย) พญาอนันต นาคราชจึงทูลพระนารายณใหทรงทูลพระศิวะ ใหทรงฟอนรําใหด พระนารายณจึงทรงแนะนําให พญาอนันตนาคราชบําเพ็ญพรตบูชาพระศิวะเพื่อขอพรแลวจะไดทุก ๆ อยางที่ตองการ พญาอนันต นาคราชก็ทรงทําตาม และเมื่อไดเวลาทูลขอการฟอนรํา พระศิวะก็ทรงรับคําวาจะลงมาฟอนรําใหดู ในโลกมนุษย ณ ตําบลที่มีชื่อวา “จิทัมพรัม” ซึ่งถือวาเปนศูนยกลางของโลก ใหพญาอนันต นาคราชมาคอยดู ครั้นถึงวันที่กําหนดพระศิวะก็เสด็จลงมายัง “ติลไล” หรือตําบล “จิทัมพ รัม” (ในแควนมัทราษฏร) ทรงเนรมิต “นฤตสภา” (หรือเทวสภา) ขึ้นแลวจึงฟอนรําตามที่เคย ทรงประทานสัญญาแกอนันตนาคราชอีกครั้งหนึ่ง ครั้งนี้มีพระบัญชาใหภรตมุนี ซีงอยูใน ณ ที่นั้น ดวย บันทึกสรางเปนตําราการฟอนรําขึ้น ตอมา พระพรหมไดมีเทวบัญชาแกพระภรตฤๅษี ใหสรางโรงละคร และจัดการแสดง ละครขึ้น พระภรตฤาษีรับเทวบัญชาแลว ก็ขอใหพระวิศุกรรมเปนผูสรางโรงละครได ทั้งโรงขนาด ใหญ ขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งมีทั้งโรงรูปสามเหลี่ยม สี้เหลี่ยมจัตุรัส และ สี่เหลี่ยมผืนผา แลวพระภรตฤๅษีก็บัญญัติการแสดงขึ้น โดยแตงเปนโศลกบรรยายทารําตาง ๆ ของพระศิวะ 108 ทาโดยใหรําเบิกโรงดวยการรําตามโศลก ซึ่งขับกลอมเปนทํานองจนจบ เพลง แลวจึงจับเรื่องใหญ ตําราการแสดงละครของพระภรตฤๅษี มีชื่อวา “นาฏยศาสตร” หรือ
  • 9. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 9 “ภรตศาสตร” จากตํานานที่กลาวมานี้ จะเห็นวาพระศิวะทรงเปนผูเชี่ยวชาญการฟอนรําอยางมากที่จะหาผูใด เทียบได ดวยเหตุนี้ชาวอินเดียทั้งหลายจึงนับถือพระศิวะวาทรงเปนนาฏราช คือพระราชาแหงการ ฟอนรํา ชาวอินเดียไดสรางพระศิวะเปนทาฟอนรําโดยกําหนดใหเปนทาเหยียบยักษคอม ตาม ตํานานที่ปรากฏในโกยัลปราณะ นอกจากนี้ยังมีอีกทารําทาหนึ่งเปนทาฟอนรําและยกพระบาทขาง ซายเหมือนกัน แตไมมีการเหยียบหลังยักษ ทั้งสองทานี้เรียกชื่อเหมือนกันวา “เทวรูปปางนาฏ ราช” ในประเทศอินเดียเมืองจิทัมพรัม หางจากเมืองมัทราช (อินเดียใต) ราว 150 ไมล มี เทวาลัยแหงหนึ่งชื่อ “จิทัมพรัม” แตชาวบานนิยมเรียกวา “เทวาลัยศิวะนาฏราช” เปนเทวาลัยที่ สรางขึ้นตั้งแต พ.ศ. 1800 ภายในมีชองทางเดินเขาสูตัวเทวาลัยชั้นใน มีภาพแกะสลักดวยหินเปน รูปตัวระบําผูหญิงแสดงทารําตาง ๆ 108 ทา (ตามตํานานที่วาพระศิวะทรงฟอนรํา 108 ทา ) ทา รําตาง ๆ นี้ตรงกับคําที่กลาวไวในตําราที่มีชื่อวา “นาฏยศาสตร” ทาฟอนรําเหลานี้เปนทารําที่ นาฏศิลปอินเดียใชเปนแบบฉบับในการฟอนรํา เพราะเชื่อวาเปนทารําที่พระศิวะทรงฟอนรําที่ ตําบล อันเปนที่ตั้งของเทลาลัยนี้เอง การฟอนรําตามภาพแกะสลัก ทารําที่เทลาลัยศิวะนาฏราช เปนที่นิยมแพรหลายตอมาทั่วประเทศอินเดีย และโดยนัยนี้ก็ไดเขามาแพรหลายในประเทศไทย ดวย ทานผูทรงวิทยาคุณทั้งหลายไดตั้งขอสันนิษฐานวา คงเขามาในสมัยกรุงศรีอยุธยา นี่เอง เพราะใน พ.ศ. 1800 ซึ่งเปนเวลาที่สรางเทวสถานที่เมืองจิทัมพรัมนั้นเปนระยะเวลาที่ ไทยเพิ่งตั้งกรุงสุโขทัยทารํา ที่ไทยเราไดดัดแปลงมาจากอินเดียในครั้งแรกนั้นก็ตองเปนความคิดของ นักปราชญในสมัยกรุงศรีอยุธยา ตอมานักปราชญของไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทรไดแกไขปรับปรุง หรือประดิษฐขึ้นอีกชั้นหนึ่ง ทาฟอนรําของนาฏศิลปไทย จึงดูหางไกลกับทารําของอินเดียที่ปรากฏ อยูทุกวันนี้
  • 10. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 10 เทวรูปพระศิวะ ปาง “นาฏราช” ศิลปะแบบอินเดียใต แสดงทาเหยียบอสูรชื่อ มุยะละคะ ตําราฟอนรํา ของไทยแตเดิมแปลมาจากตําราของอินเดีย ดังที่กลาวไวในตํานานฟอน รําของอินเดีย และบรมครูทางนาฏศิลปไดคิดประดิษฐขึ้นใหมในชั้นหลังก็มีโดยพบจาก คํากลอน ของเกาวาดวยตํารามีอยู 3 บท 1. เปนกลอนสุภาพ แตงบอกตําราทารําไวแตโบราณมีทารํา 66 ทา (รําแมบทใหญ) 2. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ พระราชนิพนธในรัชกาลที่ 1 ตอนนารายณปราบนน ทุก คัดแตทาเฉพาะที่จะรําในบทนั้นไปเรียงไวในบทกลอน 1 บท เรียกวาแมบทนาง นารายณ
  • 11. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 11 3. เปนคําไหวครูของละครชาตรี โนราหเมืองนครศรีธรรมราช รูปแบบของนาฏศิลปไทย เมื่อมองยอนกลับไปในศตวรรษที่ 13 วัฒนธรรมไทยไดพัฒนาขึ้นมา 2 สาย คือ 1. วัฒนธรรมดั้งเดิมซึ่งถือปฏิบัติมาจากคนพื้นบาน ดังนั้นจังไดอิทธิพลอยางมากจาก อารยธรรมตางประเทศโดยเฉพาะอารยธรรมของชาวอินเดีย ที่ไดแผขยายเขามาทั่วมหาสมุทร อินเดียจนถึงเอเชียอาคเนย และเชื่อกันวาไดเขาถึงประเทศไทยในสมัยอาณาจักรทวารวดี และ อาณาจักรเขมรโบราณ อิทธิพลและศาสตรของชาวอินเดียไดแสดงรูปแบบของตัวเองโดยผานทาง ศาสนา (ศาสนาฮินดู และพุทธ) ภาษา จากโคลงที่กลาวถึงความกลาหาญ คือ จักรและนารายณ ศาสตรา รวมทั้งเรื่องอื่นๆ อารยธรรมตะวันตกที่ไดแผขยายเขามาในประเทศไทยโดยอาศัยชองทาง การคาขายระหวางประเทศในชวงปลายอยุธยาเปนตนมา ซึ่งไดนําเอาวัฒนธรรมเขามาเผยแพรดวย เชน รูปแบบการเตนบัลเลตมาจากการแสดงของชาวยุโรป การแสดงรองเง็งมากจากการแสดงของ ชาวสเปน รวมแลวประเทศไทยไดรับวัฒนธรรมตาง ๆ เขามาผสมผสานกลมกลืนจนมีรูปแบบใหมที่ มีลักษณะโดดเดนเพียงแบบเดียวในที่สุด 2. วัฒนธรรมที่เกิดขึ้นจากคนพื้นเมือง สามารถมองยอนไปในสมัยสุโขทัย ราว ๆ ป ค.ศ.1238 – 1378 อันเปนสมัยที่สุโขทัยเปนราชธานี เวลานั้นประเทศไทยมีความเจริญรุงเรือง ทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ทําใหชาวบานเกิดการละเลนในแตละทองถิ่นที่ตางกันตามภูมิ ประเทศ การดํารงชีวิต สภาพสังคมและวัฒนธรรมยอย ดังเชน - นาฏศิลปภาคกลาง เชน เตนกํารําเคียว เปนการแสดงของชาวบานภาคกลาง ที่มาจาก กิจกรรมการทํานํา เกี่ยวขาว ในฤดูเก็บเกี่ยวซึ่งการปลูกขาวก็เปนอาชีพหลัก ของ
  • 12. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 12 - นาฏศิลปภาคเหนือ เชน ฟอนเล็บ เปนการแสดงที่บงบอกถึงความเปน ภาคเหนือดวยเครื่องแตงกาย ลักษณะทารํา - นาฏศิลปภาคอีสาน เชน เซิ้งโปงลาง เปนการแสดงที่เปนเอกลักษณของภาค อีสานโดยเฉพาะการนําเอาเครื่องดนตรีของทางภาคอีสานเปนทํานองเพลง - นาฏศิลปภาคใต เชน มโนราห ซึ่งเปนเอกลักษณประจําภาคใตซึ่งคนใตเปนคนที่ มักทําอะไรรวดเร็ว ดังนั้นการรํามโนราหจึงเปนการรําที่ดูรวดเร็วและแข็งแรง ไมออน-ชอยเหลือการ รําในภาคอื่น ๆ ภายหลังจากการกําเนิดนาฏศิลปไทยนั้นทําใหนาฏศิลปไทยวิวัฒนาการและเกิดการ พัฒนาจนถูกจัดประเภทโดยแบงออกตามลักษณะการแสดงซึ่งประกอบไปดวย 1. โขน 2. ละคร 3. ระบํา รํา ฟอน และนาฏศิลปไทยสามารถจําแนกรูปแบบเปนหลักไว 2 แบบ คือ 1. นาฏศิลปอยางมีแบบแผน (มาตรฐาน) 2. นาฏศิลปพื้นเมือง (ภาคเหนือ ภาคกลาง ภาคอีสาน ภาคใต)
  • 13. ครูพนมพร ชินชนะ ประวัตินาฏศิลปไทย 13 ที่มา.... กรมศิลปากร . ระบํา รํา ฟอน , กรุงเทพ ฯ : ฝายโสตทัศนวัสดุ , 2532 พาณี สีสวย. สุนทรียของนาฏศิลปไทย , กรุงเทพ ฯ : ธนะการพิมพ , 2526 รานี ชัยสงคราม. นาฏศิลปไทยเบื้องตน , กรุงเทพ ฯ : องคการคาของคุรุสภา , 2544 สุมนมาลย นิ่มเนติพันธ และคณะ .หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน กลุมสาระการ เรียนรูศิลปะ นาฏศิลป ม.4–ม.6 ชวงชั้นที่ 4 , กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน , 2547 อมรา กล่ําเจริญ. สุนทรียนาฏศิลปไทย , กรุงเทพ ฯ : สํานักพิมพโอเดียนสโตร , 2531